Best Practice
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
แบบ Active Learning ผ่านแอพพลิเคชนั่ Mentimeter สู่การเรยี นรู้ทีม่ คี วามสุข
ของผู้เรยี นกศน.ตำบลคลองคะเชนทร์ ภาคเรียนเท่ี 1/65
1. ชือ่ ผลงาน : กระบวนการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์แบบ Active Learning ผา่ นแอพพลิเคช่ัน Mentimeter
สู่การเรยี นรู้ทมี่ คี วามสขุ ของผู้เรียนกศน.ตำบลคลองคะเชนทร์ ภาคเรียนเท่ี 1/65
2. หน่วยงาน/สถานศึกษา/กศน.ตำบล : กศน.ตำบลคลองคะเชนทร์ กศน.อำเภอเมืองพิจิตร สำนักงาน กศน.
จังหวดั พจิ ิตร
3. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี : นางสาวศิรเิ พญ็ ฟูพงษ์ ครู กศน.ตำบล
4. ความสอดคล้อง
• สอดคลอ้ งกับ 12 นโยบายการจดั การศกึ ษา 7 วาระเรง่ ด่วน (Quick Win) ของนางสาวตรนี ชุ เทยี นทอง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
12 นโยบายการจดั การศกึ ษา
ขอ้ ท่ี 10. การพลิกโฉมระบบการศกึ ษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยที ่ีทันสมัยมาใช้ในการจัด
การศกึ ษาทุกระดับการศึกษา เพือ่ ให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั มาใชใ้ นการจัด
การศึกษาผ่านระบบดจิ ทิ ัล
7 วาระเร่งดว่ น (Quick Win)
วาระที่ 1 เรื่องความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความ
ปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในก ารดูแลตนเองจากภัย
อนั ตรายตา่ ง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม
• สอดคลอ้ งกบั นโยบายการขับเคล่ือน กศน.สู่ กศน.WOW (6G)
ดา้ นท่ี 3. สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ที่ นั สมัยและมปี ระสิทธภิ าพ : Good Activities
พัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มคี วามทนั สมยั เอ้ือต่อการเรียนรู้ สำหรบั ทุกคน ทส่ี ามารถเรียนร้ไู ดท้ ุกที่
ทุกเวลา มีกจิ กรรมท่หี ลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชมุ ชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ
ประชาชน รวมท้ังใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พอ่ื เช่อื มโยงความสัมพันธ์
ของคนในชมุ ชนไปสกู่ ารจัดการความรขู้ องชมุ ชนอยา่ งยั่งยนื
ขอ้ 3.1 พัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน. โดยให้มกี ารเรียนออนไลน์สายสามัญ การเรยี น
ออนไลน์เรือ่ งทักษะอาชพี และการพัฒนาเวบ็ เพจการคา้ ออนไลน์
ด้านที่ 5. พัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพื่อประโยชนต์ ่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย : Good
Innovation ให้พัฒนานวัตกรรมหรอื สร้างสรรค์การดำเนินงานใหมๆ่ เพ่อื สรา้ งมูลคา่ ใหก้ ับผลติ ภัณฑ์ พัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ใหท้ นั สมัย
ขอ้ ที่ 5.3 ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏิบตั งิ าน การบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้
• สอดคลอ้ งกับ (ร่าง)นโยบายและจดุ เน้นการดําเนนิ งาน สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ด้านท่ี 1 ดา้ นการจดั การเรียนรู้คณุ ภาพ
ข้อ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ และ
รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
5. ที่มาและความสำคัญของผลงาน
จากปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่สถานศึกษาจะต้องมีการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบ
ออนไลน์ ดว้ ยวธิ กิ ารต่างๆไมว่ ่าจะเป็น Google Classroom, Class start, Line หรอื วธิ ีการใดก็แลว้ แต่ ทจ่ี ะทำให้
ผู้เรียนได้รับความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่อาจเกิดขึ้นได้จากการมาพบกลุ่มในช้นั เรยี น
และผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ตลอดภาคเรยี นที่ 2/64 นี้ แต่จากสภาพทีพ่ บในการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์
โดยเฉพาะการเรียนการสอนแบบ Real Time ผ่านโปรแกรม Line ที่ครูและผู้เรียนจะเห็นหน้าซึ่งกันและกัน
ผเู้ รียนจะมีบทบาทเปน็ ผู้ฟงั เพียงอย่างเดยี วเสยี เปน็ ส่วนใหญ่ มกี ารพูดคุยตอบคำถามตอบโต้ครูกลับมาน้อย ผเู้ รยี น
เกิดความเบ่ือท่ีจะเป็นผูฟ้ งั ไมม่ คี วามแอคทีฟในการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดบรรยากาศทีไ่ ม่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ ครูจึงต้อง
มองหาวิธกี ารใหมๆ่ เพอ่ื ดงึ ดูดความสนใจในการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนใหม้ ากท่สี ดุ
แอพพลิเคชั่น Mentimeter เป็นแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการนำเสนอเนื้อหาข้อมูลมีรูปแบบคล้ายกับ
โปรแกรม PowerPoint แต่จะมีความแตกต่างคอื ในการนำเสนอแตล่ ะเฟรมเนือ้ หาของครูน้ัน ผู้เรยี นสามารถมี
ส่วนร่วมในการแสดงความรู้สึก/ความคิดเห็น/การตอบคำถาม ได้ในทุกเฟรมที่ครูนำเสนอ ช่วยให้ผู้เรียนรู้สึก
สนุกสนาน มีความสุขกับการเรียนร้แู ละไดม้ สี ่วนร่วมในการตอบคำถามระหวา่ งการเรียนร้ทู ่ีตัวแอพพลิเคชั่นจะมี
ลูกเล่นต่างๆให้ทีท่ า้ ทายผู้เรียนให้ร่วมการทำกจิ กรรมต่างๆ เป็นการขัน้ บรรยากาศในการเรยี นที่อาจจะมเี นือ้ หา
หนักเกินไปให้ผู้เรียนได้รู้สึกผ่อนคลาย ตลอดจนใหผ้ ูเ้ รียนยังสามารถทำแบบวัดประเมินผลหลงั การเรียนร้ไู ด้เลย
ทนั ที และยังสามารถนำผลการตอบคำถามของผู้เรยี น ทัง้ การตอบคำถามที่เป็นคำถามเชงิ บวกระหว่างการเรียนรู้
หรือการตอบคำถามจากแบบวัดความรู้ นำมาวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นได้อกี ด้วย
ซึ่งเมื่อได้ลองนำมาใช้กับผู้เรียนแล้วพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์แบบ Active Learning ผ่านแอพพลิเคชัน่ Mentimeter ในระดับดีมาก ผู้เรียนรู้สึกได้มีส่วนร่วมในชน้ั
เรียนและมีความสุขกับการเรียนรู้ในบทเรียนนั้นๆ นับเป็นการตอบสนองวาระเร่งด่วน วาระที่ 1 เรื่องความ
ปลอดภัยของผเู้ รียน โดยจดั ใหม้ ีรปู แบบ วธิ ีการ หรอื กระบวนการในการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนเกิด
การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
รวมถึงการสร้างทักษะให้ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการดแู ลตนเองจากภัยอนั ตรายต่าง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อม
ทางสังคม
6. วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ ให้ผู้เรียนกศน.ตำบลคลองคะเชนทร์เกิดการเรียนรูอ้ ย่างมคี วามสขุ
7. วิธีดำเนินการ
7.1 กำหนดกล่มุ เป้าหมาย
ผู้เรียนกศน.ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของ กศน.ตำบลคลองคะ
เชนทร์ จำนวน 31 คน
7.2 การดำเนนิ การจัดกิจกรรม
มขี น้ั ตอนเรม่ิ จากการวิเคราะห์สภาพปญั หาทเ่ี กิดขึน้ และขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้
สภาพปญั หาท่ีเกิดข้ึน
- ผเู้ รียนไมส่ ะดวกมาพบกลมุ่ มงี านรบั จ้าง ปรบั การเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์
- การเรยี นการสอนออนไลน์ ผู้เรียนมีบทบาทเป็นผู้รับเนือ้ หาเพียงอย่างเดียว ผู้เรียนเกิดความ
เบื่อที่จะเป็นผู้ฟัง ไม่มีความแอคทีฟในการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดบรรยากาศที่ไม่เอื้อต่อการ
เรยี นรู้
การดำเนนิ การแก้ไขปัญหา
- นำปัญหาทีเ่ กิดขึ้นมาวเิ คราะหห์ าทางแกป้ ัญหา
- ศึกษาหานวัตกรรมใหม่ๆมาประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์นี้ เพื่อให้เกิด
ความแปลกใหม่ กระตุกกระต้นุ ความสนใจในการเรยี นรู้ของผเู้ รียน ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความสขุ ใน
การเรยี นรู้
- ทดลองนำ แอพพลเิ คชน่ั Mentimeter มาทดลองใช้ในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์กับ
ผเู้ รยี น
สังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น • สังเกตุการผเู้ รยี นเกดิ ความนา่ เบอ่ื ในการเรยี นแบบ
ออนไลน์ ไม่มีความแอคทีฟในการอยากเรียนรู้
(P:Plan)
วิเคราะหส์ ภาพปัญหา • ผเู้ รยี นเป็นผูฟ้ งั อย่างเดยี ว ไมไ่ ด้มสี ว่ นร่วมใน
กระบวนการเรยี นรู้ บรรยากาศการเรียนน่าเบ่ือ ไม่
(P:Plan)
มคี วามสขุ ในการได้เขา้ เรยี นรู้
• ศึกษาหานวัตกรรมใหม่ๆมาประยกุ ต์ใชก้ บั
ใช้นวัตกรรม แอพพลิเคชัน่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
• นําแอพพลเิ คชน่ั Mentimeter มาทดลอง
Mentimeter ใช้กับผ้เู รยี นกศน.ตําบลคลองคะเชนทร์
(D:Do) โดยครูต้องจดั เตรียมทําเนอ้ื หา ใส่เฟรม
นาํ เสนอไวก้ อ่ นล่วงหน้า
ตรวจสอบผล • สงั เกตการมสี ่วนรว่ มของผเู้ รียนจากทกุ ๆเฟรม
(C:Check) นําเสนอ
ผลการเปลยี่ นแปลงของ • ดูผลการเปลีย่ นแปลงของผูเ้ รียนเพอ่ื พฒั นาปรบั ปรงุ
ผเู้ รียน ตอ่ ไป
(Action : A)
ขัน้ ตอนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบ Active Learning ผ่านแอพพลเิ คช่ัน Mentimeter
1. จดั ตงั้ กลมุ่ Line นักศึกษา กศน.ตำบลคลองคะเชนทร์ และแจง้ เชิญใหน้ ักศึกษาเขา้ รว่ มกลมุ่
2. แจง้ ปฏิทนิ การจดั การเรยี นรลู้ งไปในกลมุ่ ไลน์ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลคลองคะเชนทร์ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นทราบ
วชิ าทจ่ี ะเรียนในแตล่ ะการพบกลมุ่ แบบออนไลน์
3. จดั เตรยี มเน้อื หาบทเรยี น/แบบวัดความรู้ โดยจัดทำลงในแอพพลเิ คชน่ั Mentimeter
4. เมือ่ ถึงเวลาการพบกลมุ่ ออนไลน์ ใหค้ รทู ำการ วดี โิ อคอลลงไปในกลมุ่ Line นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลคลอง
คะเชนทร์ แลว้ เร่ิมทำการจดั การเรียนการสอน
4.1 กล่าวทกั ทายผูเ้ รียนและพูดคยุ นำเขา้ สู่บทเรียนตามแผนการสอนรายสปั ดาห์
4.2 สง่ ลงิ ค์แอพพลเิ คชนั่ Mentimeter เนื้อหารายวชิ าท่ีได้จดั ทำเตรยี มไว้ ลงไปในกลุ่มใหผ้ เู้ รียน
กดเข้าไป ผเู้ รียนจะเหน็ หน้างานนำเสนอท่ีครไู ด้เตรียมไว้
4.3 ดำเนินการตามเฟรมเน้ือหาทไ่ี ดเ้ ตรียมไว้
ในการนำแอพพลิเคชัน่ Mentimeter มาใชก้ บั ผเู้ รียนในครงั้ แรก พบว่าผเู้ รียนมคี วามตะกุกตะกกั บา้ ง
เนอ่ื งจากผเู้ รียนยงั ไม่เคยได้ใชแ้ อพพลเิ คชั่นน้ี ครจู งึ ตอ้ งแนะนำใหผ้ ูเ้ รยี นได้รจู้ กั วิธีการเล่นกบั เนอื้ หาของครู ผ่าน
แอพพลเิ คชัน่ นี้ก่อนดว้ ย ซง่ึ ต้องมกี ารทำความเขา้ ใจกนั ระหวา่ งครูและผเู้ รยี นวา่ ปุม่ สญั ลักษณ์ต่างๆทงั้ 5 ปุม่ นน้ั เรา
จะตกลงใหม้ คี วามหมายเข้าใจรว่ มกันว่าอะไร คอื ปุ่มสญั ลกั ษณร์ ูปหวั ใจ หมายถึง ใหห้ วั ใจกบั เฟรมเนอ้ื หานั้น ปุ่ม
สญั ลกั ษณ์เครือ่ งหมายคำถาม หมายถึง มีความสงสัยในเฟรมเนอื้ หานนั้ ปุม่ สัญลกั ษณ์กดไลค์ หมายถึง ถกู ใจกบั
เฟรมเน้ือหาน้ัน ป่มุ สญั ลักษณ์รปู แมว หมายถงึ เรม่ิ มีความข้เี กียจกบั เนอื้ หาแลว้ ต้องการพกั เบรคบา้ ง ป่มุ
สญั ลักษณอ์ นั ไลค์ หมายถึง ไม่ชอบเรียนเนือ้ หาน้ี รวมถึงวธิ กี ารพิมพ์คำตอบตา่ งๆ ตอบกลบั มา และอธบิ ายผล
การแสดงคำตอบทผ่ี ู้เรยี นทุกคน ซงึ่ ผเู้ รียนทกุ คนจะไดเ้ ห็นคำตอบท้ังของตนเองและของเพอ่ื นๆไปพรอ้ มๆกนั ซงึ่
เม่ือผู้เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจแล้ว ก็จะสามารถเรียนรผู้ ่านแอพพลเิ คชั่นนร้ี ่วมกันไดอ้ ยา่ งมีความสขุ มบี รรยากาศ
การเรยี นรทู้ ี่สนกุ สนาน
ในครงั้ ที่ 2 ของการใช้วธิ กี ารสอนรูปแบบออนไลน์ด้วยแอพพลิเคชนั่ Mentimeter นี้พบวา่ มผี ูเ้ รยี นที่ยงั ไม่
เคยเรียนร้กู ารใช้แอพพลเิ คช่นั เข้ามาใหม่อีกจำนวน 3 คน ครูจงึ ตอ้ งอธบิ ายใหม่ซำ้ อีกคร้งั หนึง่ และเป็นการทบทวน
ใหก้ ับผ้เู รยี นเกา่ ไปดว้ ยในตัว ในครั้งท่ี 2 นี้ พบวา่ ผเู้ รยี นใหก้ ารตอบสนองในการมสี ว่ นรว่ มในเฟรมเนอ้ื หามากขน้ึ มี
ความเข้าใจในลูกเลน่ ตา่ งๆของโปรแกรมมากขึ้น มีการรว่ มตอบคำถามในขอ้ คำถามที่ครูได้ถามมากขึ้น เพราะเม่ือ
เหน็ เพ่ือนตอบคำถามเขา้ มาแล้ว ทำใหเ้ กดิ ความกระตอื รือรน้ ความทา้ ทาย ความต้องการแข่งขนั ในที ทตี่ ัวเองยัง
ไม่ได้ตอบต้องรีบส่งตอบคำตอบเข้าไป เพราะคำตอบของทุกคนจะขึ้นโชว์ให้กบั ครูและผู้เรียนทุกคนได้เห็น และ
ในช่วงเฟรมการทำแบบทดสอบ หากชา้ เกินกวา่ เวลาทกี่ ำหนด ระบบจะตัดคะแนนทันที
ในครงั้ ที่ 3 ของการใช้การสอนออนไลน์ดว้ ย แอพพลิเคชน่ั Mentimeter น้ี ถึงแม้จะมีผู้เรยี นหนา้ ใหมท่ ยี่ งั
ไม่เคยเล่นแอพพลิเคชั่นนี้ เข้ามาเรียนออนไลน์ ก็สามารถท่ีจะใช้ลูกเล่นแอพพลิเคชัน่ น้ีได้โดยไม่ต้องอธบิ ายใหม่
มากนัก และพบว่าผู้เรียนเริ่มมีส่วนร่วมในการกดแสดงความรู้สึกตา่ งๆกับเฟรมเน้ือหาของครูมากข้ึนด้วย เมื่อมี
ผู้เรยี นกดแสดงความรู้สกึ ต่างๆ ช่วยทำให้ครูพอเข้าใจได้วา่ ผู้เรียนเขา้ ใจในเนือ้ หานั้นๆหรือไม่ หรือหากครูเหน็ มี
ผู้เรียนกดปุ่มสัญลักษณ์เครื่องหมายคำถาม ครูก็จะสอบถามผู้เรียนคนนัน้ ได้ทันทีว่าสงสยั ตรงจุดใด และในการ
เรียนครั้งน้ี พบวา่ ผู้เรียนมกี ารพูดคยุ กันเองกับผเู้ รียนด้วยกันผา่ น Line วีดิโอคอลอย่างสนุกสนาน เกี่ยวกับเน้ือหา
ทีก่ ำลงั เรียนรู้ ทำให้มบี รรยากาศการเรยี นรู้ท่ีดีขึ้น
ในครั้งต่อๆมา ของการใช้การสอนออนไลน์ด้วย แอพพลิเคชั่น Mentimeter นี้ ผู้เรียนสามารถเข้า
แอพพลิเคชั่น Mentimeter มามีส่วนรว่ มตามคำสั่งต่างๆได้คล่องยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในเฟรมที่ต้องให้ผู้เรยี นตอบ
คำถามเปน็ คำถามปลายเปิด ผูเ้ รียนจะรีบแย่งกนั ตอบคำถามให้เร็วท่ีสุด เพราะกลัวว่าจะแพ้เพอ่ื น ซ่ึงครูก็ยังต้อง
คอยกำกับและกำชับอยู่เสมอว่า หากตอบเร็วแต่ตอบผิด ก็มีค่าเทา่ กับศนู ย์นะคะนักเรยี น แสดงให้เห็นว่าเจ้าตัว
แอปพลิเคชนั นี้ ชว่ ยกระตนุ้ ให้ผู้เรยี นเกดิ ความสนใจ มีความสขุ สนุกสนานในการเรยี นการสอนออนไลน์แบบนมี้ าก
ขน้ึ และยงั ช่วยใหผ้ ู้เรยี นเบด็ เสรจ็ กระบวนการเรยี นรไู้ ด้จนถึงการวัดและประเมนิ ผลเลยทเี ดียว
8. ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็
ผู้เรียนกศน.ตำบลคลองคะเชนทร์เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และมีความพึงพอใจต่อกระบวนการ
จดั การเรยี นการสอนออนไลน์แบบ Active Learning ผา่ นแอพพลเิ คชั่น Mentimeter ในระดับดีขน้ึ ไป อยา่ งน้อย
รอ้ ยละ 80
9. การประเมนิ ผลและเครือ่ งมือการประเมินผล
9.1 การประเมินผล
-การสงั เกตการมีสว่ นรว่ ม/การโตต้ อบ/การพูดคุยของผู้เรยี น จากครผู ูส้ อน
-รอ้ ยละความพึงพอใจของผู้เรียน
9.2 เครอ่ื งมือการประเมนิ ผล
-แบบประเมนิ ความพึงพอใจผ่าน Google Forms
10. ผลการดำเนินงาน
10.1 ผลทีเ่ กดิ กับผู้เรยี น
10.1.1 ผู้เรียนกศน.ตำบลคลองคะเชนทร์เกิดการเรยี นรู้อย่างมีความสขุ กลา่ วคอื การนำแอพพลิเคชั่น
Mentimeter มาใชเ้ ป็นส่อื ชว่ ยสอนในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ชว่ ยให้ผเู้ รยี นมคี วามสนใจต้ังใจฟังครูมาก
ขึน้ ผ้เู รียนมคี วาม Active ในการตอบโต้กับเฟรมการนำเสนอของครมู ากขึ้น ผลการตอบคำถามต่างๆตามเน้อื หา มี
การโตต้ อบคำถามมากขึ้น เปน็ บรรยากาศการเรยี นท่ีมคี วามสขุ และเมอื่ ได้นำมาใช้อยา่ งต่อเนอื่ ง ผู้เรียนทมี่ ีได้เคย
ใช้อู่แลว้ กช็ ว่ ยใหเ้ ขา้ ใจวิธีการตอบโตก้ บั ได้ดียิ่งขึน้
10.1.2 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบ Active Learning
ผา่ นแอพพลเิ คชั่น Mentimeter ในระดับดีขนึ้ ไป คิดเป็นร้อยละ 94.82
10.2 ผลท่ีเกดิ กับครู
10.2.1 ครไู ด้เรยี นรูแ้ ละนำเทคโนโลยกี ารเรียนการสอนใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั การจัดการ
เรียนการสอน
10.2.2 ครูมคี วามสุขในการจดั กระบวนการเรียนรู้ คือการไดเ้ ห็นบรรยากาศการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มี
ความสขุ
11. บทสรปุ
กระบวนการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์แบบ Active Learning ผา่ นแอพพลิเคชัน่ Mentimeter เป็น
อีกแนวทางทางเลือกหน่ึง ที่ครูสามาถสร้างสรรค์ห้องเรียนออนไลน์ในแบบของเรา เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่มี
ความสขุ ของผ้เู รียนกศน. ทีเ่ ปน็ กลุ่มผู้เรยี นท่ตี ้องการความท้าทายในการเรยี นรู้ ซงึ่ ท้ังนี้กระบวนการทงั้ หมดนี้ ต้อง
มีดำเนนิ การตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมมงิ่ (PDCA) ดงั กล่าวมาข้างต้น
12. กลยุทธห์ รอื ปัจจยั ท่ีทำให้ประสบความสำเร็จ
1.การมลี กู เล่นที่หลายหลายของตวั แอพพลิเคชนั่ Mentimeter ที่ส่งเสริมบรรยากาศการเรยี นรู้ ให้ผูเ้ รียน
มีความสขุ สนกุ กบั การเรียนรู้
2.การใช้คำถามในเชิงบวกไว้ในเฟรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลายและได้ประเมิน
สถานภาพของตนเองก่อนว่ามีความพรอ้ มในการเรียนหรือไม่ อยา่ งไร
3.การนำนวตั กรรมใหม่มาใช้กบั ผู้เรียน ใหผ้ เู้ รียนได้รู้สกึ ต่ืนเตน้ ท้าทาย ผ้เู รยี นไดเ้ ปลี่ยนบทบาทจากการ
เปน็ ผู้รบั ฟังเพยี งอยา่ งเดียว เป็นผู้มีสว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรู้มากยง่ิ ขน้ึ
13. ข้อเสนอแนะ
1.ควรมกี ารศกึ ษาไปถงึ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผ้เู รียนกลมุ่ นี้ วา่ ดขี ึน้ หรือไม่
14. การอ้างองิ
12 นโยบายการจดั การศกึ ษา 7 วาระเรง่ ด่วน (Quick Win) ของนางสาวตรนี ชุ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ
Amitapoomdokmai. เก่ง ดี มสี ขุ [เว็บบลอ็ ก] สืบค้นจาก
https://sites.google.com/site/amitapoomdokmai/keng-di-mi-sukh เม่อื วันที่ 28 เมษายน 2565
15. ภาคผนวก
• ภาพการจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบ Active Learning ผ่านแอพพลิเคช่ัน
Mentimeter
• ภาพสรปุ แบบประเมินความพึงพอใจผา่ น Google Forms
ภาพการสอนออนไลน์แบบเดมิ ทผ่ี เู้ รยี นฟงั ครูพดู อยา่ งเดียว
ภาพการสอนออนไลน์แบบเดมิ ตวั หนังสอื เยอะ ไมน่ า่ อ่าน
หนา้ ตาของ แอพพลเิ คช่นั Mentimeter
การนำเสนอเนอ้ื หาทผ่ี เู้ รยี นจะมองเห็น
ผู้เรียนกดแสดงความรสู้ ึกได้ทีม่ มุ ขวาลา่ ง
ในคร้งั แรก ครตู ้องอธิบายวธิ ีการเข้าถึงใหผ้ เู้ รียนเข้าใจกอ่ น ผา่ นโปรแกรมวดี ิโอคอลตาม
ปกติ
สง่ ลิงค์ใหผ้ ้เู รียนเขา้ ถึงแอพพลเิ คชน่ั Mentimeter
เม่ือผู้เรียนกดเขา้ มาในลิงค์ ผเู้ รยี นจะเหน็ หน้าเฟรมเนอ้ื หาของครแู ละสามารถแสดง
ความรู้สึกตอ่ เนอ้ื หาทค่ี รจู ดั ทำได้
หรอื ผเู้ รยี นสามารถตอบคำถามท่คี รตู งั้ ไวไ้ ดแ้ บบน้ี ซ่ึงคำถามแบบนี้ จะเปลย่ี นไปเร่อื ยๆใน
การสอนแตล่ ะครง้ั
ครสู ามารถแชรห์ นา้ จอทเ่ี ปน็ คลปิ วีดโิ อสื่อการสอน ในผเู้ รยี นดูไปพรอ้ มๆกนั ไดแ้ บบเรียล
ทาม
หนา้ เฟรมเนื้อหาของครู
ประเมินผู้เรียนกอ่ นเรียน
หน้าเฟรมของครู
ผ้เู รยี นมคี วามสขุ สนกุ สนานในการเรียน เรม่ิ พดู คุยกันบรรยากาศหมือนการมาพบกลุ่ม
หนา้ เฟรมเน้อื หาของครู
มกี ารใหผ้ เู้ รยี นทำแบบทดสอบหลงั การเรยี นรู้ ซึง่ ครสู ามารถกำหนดค่าคะแนน และ
ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นแต่ละขอ้ ได้
มกี ารใหผ้ เู้ รียนทำแบบทดสอบหลงั การเรียนรู้ ซง่ึ ครสู ามารถกำหนดคา่ คะแนน และ
ระยะเวลาทใี่ ช้ในแตล่ ะข้อได้
เปิดประเด็นใหผ้ ้เู รยี นได้สอบถามหากมีข้อสงสัย
ประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ รยี นหลงั การเรยี นรู้
การจัดการเรียนร้ขู องครู
สรปุ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจผา่ น Google Forms