โลหะ อโลหะ ธาตุ สารประกอบ หน่วยที่ 2 สารบริสุทธิ์ สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม สาร สารบริสุทธิ์ สารละลาย สารแขวนลอย สารคอลลอยด์ กึ่งโลหะ
เคยได้ยินหรือไม่ ??? สสาร ? สาร ?
สสารและสาร สสาร (Matter) คือ สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีตัวตน สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือไม่เห็นก็ได้ เช่น อากาศ เป็นต้น สาร (Substance) คือ สสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบ สมบัติและองค์ประกอบ ที่แน่นอนซึ่งก็คือ เนื้อของสสาร
สมบัติของสสารมีอะไรบ้าง เราสามารถจ าแนก สารได้อย่างไร และท าไมเราต้องจ าแนกสาร ??? Self study https://wheelofnames.com/ นักเรียนศึกษาความรู้จากในความรู้เรื่องสารบริสุทธิ์หน้า 4 หรือจากสื่อออนไลน์ที่นักเรียนมี และตอบค าถามในหน้าที่ 5 จากนั้นมาแบ่งกันแบ่งปันความรู้กันเถอะ
สมบัติ เครื่องมือที่ใช้หรือวิธี ใช้ในการตรวจสอบ 1. การน าไฟฟ้า ชุดเครื่องตรวจการน าไฟฟ้า 2. การละลาย น าไปละลายในตัวท าละลาย 3. ความเป็นกรด-เบส ทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส จากสีน้ าเงินเป็นสีแดง สารละลายที่มีสมบัติเป็นเบส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จากสีแดงเป็นสีน้ าเงิน 4. อุณหภูมิ เทอร์มอมิเตอร์ 5. มวล เครื่องชั่ง สมบัติกายภาพ (Physical Property) สมบัติทางเคมี (Chemistry Property) สามารถทดสอบสมบัติของสารได้ ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเป็นกรด - เบส การติดไฟ การเป็นสนิม
การจ าแนกสาร ใช้สถานะเป็นเกณฑ์ สถานะของแข็ง (Solid) สถานะของเหลว (Liquid) สถานะก๊าซ (Gas) ใช้การละลายน้ าเป็นเกณฑ์ สารที่ไม่สามารถละลายน้ าได้ สารที่ละลายน้ าได้บ้าง สารที่ละลายน้ าได้ ใช้การน าไฟฟ้าเป็นเกณฑ์ สารที่น าไฟฟ้าได้ สารที่ไม่น าไฟฟ้า ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ สารเนื้อเดียว (Homogeneous Substance) สารเนื้อผสม (Heterogeneous Substance)
Homogeneous Substance Heterogeneous Substance สารที่มีลักษณะของเนื้อสาร ผสมกลมกลืนกัน เป็นเนื้อเดียว สารที่มีลักษณะของเนื้อสาร ไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน 1. สารบริสุทธิ์ 2. สารไม่บริสุทธิ์ 1. สารแขวนลอย 2. สารคอลลอยด์
สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม สาร สารแขวนลอย สารคอลลอยด์ สารบริสุทธิ์ สารละลาย
ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 แตกต่างกัน หรือไม่ อย่างไร สารบริสุทธิ์คืออะไร???
สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ไม่มีสารอื่นเจือปน เป็นสารที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ด้วยวิธีทางกายภาพ มีองค์ประกอบทางเคมีตายตัวและมีสมบัติชัดเจน อาจเป็น ของแข็ง ของเหลวหรือแก๊ส แบ่งได้เป็น ธาตุ และ สารประกอบ สารละลาย คือ สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ด้วยอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน สามารถแยกออกจากกันกันได้โดยกระบวนการทางกายภาพ สารที่เกิดใหม่จะมีสมบัติไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับ ปริมาณของสารบริสุทธิ์ที่น ามาผสมกัน น้ า น้ าตาล
โลหะ อโลหะ ธาตุ สารประกอบ กึ่งโลหะ ตัวอย่างธาตุ F = (ฟลูออรีน) Na = (โซเดียม) Fe = (ไอออน) โลหะ Li = (ลิเทียม) Si = (ซิลิกอน) As = (สารหนู) กึ่งโลหะ B = (โบรอน) Cl = (คลอรีน) Br = (โบรมีน) อโลหะ
กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมที่ 2.1 จุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร ? สารบริสุทธิ์ คือสารใด สารผสม คือสารใด สรุปได้ว่าอย่างไร ? กิจกรรมที่ 2.2 จุดหลอมของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร ? สารบริสุทธิ์ คือสารใด สารผสม คือสารใด สรุปได้ว่าอย่างไร ? ช่วยครูคิดหน่อย
จุดเดือด อุณหภูมิที่ ของเหลว เปลี่ยนสถานะเป็น แก๊ส จุดหลอมเหลว อุณหภูมิที่ ของแข็ง เปลี่ยนสถานะเป็น ของเหลว สารละลาย สารบริสุทธิ์ จุดเดือด อุณหภูมิ สารละลาย สารบริสุทธิ์ จุดหลอมเหลว อุณหภูมิ จากกราฟ สรุปได้ว่า จุดเดือด ของ สารละลาย สูงกว่า สารบริสุทธิ์ จุดหลอมเหลว ของ สารละลาย ต่ ากว่า สารบริสุทธิ์ สารบริสุทธิ์ จุดเดือด จุดหลอมเหลว คงที่ จุดเดือดจุดหลอมเหลว
เกร็ดความรู้ ➢ กลีเซอรอลสามารถผลิตได้จากกระบวนการผลิตน้ ามันไบโอดีเซล นอกจากนี้ยังผลิตได้จากปฏิกิริยาเคมีอื่น ๆ อีกด้วย สูตรโครงสร้าง กลีเซอรอล (glycerol) ➢ เป็นสารบริสุทธ ิ์ที่ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2342 จากการทดลองสกัด น้ ามันมะกอก โดยนักเคมีชาวสวีเดน ชื่อ คาร์ล ดับบลิว ซีล (Carl W. Scheele) ➢ ปัจจุบันใช้กลีเซอรอลเป็นสารตั้งต้น ที่ส าคัญในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น การผลิตสบู่ การผลิตยา การผลิตเครื่องส าอางค์ ➢ กลีเซอรอล เป็นของเหลวข้น หนืด ไม่มีสี มีรสหวาน มีจุดหลอมเหลว 18 o c และจุดเดือด 290 o c ละลายในน้ าและแอลกอฮอล์ กลีเซอรอล (glycerol) กลีเซอรอล
เกร็ดความรู้ ความดันบรรยากาศ (atmospheric pressure) คือ ความดันของบรรยากาศของโลก กดลงบนพื้นโลก ด้วยแรงโน้มถ่วง ในแนวตั้งฉาก ความดันนี้จะแปรเปลี่ยน ไปตามสภาพอากาศและความสูงจากพื้นดิน ที่ระดับน้ าทะเล ความดันบรรยากาศจะมีค่า 1 บรรยากาศ(atmosphere: atm) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 101.3 กิโลปาสกาล (kPa) หรือเท่ากับ 101,325 ปาสกาล (Pa) ความดันบรรยากาศสามารถวัดค่าได้ด้วย “บารอมิเตอร์” มวลของอากาศ 104 กิโลกรัม (kg) กดลงบนพื้นโลกขนาด 1 ตารางเมตร (m2 ) แรงโน้มถ่วง (g) ความดัน 1 atm ที่พื้นผิว บารอมิเตอร์
เกร็ดความรู้ 1. ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ 2. ขึ้นอยู่กับความดันบรรยากาศ ณ ความดันบรรยากาศ ที่ระดับทะเล น้ าบริสุทธิ์ มีจุดเดือดที่อุณหภูมิ 100 o c แต่เมื่อความดันบรรยากาศ เพิ่มขึ้นหรือลดลง จุดเดือดของน้ าบริสุทธิ์ จะมีค่าเปลี่ยนไป ดังตาราง ความดัน (kPa) จุดเดือด ( o c) 3.5 26.4 13.8 52.2 27.6 67.2 48.3 80.4 69.0 89.6 82.7 94.4 ความดัน (kPa) จุดเดือด ( o c) 101.3 100.0 137.9 109.0 193.1 119.0 275.8 131.0 303.4 134.0 358.5 140.0 จุดเดือด และ จุดหลอมเหลว ของสาร จุดเดือดของ น้ า ที่ความดันต่าง ๆ
จุดเดือดจุดหลอมเหลวในชีวิตประจ าวัน หม้ออบแรงดัน อุตสาหกรรมผลิตยา
2. ความหนาแน่น อัตราส่วนของมวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ถ้าใช้มวลของสารเป็น หน่วยกรัม (g) ปริมาตรของสารจะใช้หน่วย ลูกบาศก์เซนติเมตร cm3 ถ้าใช้มวลของสารเป็น หน่วยกรัม (kg) ปริมาตรของสารจะใช้หน่วย ลูกบาศก์เมตร m3 ความหนาแน่นของสาร = มวล (g) ปริมาตร (cm3) = มวล (kg) ปริมาตร (m3) ความหนาแน่น
ตัวอย่างโจทย์ : ความหนาแน่น ตัวอย่างโจทย์ 1 ตัวอย่างโจทย์ 2 วัตถุชนิดหนึ่งมีมวล 100 กรัม ปริมาตร 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร วัตถุชิ้นนี้มีความหนาแน่นเท่าใด ความหนาแน่นของวัตถุ (D) = มวล (g) ปริมาตร (cm3) = 100 (g) 200 (cm3) = 0.5 g/cm3 แนวคิด ดังนั้น วัตถุนี้มีความหนาแน่นเท่ากับ 0.5 g/cm3 กล่องพลาสติกใบหนึ่งมวล 400 กรัม ปริมาตร 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร กล่องพลาสติกนี้มีความหนาแน่นเท่าใด ความหนาแน่นของกล่อง (D) = มวล (g) ปริมาตร (cm3) = 400 (g) 200 (cm3) = 2 g/cm3 แนวคิด ดังนั้น กล่องใบนี้มีความหนาแน่นเท่ากับ 2 g/cm3
ชน ิ ดของสาร สถานะ ความหนาแน ่ น (g/cm3 ) ไอน ้ำ (100 oC) แก๊ส แก๊สไนโตรเจน แก๊ส แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ แก๊ส น ้ำ ของเหลว คำร์บอนไดออกไซด์เหลว ของเหลว ปรอท ของเหลว น ้ำแข็ง ของแข็ง น ้ำแข็งแห้ง ของแข็ง เงิน ของแข็ง ทอง ของแข็ง ปรอท (Mercury:Hg) - เป็นโลหะ - เป็นของเหลวสีขาวคล้ายเงิน - เมื่อแข็งตัวจะมีคุณสมบัติ คล้ายกับโลหะทั่วไป - เป็นสาระส าคัญในการท า เทอร์โมมิเตอร์ เกร็ดความรู้ ตารางแสดง ความหนาแน่นของสารบางชนิด ที่ความดัน 1 บรรยากาศ
เกร็ดความรู้ วัตถุลอยน้ า เนื่องจากวัตถุนั้นมี ความหนาแน่นน้อยกว่าน้ า วัตถุลอยปริ่มน้ า เนื่องจากวัตถุ นั้นมีความหนาแน่นเท่ากับน้ า วัตถุจมอยู่ใต้น้ า เนื่องจากวัตถุ นั้นมีความหนาแน่นมากกว่าน้ า
(High-Density Polyethylene) ประเภทของพลาสติก ประเภทพลาสติก สมบัติ ตัวอย่างการใช้งาน ค่อนข้างแข็งและเหนียว ไม่เปราะแตกง่าย และส่วนใหญ่จะใส ขวดบรรจุน้ าดื่ม ขวดน้ ามันพืช และขวดน้ าอัดลม PETE HDPE PVC Polyethylene Terephthalate High-Density Polyethylene Polyvinyl Chloride ค่อนข้างนิ่มแต่เหนียวไม่แตกง่าย ส่วนใหญ่ท าให้มีสีสันสวยงาม ทนสารเคมี นอกจากนี้ยังป้องกัน การแพร่ผ่านความชื้นได้ดี ขวดนม ขวดแชมพูสระผม ขวดแป้งเด็ก ขวดสบู่เหลว ถุงพลาสติกทนร้อนชนิดขุ่น และถุงหูหิ้ว ท่อน้ าประปา สายยางใสแบบนิ่ม แผ่นฟิล์มส าหรับห่ออาหาร แผ่นพลาสติกปูโต๊ะอาหาร ขวดใส่แชมพูสระผมชนิดใส มีสมบัติหลากหลาย ทั้งแข็ง นิ่ม สามารถท าให้มี สีสันสวยงามได้
ประเภทของพลาสติก ประเภทพลาสติก สมบัติ ตัวอย่างการใช้งาน LDPE PP PS นิ่มกว่า HDPE สามารถยึดตัวได้ในระดับหนึ่ง ใส ฟิล์มส าหรับห่ออาหาร และห่อของ ถุงใส่ขนมปัง และถุงเย็นส าหรับบรรจุอาหาร แข็งและเหนียว ทนต่อแรงกระแทกได้ดี ท าให้มีสีสันสวยงามได้ กล่อง ชาม จาน ถัง ตะกร้า กระบอกส าหรับใส่น้ าแช่เย็น ถุงร้อนชนิดใส ใส แข็งแต่เปราะ และแตกง่าย ภาชนส าหรับบรรจุของใช้ เช่น ซีดีเพลง โฟมบรรจุ อาหาร โฟมกันกระแทก Low Density Polyethylene Polypropylene Polystyrene
การทดสอบพลาสติก ทดสอบด้วยน้ า (Water tase) พลาสติกที่จมน้ า พลาสติกที่ลอยน้ า PETE / PVC/PS HDPE / LDPE / PP เปลวไฟสีเขียว ทดสอบโดยการเผาด้วยลวดทองแดง (Copper wire test) เปลวไฟสีส้ม PVC PETE / PS ทดสอบโดยการขูดด้วยเล็บ (scratch test) HDPE / LDPE PP เกิดรอยขูดขีด ไม่เกิดรอยขูดขีด มีต่อสไลด์ถัดไป
ทดสอบด้วยสารเมทิลเอทิลคีโตน (Methyl Ethyl Ketone / MEK test) ละลาย ไม่ละลาย PS PETE / พลาสติกประเภทอื่น จุดหลอมเหลว ประมาณ 105 – 115 o c ทดสอบโดยการอบ (oven test) PETE / PS แช่ในสารละลาย 20 นาที อ่อนตัวและบิดเบี้ยว PETE พลาสติกประเภทอื่น ทดสอบด้วยความร้อน ( heat test) ใส่ในน้ าเดือด ไม่อ่อนตัว จุดหลอมเหลว ประมาณ 120 – 130 o c LDPE HDPE การทดสอบพลาสติก
บทที่ 2 การจ าแนกและองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์ NaCl CO2 H2O H2O
กิจกรรมการทดลองที่ 2.4 เรื่อง สารบริสุทธิ์มีองค์ประกอบอะไรบ้าง หนังสือหน้า 40-42
กิจกรรมการทดลองที่ 2.4 ผลการทดลอง ชุดทดลอง สิ่งที่สังเกตเห็นได้ การเปลี่ยนแปลง ขณะให้กระแสไฟ ผลการทดสอบด้วย ธูปที่มีเปลวไฟ ผลการทดสอบด้วย ธูปที่มีถ่านแดง สารในหลอดแก้ว ที่มีขั้วบวก สารในหลอดแก้ว ที่มีขั้วลบ มีเปลวไฟสว่าง จากเดิมเล็กน้อย ธูปจะวาบ เกิดแสงไฟสว่าง สารที่อยู่ในหลอด จะติดไฟ เกิดเปลวไฟ ไม่เกิด การเปลี่ยนแปลง เกิดฟองแก๊ส ผุดขึ้น ที่ด้านบนของหลอด เกิดฟองแก๊ส ผุดขึ้น ที่ด้านบนของหลอด (O) (H)
ไฟติด เชื้อเพลิง แก๊สออกซิเจน ความร้อน 1 3 2 ความร้อน ไฟ แก๊สไฮโดรเจน ติดไฟ
O อนุภาคมูลฐาน p + , e - , n อะตอม อนุภาคมูลฐานรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนต่าง ๆ ธาตุ ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียว สารประกอบ อะตอมต่างชนิดกันมารวมตัวกัน สารบริสุทธ์ p + = โปรตอน e - = อิเล็กตรอน n = นิวตรอน H O C ธาตุไฮโดรเจน : H คาร์บอน : C ธาตุออกซิเจน : O ตัวอย่างธาตุ O C H H O คาร์บอนไดออกไซด์ : CO2 น้ า : H2O ตัวอย่าง สารประกอบ C O คาร์บอนมอนอกไซด์ : CO
เกร็ดความรู้ โมเลกุล กับ สารประกอบ ? โมเลกุล เกิดจากอะตอมของธาตุมารวมกัน จะเป็นชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดก็ได้ สารประกอบ : เกิดจากอะตอมของธาตุ “ต่างชนิดกัน” มารวมกัน ดังนั้น สารประกอบทั้งหมด เป็น “ โมเลกุล.” ธาตุ กับ สารประกอบ ต่างกันอย่างไร ธาตุ 1. ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียว 2. แยกออกโดยวิธีเคมีไม่ได้ 3. เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ สารประกอบ 1. แยกออกโดยวิธีเคมีและไฟฟ้าได้ 2. เขียนแทนด้วยสูตรเคมี
สัญลักษณ์ของธาตุ สูตรเคมี และ
สัญลักษณ์ของธาตุ (Chemical symbol) ตัวอักษรภาษอังกฤษที่ใช้เขียนแทนชื่ออะตอมของธาตุนั้น โดยตัวแรกจะเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ กรณีตัวแรกของชื่อธาตุซ้้ากันให้ใช้ตัวอักษรตัวอื่นที่เป็นพิมพ์เล็กตามหลัง EX. Mg K N S Ar Ag Al Cs Ca Cu สูตรเคมี (Chemical formula) กลุ่มสัญลักษณ์ที่เขียนแทนชื่อธาตุและสารประกอบ ประกอบด้วยสัญลักษณ์ของธาตุ และตัวเลขอัตราส่วนจ้านวนอะตอมของธาตุที่เป็นของประกอบสารนั้น EX. O2 O3 S8 HCl CH3 COOH C5 H8 NO6 Na H2O2 CH4
ธาตุ หรือ สารประกอบ ธาตุหรือ โมเลกุลของธาตุ สาร ประกอบ ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ อัตราส่วน จ้านวนอะตอมของธาตุ ที่เป็นองค์ประกอบ น้้า (H2O) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 ) แก๊สไนโตรเจน (N2 ) แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2 ) โซเดียม (Na) โซเดียมคลอไรด์(NaCl) กลูโคส (C6 H12O6 ) แอมโมเนียมฟอสเฟต (NH4 ) 3 PO4 ข้อมูล ธาตุ และสารประกอบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ไฮโดรเจน, ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์, ออกซิเจน ไนโตรเจน ไนโตรเจน, ออกซิเจน โซเดียม โซเดียม, คลอรีน คาร์บอน, ไฮโดรเจน, ออกซิเจน ไนโตรเจน, ไฮโดรเจน ฟอสฟอรัส, ออกซิเจน 2 : 1 1 : 2 2 1 : 2 1 1 : 1 6 : 12 : 6 3 : 12 : 1 : 4
อะตอม (Atom) ในภาษากรีกโบราณอ่านว่า atomos แปลว่า แบ่งแยกไม่ได้ ดังนั้น อะตอมหมายถึง อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุที่สามารถจะคงอยู่ได้ ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว นักวิทยาศาสตร์พยายามศึกษาอนุภาคของอะตอมที่มีขนาดเล็ก มากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นนี้ โดยการทดลองและวิเคราะห์ ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม และใช้ “แบบจ้าลองอะตอม” เพื่อใช้อธิบายองค์ประกอบภายในอะตอม ลูซิพปุส (Leucippus) ดิโมคริตุส (Democritus) คนแรก ที่ค้นพบอะตอม (Atom)
โครงสร้างอะตอม + + + + - - - - - - นิวเคลียส โครงสร้างอะตอม : ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน ดังนี้ + - อนุภาคโปรตอน(p) มีประจุ + อนุภาคนิวตรอน(n) เป็นกลางทางไฟฟ้า อนุภาคอิเล็กตรอน(e) มีประจุ - e - เคลื่อนที่ รอบนิวเคลียส ประจุไฟฟ้าของธาตุมี 3 แบบ เป็นกลางทางไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าเป็นบวก ประจุไฟฟ้าเป็นลบ - - - - จ้านวน e - เท่ากับจ้านวน p + จึงหักล้างกันหมดพอดี e - หายไป 1 ตัว ท้าให้จ้านวน e - น้อยกว่าจ้านวน p + ธาตุจึงเด่นประจุ 1+ + + + + + + - - - + + - + - - - - - e - เพิ่มมา 2 ตัว ท้าให้จ้านวน e - มากกว่าจ้านวน p + ธาตุจึงเด่นประจุ 2-
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ x A z เลขมวล (Mass Number) คือ จ านวนโปรตอนและนิวตรอน ( p + + n ) สัญลักษณ์ของธาตุ เลขอะตอม (Atomic Number) คือ จ านวนโปรตอน p + ตัวอย่าง : สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ Na 23 11 Mg 24 12 C 12 6 Ca 40 20 ตัวอย่าง : การหาอนุภาคมูลฐานของธาตุ Na 23 11 p + = z = 11 n e - = p+ เมื่อธาตุเป็นกลาง = 11 = A – Z = 23 – 11 = 12 Na 23 + 11 p + = z = 11 n e - ≠ p + เนื่องจากเสีย e - ไป 1 อิเล็กตรอน ดังนั้น e - = 11 – 1 = 10 = A – Z = 23 – 11 = 12 S 32 16 2- p + = z = 16 n e - ≠ p + เนื่องจากรับ e - เพิ่มมา 2 อิเล็กตรอน ดังนั้น e - = 16 + 2 = 18 = A – Z = 32 – 16 = 16
ธาตุ สารประกอบ โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ
สมบัติ สถานะ การน าไฟฟ้า การน าความร้อน จุดเดือด จุดหลอมเหลว คุณสมบัติเฉพาะ โลหะ เป็นของแข็งในสภาวะ ปกติ ยกเว้น ปรอท ซึ่งเป็นของเหลว น าไฟฟ้าได้ดี น าความร้อนได้ดี สูงมาก ยกเว้น ปรอท จุดเดือดจุด หลอมเหลวต่ า - มีความมันวาว - ยืดเป็นเส้น หรือ ตีเป็นแผ่นบางได้ กึ่งโลหะ ของแข็ง น าไฟฟ้าได้บางชนิด เช่น โบรอน น าความร้อนได้ บางชนิด บางชนิดต่ า บางชนิดสูง เปราะ อโลหะ มีทั้ง 3 สถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ไม่น าไฟฟ้า ยกเว้น แกรไฟต์ ไม่น าความร้อน หรือ น าความร้อน ได้น้อย ต่ า ยกเว้น คาร์บอน ที่เป็นโครงผลึก ร่างตาข่าย - เปราะ - ไม่มันวาว การจ าแนกธาตุและสมบัติของธาตุ ชนิดของธาตุ
ตัวอย่างธาตุ โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ แมกนีเซียม (Mg) อลูมิเนียม (Al) ทองแดง (Cu) ปรอท (Hg) ทองค า (Au) ก ามะถัน (S) คาร์บอน (C) ซิลิคอน (Si) พลวง (Sb) โบรอน (B) โบรมีนในสถานะแก๊ส (Br2 )
ธาตุกัมมันตรงสี (Radioaction elemant) ธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83 จะสามารถปล่อยรังสีออกมาได้ เรียก ธาตุเหล่านี้ว่า “ธาตุกัมมันตรังสี” และเรียกรังสีที่แผ่ออกมาจาก ธาตุว่า “กัมมันตภาพรังสี” กัมมันตภาพรังสี มี 3 ประเภท รังสีแอลฟา (α ) มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก มีอ้านาจทะลุทะลวงต่้า เคลื่อนที่ผ่านอากาศได้ แต่ไม่สามารถ ทะลุผ่านแผ่นกระดาษบาง ๆ ได้ รังสีบีตา (β) มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ มีอ้านาจทะลุทะลวงสูง แต่ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียม หนา 2 มิลลิเมตรได้ รังสีแกมมา (γ) อนุภาคแกมมาไม่มีประจุและมวล มีอ้านาจทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีบีตามาก แต่ไม่ สามารถทะลุผ่านแผ่นตะกั่วหนา 10 เซนติเมตรได้
ธาตุกัมมันตรังสี
ตรวจสอบความเข้าใจ ข้อใดเรียงล้าดับอ้านาจทะลุทะลวงของรังสีจากสูงไปต่้าถูกต้อง 1. แอลฟา บีตา แกมมา 2. บีตา แอลฟา แกมมา 3. แกมมา บีตา แอลฟา 4. แอลฟา แกมมา บีตา
ประโยชน์ธาตุกัมมันตรังสี ตัวอย่างธาตุกัมมันตรังสีและการใช้ประโยชน์ C-14 คาร์บอน-14 ใช้ในการค านวณหาอายุ ของโบราณวัตถุหรืออายุของฟอสซิล I-131 ไอโอดีน-131 ใช้ในการติดตาม เพื่อศึกษาและรักษาโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ Co-60 โคบอลต์-60 ใช้ยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อจุลินทรีย์ Ra-226 เรเดียม-226 ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง U-238 ยูเรเนียม-238 ใช้ความร้อนจากปฏิกิริยา นิวเคลียร์เพื่อใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ด้านธรณีวิทยา ด้านการแพทย์ ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม
อันตรายธาตุกัมมันตรังสี 2. ระวังรังสี ป้ายเตือนอันตรายจากรังสี จะอยู่หน้าห้องเอกซเรย์โรงพยาบาล ซึ่งเป็นบริเวณที่มีรังสี ควรหลีกเลี่ยง 1. อาหารฉายรังสี เป็นกระบวนการถนอมอาหารชนิดหนึ่ง เพื่อเก็บรักษาอาหารได้นานขึ้น 3. อันตรายให้อยู่ห่าง ๆ สัญลักษณ์เตือนภัยจากรังสีให้อยู่ห่างจากแหล่งก าเนิดรังสี เพื่อช่วยลดการบาดเจ็บและเสียชีวิต โดยไม่จ าเป็น ที่เกิดจากการได้รับรังสีจากต้นก าเนิดรังสีขนาดใหญ่โดยอุบัติเหตุ
Thank you for attantion Goodluck for exam