The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทักษะพื้นฐานและการฝึกหัดการแสดงนาฏศิลป์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ห้องเรียนครูวรัชญา, 2021-12-14 02:21:25

ทักษะพื้นฐานและการฝึกหัดการแสดงนาฏศิลป์

ทักษะพื้นฐานและการฝึกหัดการแสดงนาฏศิลป์

Keywords: ทักษะพื้นฐานและการฝึกหัดการแสดงนาฏศิลป์

ทกั ษะพ้ืนฐานและการฝึกหดั
การแสดงนาฏศลิ ป์

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
• ใชน้ าฏยศพั ท์ หรือศัพท์ทางการละครในการแสดงได้

นาฏยศัพท์

ศพั ทเ์ ฉพาะท่ใี ชใ้ นเร่อื งทา่ ทางท่ีปฏบิ ัติ หรือกิรยิ าอาการต่างๆ ทีป่ ฏบิ ตั ิเกยี่ วกับนาฏศิลป์ เพื่อส่อื ความหมายให้
เกดิ ความเขา้ ใจตรงกนั หรือศพั ท์ทใ่ี ชใ้ นการฝกึ หัดนาฏศลิ ป์ไทย

นาฏยศพั ท์สำหรับการฝกึ หัดนาฏศิลป์ไทยมาตรฐาน

• ดัดมอื • จีบควำ่
• ดดั แขน • จีบส่งหลัง
• ตง้ั วง • การนั่งแบบละครพระ
• วงบน • ละครนาง
• วงกลาง • การยนื
• วงล่าง • ยกเทา้
• จบี • กา้ วเทา้
• จีบหงาย

การดดั มือ

• การฝกึ หัดเพอื่ ดดั น้วิ มือ และข้อมอื โดยการใช้มือข้างหน่งึ รวบนิว้ ชี้นิว้ กลาง
นว้ิ นาง และน้วิ กอ้ ยใหต้ ง้ั ขน้ึ แล้วหกั ปลายน้วิ ท้ัง ๔ มาทีล่ ำแขน หกั ข้อมือเขา้
หาลำแขน สว่ นนิว้ หวั แม่มอื จะยน่ื ไปข้างหน้า แลว้ หกั ข้อแรกของนว้ิ หัวแมม่ อื
เขา้ หาฝ่ามอื หากดัดมือข้างซา้ ย ใหน้ ั่งตง้ั เขา่ ซา้ ยปลาย เท้าซ้ายเชดิ ข้ึน ส่วน
เทา้ ขวาให้พับปลายเทา้ ขวาไว้ใตเ้ ขา่ ซา้ ยนั่งทรงตวั ยดื ข้ึน นา้ํ หนักตัวอยู่ทกี่ น้
ยนื่ แขนซา้ ยตงึ วางขอ้ ศอกบนเข่าซา้ ย แล้วใชน้ ้วิ หัวแมม่ ือและน้ิวทงั้ ๔
ด้านขวารวบน้ิวซ้ายหักขอ้ มอื ซา้ ยเขา้ หาลำตัว หน้าตรง แลว้ เรมิ่ นบั ตาม
จำนวนครง้ั ทีก่ ำหนด ทำเช่นนส้ี ลับมืออกี ข้างหน่งึ

การดัดแขน

• เปน็ การฝกึ เพ่ือดดั แขนใหง้ อนโคง้ สวยงาม ดูเป็นคนแขนออ่ น วธิ ีปฏิบตั ทิ ำได้โดยนง่ั ชันเข่าทัง้ ๒ ข้าง ให้สน้ เทา้ ชิด
กัน แบะปลายเทา้ ออก สอดประสานนิ้วมือเข้าหาลำตัวพลกิ กลบั ให้ฝา่ มอื ทง้ั ๒ หงายออกจากลำตวั แล้วกดลงไปที่
ปลายเท้า โดยน้ิวทงั้ ๒ ไม่หลุดจากกันหนีบเข่าทงั้ ๒ ขา้ ง เข้าหากัน เพอ่ื บีบขอ้ ศอกท้งั ๒ ใหช้ ดิ กัน ยดื ตวั ขน้ึ หน้า
ตรง นับตามจำนวนครง้ั ท่ีกำหนด

* (ทมี่ าของภาพ : คลงั ภาพ อจท.)

การตัง้ วง

(แบ่งออกได้เปน็ ๓ ระดบั )

ระดับวงบน ระดับวงกลาง ระดับวงล่าง
ปฏบิ ัตไิ ดโ้ ดยให้น้ิวทง้ั ๔ เรียงชดิ ตดิ กนั ปฏิบัตไิ ด้โดยใหน้ ว้ิ ท้งั ๔ เรียงชดิ ติดกนั ปฏิบัติไดโ้ ดยใหน้ ้ิวทง้ั ๔ เรียงชดิ ตดิ กัน
ส่วนนิ้วหวั แม่มือหกั เข้าหาฝา่ มอื ยกลำแขนขึ้น ส่วนนว้ิ หวั แมม่ ือหักเขา้ หาฝ่ามือ ยกลำแขน ส่วนนวิ้ หวั แม่มอื หกั เข้าหาฝา่ มอื ใหป้ ลาย
ให้เปน็ วงโคง้ ยกแขนใดแขนหนึ่งขึน้ แลว้ งอ ขึ้นใหเ้ ปน็ วงโค้ง ปลายน้ิวอย่รู ะดบั ไหล่ นิว้ อยูร่ ะดบั เอว หรอื ชายพก แตว่ งลา่ งของ
แขนใหไ้ ดส้ ่วนโค้ง ส่งลำแขนออกไปข้างลำตวั พระตอ้ งกนั ข้อศอกออกไปดา้ นขา้ งสะเอว
วงบนของพระจะอยู่ระดบั แง่ศีรษะ ส่วนวงบน สว่ นวงลา่ งของนางใหห้ นบี ข้อศอกเข้าหา
ของนางจะอย่รู ะดับหางคว้ิ วงพระจะกันวง ลำตัว ปลายน้ิวจะอยู่ระดับเอว
กวา้ งกว่าวงนางเลก็ น้อย

* (ที่มาของภาพ : คลังภาพ อจท.)

การจบี

(แบ่งออกเป็น ๒ ลกั ษณะ)

จีบหงาย

• ปฏบิ ตั ไิ ด้โดยให้นว้ิ หวั แมม่ อื หักเขา้ จรดขอ้ แรกของนว้ิ ชี้
จากนั้นกรีดนิว้ ทัง้ ๓ ให้ตงึ ออกเป็นรปู พัด หงายขอ้ มือข้นึ
แลว้ หักข้อมือเข้าหาลำแขนให้ปลายจีบชข้ี นึ้ ขา้ งบน

จีบคว่ำ

• ลักษณะการจีบจะปฏิบตั ิคลา้ ยกบั จีบหงาย เพียงแต่จีบควํา่
ให้คว่าํ ตวั จบี ลงลำแขนจะงอ หรอื ตงึ ขึ้นอยกู่ บั ท่ารำ หกั
ขอ้ มอื เขา้ หาลำแขน

การน่ัง

(แบ่งออกเปน็ ๒ ลกั ษณะ)

๑ การนง่ั แบบพระ

• ปฏิบัตไิ ดโ้ ดยการนงั่ พบั เพยี บข้างขวา นงั่ พบั เข่าซา้ ยให้ปลายเทา้ ซ้ายหงาย ซอ้ นใต้เขา่
ขวา ขาขวางอพับไวข้ ้างลำตัว หักขอ้ เทา้ น่งั ตวั ตรง อกผาย ไหล่ผึง่ วางฝ่ามือขวาไว้
บนหน้าตกั ขวา วางฝา่ มอื ซ้ายไว้บริเวณเขา่ ซา้ ย ตึงปลายนิว้ มอื

๒ การนง่ั แบบนาง

• ปฏบิ ตั ิไดโ้ ดยการนั่งพบั เพียบขา้ งขวา นั่งพบั เข่าซ้ายซอ่ นไวใ้ ตข้ าขวาท่งี อพบั ไวข้ า้ ง
ลำตัวดา้ นขวา หกั ข้อเทา้ ท้งั ๒ โดยใหป้ ลายเท้าซ้ายเหลอื่ มไปข้างหนา้ แล้วเรียงดว้ ย
ปลายเท้าขวา น่ังตัวตรง อกผาย ไหลผ่ ึ่ง วางฝา่ มอื ขวาบนหน้าขาขวา แลว้ วางฝา่ มอื
ซา้ ยงอแขนวางเรยี งออกมาดา้ นนอก เอียงศีรษะขวา

* (ทม่ี าของภาพ : คลังภาพ อจท.)

การยืน

(แบ่งออกเปน็ ๓ ลักษณะ)

๑ การยืนแบบพระ ๒ การยนื แบบนาง ๓ การยนื เหลือ่ มเท้า

ปฏบิ ตั ิไดโ้ ดยยนื ตวั ตรง ตงึ เอว ตงึ ไหล่ ปฏิบัตไิ ดโ้ ดยยนื ตัวตรง ตงึ เอว ตงึ ไหล่ ปฏิบัตไิ ด้โดยวางเทา้ ขวาเฉยี งออกไป
เท้าขวายืนรับน้ำหนกั เท้าซ้ายยนื ตงึ เขา่ เทา้ ขวายืนรบั น้ำหนัก เทา้ ซ้ายเปิดปลาย ทางดา้ นขวา แล้วให้สน้ เท้าวางไว้กลางเทา้
วางเทา้ ซ้ายเหลื่อมเทา้ ขวาเล็กนอ้ ย มือขวา เท้าออกเลก็ น้อย ให้ส้นเทา้ ซา้ ยวางชิดช่วง ซา้ ยซึง่ ยนื รับน้ำหนกั อยใู่ นลักษณะเฉียง
เท้าสะเอว มอื ซ้ายแบมอื วางฝ่ามือแตะท่ี กลางเทา้ ขวา ขาเหยยี ดตงึ มือขวาจีบแตะ ปลายเทา้ ซา้ ยไปด้านซา้ ย จากนน้ั เปิดปลาย
หน้าขา กดไหลแ่ ละเอยี งศรี ษะขวา ท่เี อว มอื ซ้ายเหยียดแขนตึงแบมือวางฝ่ามอื เทา้ ขวาขนึ้
แตะท่หี นา้ ขา กดไหล่ และเอียงศรี ษะซา้ ย

การประเท้า

เปน็ กริ ยิ าของเทา้ ทเี่ ช่อื มต่อจากการยนื เหลื่อมเท้า เชน่ หากยืนเหลื่อมเท้าขวาแลว้ จะประเท้าขวา ปฏิบตั ิไดโ้ ดยการยกจมกู
เท้าขวาข้นึ ย่อเข่าลง แลว้ ตบจมกู เท้าขวาลงในลกั ษณะที่ส้นเท้าขวายงั วางอยกู่ บั พนื้ พรอ้ มกบั ยกเท้าขวาขน้ึ จากนนั้ เชิดปลาย
เทา้ ขวา

หมายเหตุ จมกู เทา้ หมายถึง กอ้ นเนื้อบริเวณโคนนว้ิ (ปลายฝา่ เท้า) การจรดเท้าเท้าตอ้ งกระดกปลายน้ิวเทา้ ทุกครงั้

* (ที่มาของภาพ : คลงั ภาพ อจท.)

การยกเทา้

(แบง่ ออกเป็น ๒ ลักษณะ)

การยกเท้าแบบพระ การยกเทา้ แบบนาง

๑ การยกเท้าแบบนาง ๒

การยกเทา้ แบบพระ • ตวั นางจะไมแ่ บะเขา่ แตจ่ ะยกเทา้ ไปข้างหน้า ในลกั ษณะหนีบขา
ท่ียกมาหาขาที่ยนื รบั นา้ํ หนักอยู่
• ตวั พระจะยกเท้าโดยแบะเข่าออกไปดา้ นข้าง ให้ขอ้ เท้าอยู่
ระดับครึ่งนอ่ งของเทา้ ท่ียนื อยู่

* (ที่มาของภาพ : คลงั ภาพ อจท.)

การกา้ วเท้า

(แบ่งออกได้เป็น ๔ ลกั ษณะ)

การก้าวหน้าแบบพระ การกา้ วเทา้ แบบพระ
การก้าวหน้าแบบนาง
• ปฏิบัติไดโ้ ดยวางสน้ เทา้ ท่ีก้าวใหต้ รงกบั ปลายเทา้ หลังที่วางอยู่ในลกั ษณะเปดิ สน้ เท้า
การก้าวข้างแบบพระ แบะเข่าออก ยอ่ เขา่ ลง
การก้าวข้างแบบนาง
การกา้ วเท้าแบบนาง
* (ท่มี าของภาพ : คลงั ภาพ อจท.)
• ปฏิบตั ิได้โดยวางส้นเทา้ ทีก่ า้ วให้ตรงกับปลายเทา้ หลังท่วี างอยู่ในลักษณะเปดิ ส้นเทา้
แต่ให้หนบี เขา่ เข้าหากัน

การก้าวขา้ งแบบพระ

• ปฏิบัตไิ ด้โดยวางสน้ เทา้ ทก่ี ้าวใหต้ รงกับปลายเทา้ ทีย่ นื เตม็ เทา้ ในลักษณะเปน็ เส้นตรง
ดา้ นข้าง แลว้ ยอ่ เข่าทง้ั ๒ ลง ให้นํา้ หนกั อยู่กับขาท่ีกา้ ว

การก้าวขา้ งแบบนาง

• ปฏบิ ตั ไิ ดโ้ ดยวางสน้ เทา้ ท่ีก้าวให้ตรงกับปลายเทา้ ที่ยืนอยูแ่ ล้วพลกิ ข้อเท้าหักลำเข่าเข้า
หาน่องของขาทีก่ ้าวขา้ ง ยอ่ เขา่ ทัง้ ๒ ลง

การเคลือ่ นไหวทา่ ทางตามแบบนาฏศลิ ป์ไทย

ท่าทางทใี่ ชแ้ ทนคำพดู
๑ ทา่ เรียก : ใหย้ กมอื ข้ึนในลักษณะต้ังวงด้านขา้ ง แลว้ หักข้อมือลง ปาดมือ กรีดน้วิ เขา้ หาตัว

พระ นาง ยักษ์ ลิง
(จากภาพ) เปน็ การแสดงทา่ ทางทใี่ ช้แทนคำพดู คือ ทา่ เรียกของพระ นาง ยักษ์ ลงิ

๒ ท่าปฏิเสธ : ให้ใชม้ อื ใดมือหนึ่งต้งั ขึ้น แล้วหนั ฝา่ มอื ออก ส่ันข้อมอื เลก็ นอ้ ย

พระ นาง ยกั ษ์ ลิง
(จากภาพ) เป็นการแสดงทา่ ปฏเิ สธของพระ คอื ทา่ เรียกของพระ นาง ยกั ษ์ ลงิ

* (ทม่ี าของภาพ : คลังภาพ อจท.)

ทา่ ทางทแี่ สดงถงึ อารมณ์ความรู้สึกภายใน

๑ ท่ารกั ๒ ท่าโกรธ

ปฏบิ ัติโดยการประสานลำแขน ใชฝ้ ่ามอื ทงั้ ๒ ข้าง วางทาบบรเิ วณฐาน ปฏบิ ตั ิโดยการต้ังขอ้ มอื ขน้ึ ใช้นวิ้ ฟาดตวดั ข้ึนแลว้ เกบ็ นวิ้ ช้ีงอเข้าหาฝา่ มือ
ไหล่ หรือบรเิ วณอก หรอื ใชฝ้ า่ มือซา้ ยถูบรเิ วณคางใตใ้ บหซู ้าย ถไู ปถูมาแล้วกระชากลง

ยักษ์ ลงิ ลิง

พระ นาง ยกั ษ์ พระ
นาง

(จากภาพ) แสดงท่าทางส่อื ความหมายวา่ รักของ พระ นาง ยกั ษ์ ลงิ (จากภาพ) แสดงท่าทางส่ือความหมายว่าโกรธของ พระ นาง ยักษ์ ลิง

* (ทม่ี าของภาพ : คลังภาพ อจท.)

๓ ท่าขัดเคืองใจ ๔ ทา่ รอ้ งไห้

ปฏบิ ัตโิ ดยใชม้ อื ซ้ายวางทาบระดับอก มอื ขวาเท้าเอว ปฏบิ ตั โิ ดยใช้มือซา้ ยแตะท่หี นา้ ผาก มอื ขวาจบี ทีช่ ายพก ก้มหนา้ พรอ้ มกบั
สะดงุ้ ตวั เลก็ น้อยเหมือนกบั กำลังสะอึกสะอื้น จากนั้นใชน้ ้วิ ชแี้ ตะที่ตา
ทงั้ ๒ ข้าง

พระ นาง ยกั ษ์ ลิง ลิง

(จากภาพ) แสดงทา่ ทางสอ่ื ความหมายวา่ ขัดเคืองใจของ พระ นาง ยักษ์
ยักษ์ ลิง นาง พระ

(จากภาพ) แสดงท่าทางสื่อความหมายวา่ รอ้ งไหข้ อง พระ นาง ยกั ษ์
ลงิ

* (ทมี่ าของภาพ : คลังภาพ อจท.)

การตบี ทในการแสดงนาฏศลิ ป์

การตีบท

• การรำเพอื่ สือ่ ความหมายตามบทละคร บทโขน หรอื บทร้องตามแบบแผนนาฏยศัพท์ไทย
มาตรฐาน การรำตีบทจะใชล้ ลี าท่ารำโดยใช้ภาษาท่ารำให้สอดคล้องกับบทละคร หรอื บท
รอ้ งโดยอาศัยการศกึ ษาบทบาท อุปนิสัย และประวตั ิของตัวละคร กอ่ นที่จะฝึกซอ้ มการ
แสดง

• ผูท้ ่จี ะตีบทไดด้ ีจะตอ้ งมีความรู้ ความเข้าใจถงึ ประวัตขิ องตัวละครเสียก่อน เพื่อจะไดส้ อ่ื
อารมณค์ วามเปน็ ตัวตนของละครไดส้ อดคล้องตามเน้ือเร่ือง เช่น หากต้องการแสดง
อารมณ์ภายในด้วยลลี าท่ารำทีน่ ม่ิ นวลออ่ นช้อยนาฏศลิ ป์จะใชก้ ารสะบดั ปลายน้วิ มอื
เทา้ มุง่ บอกอารมณ์รนุ แรง เปน็ ตน้

การตบี ท มีความสำคัญตอ่ การแสดงละครเปน็ อยา่ งมาก

• นักแสดงบางคนสามารถสอ่ื ความหมายดว้ ยลลี า ท่ารำ และอารมณค์ วามรสู้ ึกไดด้ มี ากจนไมม่ ีใครเสมอเหมอื น กจ็ ะได้รบั การยกย่องวา่
เปน็ ผูม้ คี วามเป็นเลิศในบทบาทน้ันและจะนยิ มเรียกช่ือตัวละครตอ่ ทา้ ยช่ือของนาฏศิลป์ผูน้ ้นั เชน่
หม่อมครูต่วน (ศภุ ลกั ษณ์) ภัทรนาวิก เนือ่ งจากหม่อมครูตว่ น ภทั รนาวกิ แสดงบทบาทของนางศุภลกั ษณ์ได้ดมี าก
ตบี ทได้แตก จึงไดช้ ือ่ วา่ มีความเป็นเลิศในบทบาทนี้


Click to View FlipBook Version