โครงการสอน
รายวชิ า ว23101 วทิ ยาศาสตร์ 5
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3
นางสาวเบญจรัตน์ ปฐมสรุ ยิ ะพร
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั นครปฐม
(พระตาหนกั สวนกหุ ลาบมัธยม)
อาเภอพุทธมณฑล จงั หวดั นครปฐม
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 9
กระทรวงศึกษาธกิ าร
โครงการสอน (Course Syllabus)
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา ว23101 วิทยาศาสตร์ 5
รหัสวชิ า ว23101
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 5
ผสู้ อน นางสาวเบญจรตั น์ ปฐมสรุ ยิ ะพร
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
เวลาเรียน จานวน 60 ช่วั โมง/ภาคเรยี น
จานวน 1.5 หนว่ ยกิต
ระดับชั้น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษา วเิ คราะห์ ความเร่ง ผลของแรงลัพธ์ที่มีต่อวัตถุ แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา แรงพยุง
ของของเหลว แรงเสยี ดทาน โมเมนต์ของแรง การเคล่อื นท่ีของวตั ถใุ นแนวตรงและแนวโค้ง งานและพลังงาน
พลงั งานศกั ย์และพลงั งานจลน์ การเปล่ียนรูปพลังงาน กฎการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ความสัมพนั ธร์ ะหว่างความตา่ ง
ศักย์ กระแสไฟฟ้าและความต้านทาน วงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงานไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า การคานวณ
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ การตอ่ วงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบื้องต้น โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหา
ความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถสอ่ื สารส่ิงทเ่ี รยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มท่เี หมาะสม
รหัสตวั ชว้ี ดั
ว 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ว 4.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ว 5.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
รวมทั้งหมด 11 ตัวชว้ี ดั
ตัวช้ีวัด
1. ทดลองและอธิบายความเรง่ และผลของแรงลัพธท์ ่ีกระทาต่อวตั ถุ
2. ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏกิ ิรยิ าระหว่างวตั ถแุ ละการนาไปใช้ประโยชน์
3. ทดลองและอธบิ ายแรงยงุ ของของเหลวทก่ี ระทาตอ่ วตั ถุ
4. ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิต กับแรงเสียดทานจลน์ และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
5. ทดลองและอธบิ ายหลกั การของโมเมนตข์ องแรง
6. วิเคราะห์และคานวณโมเมนตข์ องแรงในสถานการณ์ตา่ งๆ
7. สบื ค้น อธิบายและยกตัวอยา่ งการนาหลักการของโมเมนตข์ องแรงไปใชป้ ระโยชน์
8. อธบิ าย และคานวณงาน และกาลงั ได้
9. ทดลอง และอธบิ ายเกี่ยวกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานจลน์ กฎการอนุรักษ์พลังงานและการนาไปใช้
ประโยชน์
10. ทดลองและอธิบายการตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย
11. ทดลองและอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างความต่างศักย์กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
12. สบื คน้ ขอ้ มูลและอภิปรายการเลือกใชว้ ัสดุ อุปกรณ์สาหรบั วงจรไฟฟ้าในบา้ น
13. สบื ค้นขอ้ มูลและอธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างพลงั งานไฟฟา้ ของเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้ากับกาลงั ไฟฟ้า
14. สืบคน้ ข้อมลู และคานวณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ และคดิ คา่ ไฟ
15. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบายการตอ่ วงจรไฟฟ้าในบา้ นอยา่ งถกู ต้องปลอดภยั และประหยัด
16. ทดลองและอธิบายสมบัติเบื้องต้นของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บางชนิด เช่น ตัวต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์
17. ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบือ้ งตน้ สาหรบั ใช้ประโยชนต์ า่ งๆ
หน่วยการเรยี นรู้
รหสั วิชา ว23101 รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ช่วั โมง จานวน 1.5 หน่วยกติ
********************************************************************
หน่วยท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ เวลา น้าหนัก
1 ตัวชี้วดั (ชั่วโมง) คะแนน
แรงและการเคลื่อนที่
- ผลของแรงลัพธท์ ม่ี ีตอ่ วัตถุ ว 4.1 ม.3/1, ม.3/2, 23
- แรงกริ ิยาและแรงปฏิกริ ยิ า ม.3/3
- แรงพยงุ ว 4.2 ม.3/1, ม.3/2,
- แรงเสียดทาน ม.3/3
- โมเมนตข์ องแรง
2 งานและพลังงาน ว 5.1 ม.3/1, ม.3/2 10
- งาน
- กาลงั
สอบกลางภาค 20
2 งานและพลงั งาน (ต่อ)
- พลงั งานกล
- กฎการอนุรักษ์พลังงาน
5 พลังงานไฟฟา้ ว 5.1 ม.3/1, ม.3/2, 25
- วงจรไฟฟ้าเบอ้ื งตน้ ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
- วงจรไฟฟา้ ในบา้ น
- พลังงานไฟฟา้ และกาลงั ไฟฟ้า
- วงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบ้ืองตน้
สอบปลายภาค 20
รวม 60 100
ตารางสอน
สัปดาหท์ ่ี วนั /เดอื น/ปี เน้ือหาสาระการสอน จานวนคาบ
1-3 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แรงและการเคล่ือนท่ี 24
4
5 1. ผลของแรงลพั ธ์ทมี่ ตี ่อวัตถุ 9
6-7 2. แรงกิรยิ าและแรงปฏกิ ริ ยิ า 3
7-8 3. แรงพยงุ 3
4. แรงเสียดทาน 6
8-9 5. โมเมนตข์ องแรง 3
9
10 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 งานและพลงั งาน 11
11
12 6. งาน 3
7. กาลัง 2
12-14
15-16 สอบกลางภาค 3
17 3
18-20 8. พลังงานกล
21 9. กฎการอนรุ ักษ์พลังงาน 25
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 พลังงานไฟฟา้ 7
6
10. วงจรไฟฟา้ เบือ้ งตน้ 3
11. วงจรไฟฟ้าในบา้ น 9
12. พลังงานไฟฟ้าและกาลงั ไฟฟา้
13. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น
สอบปลายภาค
หมายเหตุ สามารถปรบั เปลย่ี นเวลาจัดการเรียนรไู้ ดต้ ามความเหมาะสม
กจิ กรรมการเรียนการสอน
1. การบรรยาย
2. สบื เสาะหาความรู้
3. สารวจ ตรวจสอบ
4. ปฏบิ ตั ิการทดลอง
5. กระบวนการกลมุ่ คดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และอภปิ รายกลุ่ม
6. การฝึกทักษะ
7. การศึกษาค้นคว้า
8. การนาเสนอปากเปล่าพรอ้ มสอ่ื
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1. คะแนนระหวา่ งภาค 60% รวม 10 คะแนน
1.1 ปฏบิ ัติการทดลอง รวม 5 คะแนน
1.2 แบบฝกึ หดั
1.3 สมุด รวม 5 คะแนน
1.4 สอบเกบ็ คะแนนย่อย 3 บท รวม 20 คะแนน
1.5 ภาระงานตามตวั ช้ีวัด รวม 20 คะแนน
2. กลางภาค 20%
2.1 สอบปฏบิ ตั เิ ด่ยี ว
3. ปลายภาค 20%
3.1 สอบปฏิบัตเิ ดีย่ ว
การตดั สนิ ผลการเรียน
ชว่ งคะแนน เกรด
ต่ากวา่ 50 คะแนน 0
50–54 คะแนน 1.0
55–59 คะแนน 1.5
60–64 คะแนน 2.0
65–69 คะแนน 2.5
70–74 คะแนน 3.0
75–79 คะแนน 3.5
80 คะแนนขนึ้ ไป 4.0