The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบขับถ่าย (Excretory System)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Piyanut Pojeen, 2024-02-24 03:55:00

ระบบขับถ่าย (Excretory System)

ระบบขับถ่าย (Excretory System)

ระบบขับ ขั ถ่าย (Excretory System)


การขับ ขั ถ่าย (Excretion)--> การกำ จัด จั ของเสียที่เ ที่ กิดจากเมแทบอลิซึม (Metabolic waste) โดยการกำ จัด จั ออกจาก ร่างกายหรือ รื เปลี่ย ลี่ นเป็นสารที่มี ที่ อั มี น อั ตรายน้อยกว่าแล้วกำ จัด จั ออกนอกร่างกายภายหลัง ลั ของเสียที่เ ที่ กิดจากเมแทบอลิซึม ได้แก่ 1. ของเสียที่มี ที่ ธ มี าตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (Nitrogenous wastes) เกิดจากการสลายสารโปรตีนและกรดนิว คลีอิก อิ ประกอบด้วย - แอมโมเนีย (Ammonia; NH3) ซึ่ง ซึ่ มีค มี วามเป็นพิษสูง มีคุ มี คุ ณสมบัติ บั ติ ละลายน้ำ ได้ดี จะกำ จัด จั ออกในรูปของแอมโมเนียม ไอออน (NH+4) การกำ จัด จั ต้องใช้น้ำ ปริม ริ าณมาก พบในสัต สั ว์น้ำ ว์ น้ำ ทั้ง ทั้ หมดและปลาส่วนใหญ่ สิ่ง สิ่ มีชี มี วิ ชี ต วิ บางชนิดสามารถ เปลี่ย ลี่ นแอมโมเนียให้อยู่ในสภาพที่เ ที่ ป็นพิษน้อยลง เช่น ยูเรีย รี (Urea) หรือ รื กรดยูริก ริ (Uric acid) - ยูเรีย รี (Urea) มีค มี วามเป็นพิษน้อยกว่าแอมโมเนีย ละลายน้ำ ได้ กำ จัด จั ออกในรูปของสารละลาย เป็นของเสียที่ถู ที่ ถู กขับ ขั ออกมาจากสัต สั ว์เ ว์ ลี้ย ลี้ งลูกด้วยน้ำ นม สัต สั ว์ส ว์ ะเทินน้ำ สะเทินบก ฉลาม และปลากระดูกแข็ง ข็ บางชนิด - กรดยูริก ริ (Uric acid) การกำ จัด จั ออกนอกร่างกายมีก มี ารสูญเสียน้ำ น้อยที่สุ ที่ สุ ด เนื่องจากกรดยูริก ริ เป็นสารที่ล ที่ ะลายน้ำ ได้น้อยและก่อนการกำ จัด จั ออกร่างกายสามารถดูดน้ำ กลับ ลั คืนได้เกือบหมด โดยขับ ขั ถ่ายออกมาปนกับ กั อุจจาระใน ลัก ลั ษณะครึ่ง รึ่ แข็ง ข็ ครึ่ง รึ่ เหลว (Semisolid) พบในสัต สั ว์พ ว์ วก แมลง นก สัต สั ว์เ ว์ ลื้อ ลื้ ยคลาน และหอยที่อ ที่ าศัย ศั อยู่บนบก ระบบขับ ขั ถ่าย


2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 3. ไฮโดรเจน (Hydrogen) เกลือแร่ (Mineral) และ น้ำ (H2O) ที่ม ที่ ากเกินความต้องการ ของร่างกาย ระบบขับ ขั ถ่าย การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์ โพรทิสต์เซลล์เดียว เช่น พารามีเ มี ซียม อะมีบ มี า ยู กลีนา ของเสียที่เ ที่ กิดขึ้น ขึ้ ได้แก่ แพร่ผ่านเยื่อ ยื่ หุ้ม เซลล์ออกสู่สิ่ง สิ่ แวดล้อม โพรทิสต์บางชนิดที่อ ที่ าศัย ศั อยู่ในน้ำ จืด จื มีอ มี อร์แกเนลล์คอนแทร็ก ร็ ไทล์แวคิว โอล(Contractile vacuole)เพื่อ พื่ ทำ หน้าที่รั ที่ ก รั ษา สมดุลของน้ำ


- ฟองน้ำ (sponges)ไม่มีอ มี วัย วั วะในการขับ ขั ถ่ายของเสีย แต่ละ เซลล์สัม สั ผัส ผั กับ กั น้ำ โดยตรง ใช้วิธี วิ ก ธี ารกำ จัด จั ของเสียด้วยการ แพร่ (Diffusion) ผ่านเยื่อ ยื่ หุ้มเซลล์ (Cell membrane) - ไฮดรา (Hydra)ไม่มีอ มี วัย วั วะในการขับ ขั ถ่าย แต่กำ จัด จั แก๊สและ ของเสียพวกแอมโมเนียโดยวิธี วิ ก ธี ารแพร่ (Diffusion)ผ่านเยื่อ ยื่ หุ้มเซลล์ (Cell membrane) - หนอนตัว ตั แบน(Flat worms)เป็นสัต สั ว์ไว์ฟลัม ลั แรกที่มี ที่ ร มี ะบบขับ ขั ถ่าย เรีย รี กว่า โพรโทเนฟริเ ริ ดีย (Protonephridia) ประกอบ ด้วยท่อตามยาวกระจายอยู่ข้างตลอดตามความยาวของลำ ตัว ตั ที่ ปลายท่อมีเ มี ฟลมเซลล์ (Flame cell = เซลล์เปลวไฟ) ซิเลียจะ โบกพัด พั น้ำ และของเสียจากเฟลมเซลล์ให้ไหลออกมาตามท่อ รับ รั ของเหลวและออกภายนอกทางช่องขับ ขั ถ่ายที่ผ ที่ นัง นั ลำ ตัว ตั การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์


- แอนนิลิด (Annelid)เช่น ไส้เดือนดิน มีลำ มี ลำตัว ตั แบ่งเป็นข้อ ปล้อง แต่ละปล้องจะมีอ มี วัย วั วะขับ ขั ถ่าย เรีย รี กว่า เนฟริเ ริ ดียม (Nephridium) ปล้องละ 1 คู่ เนฟริเ ริ ดียมประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่มี ที่ ลั มี ก ลั ษณะเหมือนปากแตรภายในมีซิ มี ซิ เลีย ล้อมรอบ ทำ หน้าที่รั ที่ บ รั ของเหลวจากช่องลำ ตัว ตั เรีย รี กว่าเนโฟ รสโตม(Nephrostome)ส่วนที่เ ที่ ป็นท่อยาว(Nephridial tubule)ขดไปมามีเ มี ส้นเลือดพัน พั รอบท่อนี้เ นี้ พื่อ พื่ ดูดน้ำ และ ของเหลวที่มี ที่ ปมี ระโยชน์กลับ ลั นำ ไปใช้ประโยชน์อีก อี ครั้ง รั้ ตอน ปลายของท่อพองขยายออกเป็นถุง (Bladder)และเนฟริดิ ริ ดิ โอพอร์ (Nephridiopore)เป็นปลายของท่อเปิดออกสู่ ภายนอกทางผิวหนัง นั การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์


- อาร์โทรพอด (Arthropod)พวกแมลง มีอ มี วัย วั วะ ขับ ขั ถ่ายเรีย รี กว่าท่อมัล มั พิเกียน (Malpighian tubule)มีลั มี ก ลั ษณะคล้ายถุงยื่น ยื่ ออกมาจากทางเดิน อาหารตรงบริเ ริ วณรอยต่อของทางเดินอาหารส่วน กลางและท้าย ปลายของท่อมัล มั พิเกียนจะลอยอยู่ ในช่องของลำ ตัว ตั ของเสีย น้ำ และสารต่างจะถูก ลำ เลียงเข้าสู่ท่อมัล มั พิเกียน ผ่านไปตามทางเดิน อาหารและมีก มี ลุ่มเซลล์บริเ ริ วณไส้ตรงทำ หน้าที่ดู ที่ ดู ด น้ำ และสารที่มี ที่ ปมี ระโยชน์กลับ ลั เข้าสู่ระบบ หมุนเวีย วี นเลือด ส่วนของเสียพวกสารประกอบ ไนโตรเจนเปลี่ย ลี่ นเป็นผลึกกรดยูริก ริ เพื่อ พื่ ขับ ขั ออก จากร่างกายพร้อมกับ กั กากอาหาร การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์


-กุ้งมีอ มี วัย วั วะขับ ขั ถ่าย เรีย รี กว่า ต่อมเขีย ขี ว (Green gland) หรือ รื ต่อมแอนเทนนัล นั (Antennal gland) จำ นวน 1 คู่ ที่บ ที่ ริเ ริ วณฐานของหนวด โดยทำ หน้าที่ก ที่ รองของเสียสารประกอบพวกไนโตรเจน ของเสียผ่านไปตามท่อ และ ตอนปลายของท่อพองออกเป็นถุง (Bladder) ก่อนปล่อยออกนอกร่างกายทางรูขับ ขั ถ่าย (Excretory pore) การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์


- ปลามีไมี ต 1 คู่ อยู่ภายในช่องท้องติดกับ กั กระดูกสัน สั หลัง ลั ทำ หน้าที่กำ ที่ กำจัด จั ของเสียยูเรีย รี และของเสียอื่น อื่ ๆ ออก จากเลือด ของเสียจะผ่านท่อไต (Ureter) ไปยัง ยั กระเพาะปัสสาวะ (Uninary bladder) และเปิดออกทาง Urogenital opening - สัต สั ว์ส ว์ ะเทินน้ำ สะเทินบก(Amphibian)มีไมี ต 1 คู่ นำ น้ำ ปัสสาวะผ่านท่อไต (Urinary duct หรือ รื Ureter) ไป เปิดและกำ จัด จั ออกทางโคลเอกา (Cloaca) การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์


- สัต สั ว์เ ว์ ลื้อ ลื้ ยคลานและสัต สั ว์ปีว์ ปี ก (Reptile and Aves)มีไมี ต (Kidney) เป็นอวัย วั วะขับ ขั ถ่าย สุดท้ายจะขับ ขั ถ่ายออก ทางช่องเปิดของโคลเอกา (Cloaca opening) อวัย วั วะขับ ขั ถ่ายสามารถเปลี่ย ลี่ นของเสียประเภทแอมโมเนียให้ กลายเป็นกรดยูริก ริ (Uric acid) ซึ่ง ซึ่ ไม่เป็นพิษ ดัง ดั นั้น นั้ น้ำ ปัสสาวะของสัต สั ว์พ ว์ วกนี้จ นี้ ะอยู่ในลัก ลั ษณะกึ่ง กึ่ แข็ง ข็ กึ่ง กึ่ เหลว (Semisolid) กรดยูริก ริ ที่ม ที่ ายัง ยั โคลเอกาจะตกตะกอนเป็นผลึกสีขาวรวมตัว ตั กับ กั อุจจาระ ช่วงที่เ ที่ ป็นเอ็ม อ็ บริโริ อกรดยูริก ริ จะเก็บสะสมไว้ในถุงแอลแลนทอยด์ (Allantosis) การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์


-สัต สั ว์เ ว์ ลี้ย ลี้ งลูกด้วยน้ำ นม(Mammal)อวัย วั วะขับ ขั ถ่าย ประกอบด้วย ไต 1 คู่ โครงสร้างของไตประกอบ ด้วยเนื้อเยื่อ ยื่ ชั้น ชั้ นอก คือ คอร์เทกซ์ (Cortex) และเยื่อ ยื่ ชั้น ชั้ ใน คือ เมดัล ดั ลา (Medulla) ใน เนื้อเยื่อ ยื่ ของไตมีห มี น่วยไต (Nephron) เป็น จำ นวนมาก ทำ หน้าที่ส ที่ ร้างน้ำ ปัสสาวะและ ลำ เลียงไปตามท่อไต (Ureter) และเก็บไว้ที่ กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder) ก่อนจะขับ ขั ถ่ายออกนอกร่างกายทางท่อปัสสาวะ (Urethra)สัต สั ว์เ ว์ ลี้ย ลี้ งลูกด้วยน้ำ นมจะขับ ขั ถ่ายของ เสียซึ่ง ซึ่ เป็นสารประกอบไนโตรเจนเป็นยูเรีย รี การขับ ขั ถ่ายของสัต สั ว์


ไตเป็นอวัย วั วะสำ คัญ คั มนุษย์มี ย์ ไมี ต 1 คู่ อยู่ ในช่องท้องสองข้างของกระดูกสัน สั หลัง ลั บริเ ริ วณเอว มีรู มี รู ปร่างภายนอกคล้ายเมล็ด ถั่วแดง ยาวประมาณ 10-13 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร และหนา 3 เซนติเมตร ไตแต่ละข้างหนัก นั ประมาณ 150 กรัม รั ต่อจากไตทั้ง ทั้ สองข้างมีท่ มี ท่ อไต (ureter) ทำ หน้าที่ลำ ที่ ลำเลียงปัสสาวะไป เก็บไว้ที่ก ที่ ระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder) ก่อนที่จ ที่ ะขับ ขั ถ่ายออกนอก ร่างกายทางท่อปัสสาวะ (urethra) การขับ ขั ถ่ายของมนุษย์


โครงสร้างภายในของไต 1. รีนั รี ล นั แคปซูล (Renal capsule) เป็นส่วนที่อ ที่ ยู่ด้านนอกสุดหุ้มรอบไต 2. เนื้อไต ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ -เนื้อไตชั้น ชั้ นอก--> คอร์เทกซ์ (Cortex)ประกอบด้วยกลุ่มเส้นเลือดฝอยเรีย รี กว่า โกลเมอรูลัส ลั (Glomerulus) และถุงโบว์แ ว์ มนส์แคบซูล (Bowman's Capsule) ทำ หน้าที่เ ที่ กี่ย กี่ วกับ กั การกรองของเสียออกจากเลือด และเป็นที่อ ที่ ยู่ของท่อหน่วยไต ส่วนต้น (Proximal convoluted tubule) และท่อหน่วยไตส่วนปลาย (Distal convoluted tubule) ซึ่ง ซึ่ เป็นส่วนประกอบของหน่วยไต (Nephron) -เนื้อไตชั้น ชั้ ใน--> เมดัล ดั ลา (medulla)มีสี มี สี จางกว่าเนื้อไตชั้น ชั้ นอก มีลั มี ก ลั ษณะเป็น เส้น ๆ หรือ รื หลอดเล็ก ๆ รวมกัน กั เป็นกลุ่ม ๆ น้ำ ปัสสาวะจะส่งเข้าสู่กรวยไต 3. กรวยไต (Renal pelvis) ซึ่ง ซึ่ ทำ หน้าที่ร ที่ องรับ รั น้ำ ปัสสาวะและส่งต่อไปสู่ท่อไต (Ureter) นำ เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะและส่งต่อไปยัง ยั ท่อปัสสาวะ การขับ ขั ถ่ายของมนุษย์


ไตแต่ละข้างจะประกอบด้วยหน่วยไต หรือ รื เนฟรอน (Nephron)ประมาณ 1 ล้านหน่วย เป็นหน่วยย่อยที่ทำ ที่ ทำหน้าที่ส ที่ ร้างน้ำ ปัสสาวะ (Functional unit) โดยหน่วยไต (Nephron) แต่ละอัน อั ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. ส่วนที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้องกับ กั การกรอง(Filtering unit)ซึ่ง ซึ่ ประกอบด้วย - โกลเมอรูลัส ลั (Glomerulus) --> กลุ่มหลอดเลือดฝอย (Glomerulus capillaries) ที่ข ที่ ดรวมกัน กั อยู่ในโบว์แ ว์ มนส์แคบซูล (Bowman's capsule) ทำ หน้าที่ก ที่ รองสารออกจากพลาสมาให้เข้ามาในท่อหน่วยไต - โบว์แ ว์ มนส์แคบซูล (Bowman's capsule) --> ส่วนต้นของท่อหน่วยไต มีลั มี ก ลั ษณะคล้ายถ้วย ของเหลวที่ก ที่ รองได้จะผ่านเข้ามายัง ยั บริเ ริ วณนี้ 2. ส่วนท่อของหน่วยไต (Renal tubule)ประกอบด้วยท่อส่วนต่าง ๆ ดัง ดั นี้ - ท่อขดส่วนต้น (Proximal convoluted tubule) เป็นส่วนถัด ถั จากโบว์ แมนส์แคบซูล (Bowman’s capsule)ขดไปมาอยู่ในชั้น ชั้ คอร์เทกซ์ (Cortex) เป็นบริเ ริ วณที่มี ที่ ก มี ารดูดกลับ ลั สารต่างๆ เข้าสู่ระบบไหลเวีย วี นเลือดมากที่สุ ที่ สุ ด การขับ ขั ถ่ายของมนุษย์


- ห่วงเฮนเล (Henle’s loop) หลอดโค้งรูปตัว ตั ยู ยื่น ยื่ เข้าไปในชั้น ชั้ เมดัล ดั ลา (Medulla) ประกอบด้วย ท่อขาลง ( Discending) และท่อขาขึ้น ขึ้ (Ascending) - ท่อขดส่วนปลาย (Distal convoluted tubule) ถัด ถั จาก Henle’s loop เป็นท่อขดไปมาในชั้น ชั้ คอร์เทกซ์ (Cortex) และเปิดรวมกัน กั ที่ท่ ที่ ท่ อรวม (Cellecting tubule) - ท่อรวม (Collecting duct) ต่อกับ กั ท่อขดส่วนปลาย ทำ หน้าที่นำ ที่ นำน้ำ ปัสสาวะ ส่งต่อไปยัง ยั กรวยไต (Pelvis) ท่อไต (Ureter) กระเพาะปัสสาวะ (Urenary bladder) และท่อปัสสาวะ (Urethra) ตามลำ ดับ ดั การขับ ขั ถ่ายของมนุษย์


หน่วยไตทำ หน้าที่ใ ที่ นการสร้างน้ำ ปัสสาวะ (Urine formation) ประกอบด้วยกระบวนการที่สำ ที่ สำคัญ คั 3 ขั้น ขั้ ตอน ได้แก่ การกรองสารที่โ ที่ กลเมอรูลัส ลั (Glomerular filtration) การดูดสารกลับ ลั ที่ท่ ที่ ท่ อ หน่วยไต (Tubular reabsorption) และการ หลั่งสารโดยท่อหน่วยไต (Tubular Secretion) การทำ งานของหน่วยไต


การกรองสารที่โ ที่ กลเมอรูลัส ลั (Glomerular filtration / Ultrafiltration) - เป็นกระบวนการแรกที่ส ที่ ร้างน้ำ ปัสสาวะ - แต่ละนาทีจะมีเ มี ลือดเข้าสู่ไตจำ นวน 1200 ml เลือดกรองผ่านโกลเมอรูลัส ลั ซึ่ง ซึ่ จะทำ หน้าที่เ ที่ ป็น เยื่อ ยื่ กรอง ของเหลวที่ผ่ ที่ ผ่ านจากการกรอง เรีย รี กว่า Glomerular Filtrate หรือ รื Ultrafiltrate ได้แก่ น้ำ ยูเรีย รี กลูโคส โซเดียมคลอไรด์ เกลือแร่ต่าง ๆ จะเข้าสู่โบว์แ ว์ มนส์แคปซูลประมาณ 125 ml หลัง ลั จากนั้น นั้ เลือดจะออกจากโกลเมอรูลัส ลั ไปเลี้ย ลี้ งส่วนต่างๆ ของท่อหน่วยไต และ เปลี่ย ลี่ นเป็นเลือดดำ แล้วออกจากไตไปทางหลอดเลือดรีนั รี ล นั เวน - การกรองอาศัย ศั แรงดัน ดั ของของเหลวในเส้นเลือดฝอยบริเ ริ วณโกลเมอรูลัส ลั โดยเยื่อ ยื่ กรองจะยอม ให้น้ำ และสารที่มี ที่ ข มี นาดโมเลกุลเล็กกว่ารู เช่น ยูเรีย รี โซเดียม กลูโคส ผ่านออกมาได้ แต่จะไม่ ยอมให้สารขนาดใหญ่ผ่าน เช่น เซลล์เม็ดเลือด โปรตีน ไขมัน มั - ในคนปกติพบว่าพลาสมาจะถูกกรองประมาณวัน วั ละ 180 ลิตร แต่มีปัมี ปัสสาวะออกมาเพียง 1.5-2 ลิตร ซึ่ง ซึ่ เป็นเพียง 1% จะถูกขับ ขั ออกมา อีก อี 99 % ซึ่ง ซึ่ เป็นสารที่มี ที่ ปมี ระโยชน์จะถูกดูดกลับ ลั หมด การทำ งานของหน่วยไต


การดูดสารกลับ ลั ที่ท่ ที่ ท่ อหน่วยไต(Tubular reabsorption) - ท่อขดส่วนต้น เกิดการดูดกลับ ลั มากที่สุ ที่ สุ ด (ประมาณ 80%) มีก มี ารดูดกลับ ลั แบบใช้พลัง ลั งาน (Active transport) ได้แก่ กลูโคส โปรตีนโมเลกุลเล็ก กรดอะมิโน วิต วิ ามิน Na+K+และ การดูดกลับ ลั แบบไม่ใช้พลัง ลั งาน (Passive transport) ได้แก่ ยูเรีย รี น้ำ Cl-HCO-3 - ห่วงเฮนเล (Henle’s loop)ท่อขาลงจะเกิดการเคลื่อ ลื่ นที่ข ที่ องน้ำ ออกจากห่วงเฮนเลโดย กระบวนการออสโมซิสท่อขาขึ้น ขึ้ จะมีก มี ารดูด NaCl กลับ ลั ทั้ง ทั้ แบบไม่ใช้พลัง ลั งานและแบบใช้ พลัง ลั งาน และผนัง นั ส่วนขาขึ้น ขึ้ นี้มี นี้ คุ มี คุ ณสมบัติ บั ติไม่ยอมให้น้ำ ผ่าน (Impermeable) - ท่อขดส่วนปลาย มีก มี ารดูดน้ำ กลับ ลั แบบไม่ใช้พลัง ลั งาน โดยการควบคุมของฮอร์โมน ADH (Antidiuretic hormone) ส่วน NaCl และ HCO-3จะถูกดูดกลับ ลั แบบใช้พลัง ลั งาน โดยการ ควบคุมของฮอร์โมน Aldosterone - ท่อรวม (Collecting tubule) มีก มี ารดูดน้ำ กลับ ลั แบบไม่ใช้พลัง ลั งาน ดูดกลับ ลั ของ Na+แบบใช้ พลัง ลั งาน และยอมให้ยูเรีย รี แพร่ออก โดยการดูดกลับ ลั อยู่ภายใต้อิท อิ ธิพ ธิ ลของฮอร์โมน ADH การทำ งานของหน่วยไต


การหลั่งสารโดยท่อหน่วยไต(Tubular Secretion) - เป็นการขนส่งสารจากเลือดเข้าไปยัง ยั ท่อหน่วยไต ที่ท่ ที่ ท่ อขดส่วนต้น มีก มี ารหลั่งสารหลายชนิด เช่น H+K+NH+3และที่บ ที่ ริเ ริ วณท่อหน่วยไตส่วนปลายมีก มี ารหลั่ง H+K+ยาและสารพิษบางชนิด การทำ งานของหน่วยไต


- เมื่อ มื่ น้ำ ในเลือดน้อยทำ ให้ความเข้มข้นของเลือดเพิ่ม พิ่ มากขึ้น ขึ้ ทำ ให้แรงดัน ดั ออสโมติกของเลือดสูงขึ้น ขึ้ ไปกระตุ้นตัว ตั รับ รั รู้ (Receptor) การเปลี่ย ลี่ นแปลงแรงดัน ดั ออสโมติกในสมองส่วนไฮโพทามัส มั และต่อมใต้สมองส่วนท้าย (Posterior lobe of piuitary gland) ปล่อยฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก (Antidiuretic hormone; ADH หรือ รื Vasopressin) ส่งไปยัง ยั ท่อหน่วยไตส่วนปลายและท่อรวม ทำ ให้เกิดการดูดน้ำ กลับ ลั เข้าสู่เลือดมากขึ้น ขึ้ ปริม ริ าตร ของเลือดมากขึ้น ขึ้ พร้อมกับ กั ขับ ขั น้ำ ปัสสาวะออกน้อยลง นอกจากนี้ภ นี้ าวะที่มี ที่ ก มี ารขาดน้ำ ของร่างกายยัง ยั กระตุ้นศูนย์ ควบคุมการกระหายน้ำ ในสมองส่วนไฮโพทาลามัส มั ทำ ให้ เกิดการกระหายน้ำ เมื่อ มื่ ดื่ม ดื่ น้ำ มากขึ้น ขึ้ แรงดัน ดั ออสโมติก ในเลือดจึง จึ เข้าสู่สภาวะปกติ - แอลโดสเตอโรน (Aldosterone) จากต่อมหมวกไตกระตุ้นให้มีก มี ารดูดกลับ ลั โซเดียม โพแทสเซียม และ ฟอสเฟต โดยสารดัง ดั กล่าวกลับ ลั เข้าสู่กระแสเลือด - ไตช่วยรัก รั ษาสมดุลของกรด-เบสในร่างกายด้วยการขับ ขั ไฮโดรเจนไอออนออก และดูดซึมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ไอออนกลับ ลั จากท่อไตที่ท่ ที่ ท่ อขดส่วนต้นและส่วนปลาย ไตกับ กั การรัก รั ษาดุลยภาพของน้ำ และสารต่าง ๆ ในร่างกาย


โรคนิ่ว (Calculus) --> เกิดจากตะกอนของแร่ธาตุต่าง ๆ ในน้ำ ปัสสาวะรวมตัว ตั เป็นก้อน อุดตัน ตั ในท่อปัสสาวะ อาจจะเกิดการอัก อั เสบติดเชื้อ ชื้ หรือ รื การบริโริ ภคผัก ผั บางชนิด เช่น ใบ ชะพลู ผัก ผั โขม เป็นต้น ซึ่ง ซึ่ มีส มี ารออกซาเลตสูงทำ ให้มีโมี อกาสเป็นนิ่วได้ง่าย รัก รั ษาโดยการ ใช้ยา ผ่าตัด ตั หรือ รื สลายนิ่วโดยใช้คลื่น ลื่ เสียงที่มี ที่ ค มี วามถี่สู ถี่ สู ง (Ultra sound) ป้องกัน กั ได้โดย การรับ รั ประทานอาหารประเภทโปรตีน ซึ่ง ซึ่ ฟอสฟอรัส รั ช่วยไม่ให้สารพวกออกซาเลตจับ จั ตัว ตั เป็นก้อนนิ่ว และควรหลีกเลี่ย ลี่ งการบริโริ ภคอาหารที่มี ที่ อ มี อกซาเลตสูง นอกจากนี้ก นี้ ารดื่ม ดื่ น้ำ สะอาดวัน วั ละมาก ๆ อาจทำ ให้ก้อนนิ่วขนาดเล็กออกมาพร้อมกับ กั น้ำ ปัสสาวะได้ โรคไตวาย (Renal failure) --> ไตสูญเสียการทำ งาน ทำ ให้ของเสียจะถูกสะสมอยู่ใน ร่างกายไม่สามารถขับ ขั ถ่ายออกทางน้ำ ปัสสาวะ ส่งผลให้เกิดความผิดปกติในการรัก รั ษา สมดุลน้ำ แร่ธาตุ และความเป็นกรด-เบส ของสารในร่างกาย หรือ รื อาจมีส มี าเหตุมาจากการ ติดเชื้อ ชื้ ที่รุ ที่ รุ นแรง การสูญเสียเลือดจำ นวนมาก หรือ รื อาจเกิดจากการเป็นโรคเบาหวานเป็น เวลานาน รัก รั ษาโดยการควบคุมชนิดและปริม ริ าณของอาหาร ใช้ยา หรือ รื การฟอกเลือดโดย ใช้ไตเทียม (Artificial kidney) ความผิดปกติของระบบขับ ขั ถ่าย


ขอบคุณค่ะ นางสาวปิยนุช โปจีน จี เลขที่ 18 ชั้น ชั้ ม.5/1


Click to View FlipBook Version