The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดนตรีไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ห้องเรียนครูวรัชญา, 2021-12-17 01:44:47

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดนตรีไทย

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดนตรีไทย

Keywords: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดนตรีไทย

ความรูพ้ นื้ ฐานเกี่ยวกบั ดนตรไี ทย

นางสาววรัชญา ขมหวาน
ครูผู้สอน

ความรพู้ ้ืนฐานเกี่ยวกับดนตรไี ทย

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

๑. อา่ น เขยี น ร้องโน้ตไทยและโนต้ สากลได้
๒. เปรยี บเทียบเสียงร้องและเสียงของเคร่อื งดนตรีทม่ี าจากวัฒนธรรมทีต่ ่างกันได้
๓. อธิบายบทบาทความสมั พันธ์และอิทธพิ ลของดนตรีท่มี ตี อ่ สงั คมไทยได้
๔. ระบคุ วามหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรใี นวฒั นธรรมต่างกนั ได้

ความหมาย และประวตั ิความเป็นมาของดนตรีไทย

ความหมาย • เพลงไทยทีม่ รี ะดับเสียงซง่ึ ประกอบข้นึ เปน็ ทำนองมีลีลา จังหวะ ความดัง-เบา
ความเปน็ มา สลับสอดแทรกมีความไพเราะเสนาะหู

• กอ่ ให้เกิดความรู้สกึ รืน่ เรงิ สนุกสนาน ให้ความสุขความโศกเศรา้

• ดนตรีไทยเป็นดนตรที ่ศี ิลปินสรา้ งสรรค์ข้นึ เพอ่ื ใช้บรรเลงในกจิ กรรมตา่ งๆ
บรรเลงประกอบพิธีกรรมตามความเช่ือ บรรเลงเพ่ือความบันเทิงของผคู้ น

การแบ่งยคุ สมยั ทางดนตรขี องไทย

๑ สมยั กอ่ นสุโขทยั

ไดม้ กี ารเล่นดนตรกี ันในหลายลกั ษณะท่ัวทุกอาณาจักร เคร่อื งดนตรีท่ใี ช้ ได้แก่ เครอ่ื งดนตรี
ประเภทเครอ่ื งดีด เช่น พิณนำ้ เต้า พิณเพียะ เครอ่ื งดนตรีประเภทเครื่องตี เชน่ ฆ้องกลอง
เครอื่ งดนตรปี ระเภทเครื่องเป่า เช่น แคน ปี่

๒ สมยั สโุ ขทยั

มคี วามคลา้ ยคลึงกบั สมยั กอ่ นสุโขทัย เช่น กระจับป่ี พณิ นำ้ เต้า พิณเพยี ะ ซอสามสาย ฆ้อง กลอง
พัด ฯลฯ และได้มกี ารประสมวงดนตรใี นรูปแบบต่างๆข้ึน เชน่ วงขับไม้ ใชบ้ รรเลงในงานพระราช
พิธีสำคญั

๓ สมัยอยธุ ยา

มีการประดษิ ฐ์เคร่ืองดนตรปี ระเภทเครอ่ื งสายขึ้น ไดแ้ ก่ ซอด้วง ซออู้ จระเข้ และไดม้ ีการ
ปรบั ปรุงประสมวงดนตรีขนึ้ ใหม่ ได้แก่ วงมโหรีเคร่ืองหก สว่ นเพลง ไทยมกี ารประพันธข์ ้ึนในสมัย
อยธุ ยา เชน่ เพลงนางนาค สมิงทอง

๔ สมัยรตั นโกสนิ ทร์

ดนตรมี ีความเจรญิ ร่งุ เรอื งมาก มหี ลายวงดนตรีเกดิ ขึน้ และมกี ารนำเคร่อื งดนตรหี ลายชนดิ มา
ใช้ในวง

บทบาท และอทิ ธพิ ลของดนตรีต่อสงั คมไทย

บทบาทของดนตรตี ่อสังคมไทย

บทบาทของดนตรไี ทย : ดนตรีทม่ี แี บบแผน และมีรปู แบบเปน็ ดนตรที ่เี ปน็ ตวั แทนของดนตรีประจำชาติ

พระราชพิธขี องราชสำนกั
งานพิธีของราษฎร และในกจิ กรรมอื่นๆ
งานพธิ ขี องราษฎร ประเภทงานศพ
ดนตรีทีใ่ ชป้ ระกอบการแสดง
ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์
ดนตรีท่ใี ชป้ ระกอบการประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรมตา่ งๆ

บทบาทของดนตรพี น้ื บ้าน : ดนตรีพน้ื บ้านของไทยนน้ั มคี วามหลากหลายตามสภาพของสังคมและวัฒนธรรม

ภาคเหนือ ภาคกลาง
• วงสะล้อซงึ ขลยุ่ (วงสะล้อซอซงึ หรือวงสะลอ้ ซอปนิ )
วงปจ่ี ุม วงปา้ ดฆ้อง วงต่งึ โนง • วงปพ่ี าทย์พ้ืนบา้ น แตรวง วงกลองยาว
• ประเภทของเพลง และทำนองร้อง เช่น อ่อื ซอ ค่าว ฮำ่ • ประเภทของเพลง และทำนองร้อง เช่น เพลงกลอ่ มลูก
ซอจะปุ ซอเงี้ยว ซอดาด
• ประเภทการแข่งขันหรอื บรรเลงท่ัวไป เช่น วงกลอง เพลงฉ่อย เพลงอีแซว เพลงรอ่ ยพรรษา เพลงรำภาขา้ วสาร
สะบัดชัย เพลงสงฟาง เพลงรำโทน

อีสาน ภาคใต้
• วงดนตรีโนรา วงดนตรหี นังตะลุง วงกาหลอ วงดนตรี
• วงพณิ แคนโหวด วงกนั ตรึม วงหมอลำ วงโปงลาง วง ประกอบการแสดงมะโยง่ วงดนตรซี ีละ วงดนตรรี องเงง็
ดนตรีตมุ้ โมง วงดนตรใี นพิธตี อื รี วงดนตรใี นพธิ กี รรมลมิ นต์
• ประเภทของเพลง และทำนองร้อง เชน่ เพลงบอก
• ประเภทของเพลงและทำนองร้อง เช่น เพลงโคราช เพลงเรือ เพลงนา เพลงคำตัก
ลำเต้ย ลำกลอน ลำพื้น เจรียง

อทิ ธพิ ลของดนตรตี อ่ สังคมไทย

• ดนตรีเปน็ เรอื่ งของเสยี งทีม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั วถิ ีชวี ิตของมนษุ ย์ เสียงดนตรชี ่วยสรา้ งเสรมิ จิตใจของมนษุ ย์ จรรโลงใจให้
มคี วามสขุ อิ่มเอิบ คุณค่าของดนตรสี นองตอบต่อกิจกรรมในรปู แบบต่างๆ เช่น งานพระราชพิธี งานพิธกี รรมของ
ประชาชน งานร่นื เรงิ

• สือ่ กลางท่ีดที ่สี ดุ ของกิจกรรมดังทกี่ ล่าวน้อี ยทู่ ค่ี วามร้สู ึกในกิจกรรมทีจ่ ดั ขนึ้ น้นั เป็นสำคัญ

เพ่ือใหเ้ ข้าใจอิทธพิ ลของดนตรี จึงควรเขา้ ใจความรพู้ ้ืนฐานของดนตรโี ดย
ภาพรวมและความรทู้ ่เี กีย่ วกับดนตรไี ทยตามหวั ข้อ

ธรรมชาติและเสียงของดนตรีไทย ความเช่อื ของคนไทยทนี่ ำมา
สู่อิทธิพลของดนตรี

องค์ประกอบของดนตรไี ทย จังหวะ

เสียงดนตรี การเคล่อื นไหวทสี่ ม่ำเสมออาจกำหนดไว้เป็นความ
ชา้ -เร็วต่างกัน เชน่ เพลงจังหวะช้า เพลงจงั หวะเรว็
เสียงทม่ี นุษยป์ ระดษิ ฐ์ขึน้ มาโดยนำเสยี งต่างๆ
มาจัดระบบใหไ้ ด้สัดส่วน มคี วามกลมกลืนกนั การประสานเสียง

ทำนอง เสยี งของเครอื่ งดนตรี และเสยี งรอ้ งเพลงของมนษุ ย์ท่ีมี
ระดับเสียงตา่ งกนั เปล่งเสียงออกมา พรอ้ มกนั เสียงที่
เสียงตำ่ เสยี งสงู เสียงสน้ั เสยี งยาว เสยี งทุ้ม เปลง่ ออกมาตอ้ งผสมผสานกลมกลนื กัน
เสียงแหลมของดนตรหี รือบทเพลง ทำนองของ
ดนตรขี องบทเพลงแต่ละเพลงนัน้ มลี ักษณะ
แตกตา่ งกันออกไป

ระบบเสยี ง และทำนองของดนตรไี ทย

ระบบเสยี งของดนตรไี ทย

• มที ง้ั หมด ๗ เสียง เชน่ เดียวกบั ดนตรีสากล แตต่ ่างกนั ตรงท่รี ะยะความห่างของชว่ งเสียงในแต่ละระดับของ
ดนตรไี ทยจะมีความหา่ งเท่ากัน ๑ เสยี งเตม็ ทกุ เสยี ง ไม่มชี ว่ งครึง่ เสยี งเหมอื นดนตรีสากล ระดบั เสยี งของดนตรี
ไทยจะใช้ฆอ้ งวงใหญเ่ ปน็ เครื่องกำหนดระดบั เสยี ง ซง่ึ ศพั ท์สงั คีต เรียกว่า “ทาง”

ตารางเปรียบเทยี บระดบั เสยี งของดนตรไี ทยและดนตรีสากล

ระดบั เสยี งดนตรไี ทย ระดบั เสียงสากล ลูกฆอ้ งวงใหญ่ วงท่ใี ชบ้ รรเลง

• ทางเพียงออล่าง • ฟา • ลกู ที่ ๑๐ • ปี่พาทยไ์ ม้นวม
หรือทางในลด • ปี่พาทยด์ ึกดำบรรพ์

ลูกท่ี ๑๐

ระดบั เสยี งดนตรีไทย ระดับเสยี งสากล ลูกฆ้องวงใหญ่ วงทีใ่ ช้บรรเลง

• ทางใน • ซอล • ลูกท่ี ๑๑ • ปี่พาทย์ไมแ้ ขง็ ใชป้ ใี่ น

ลกู ท่ี ๑๑

ระดับเสยี งดนตรไี ทย ระดับเสียงสากล ลกู ฆ้องวงใหญ่ วงทใี่ ชบ้ รรเลง

• ทางกลาง • ลา • ลูกที่ ๑๒ • ปีพ่ าทย์ไม้แขง็ ใชป้ ่ี
กลาง

ลูกท่ี ๑๒

ระดบั เสยี งดนตรไี ทย ระดับเสียงสากล ลกู ฆ้องวงใหญ่ วงทใ่ี ช้บรรเลง

• ทางเพียงออบนหรือ • ซีแฟลต • ลกู ที่ ๑๓ • เคร่ืองสายมโหรี
ทางนอกต่ำ ใชข้ ลุ่ยเพยี งออ

ลูกท่ี ๑๓

ระดับเสยี งดนตรไี ทย ระดับเสียงสากล ลูกฆอ้ งวงใหญ่ วงท่ใี ช้บรรเลง

• ทางกรวด หรอื • โด • ลกู ท่ี ๑๔ • ปพี่ าทย์เสภา
ทางนอก ใชป้ นี่ อก

ลกู ท่ี ๑๔

ระดับเสยี งดนตรไี ทย ระดบั เสียงสากล ลูกฆ้องวงใหญ่ วงที่ใช้บรรเลง

• ทางกลางแหบ • เร • ลูกท่ี ๑๕ • ปพ่ี าทยใ์ ช้ปี่กลาง
ทางแหบ

ลกู ท่ี ๑๕

ระดบั เสยี งดนตรไี ทย ระดับเสยี งสากล ลูกฆอ้ งวงใหญ่ วงทใ่ี ชบ้ รรเลง

• ทางกลางแหบ • มี • ลูกที่ ๑๖ • เครื่องสายปี่ชวา

ลกู ท่ี ๑๖

ทำนองของดนตรไี ทย

• เสยี งลักษณะต่างๆ สงู บา้ ง ตำ่ บ้าง ส้นั บ้าง ยาวบา้ ง ทผ่ี ูป้ ระพนั ธน์ น้ั ได้นำมาเขียนเร่ืองใหต้ ่อเนอ่ื ง
ผสมผสานกนั ไดอ้ ย่างกลมกลนื ทำนองของดนตรไี ทย แบ่งได้เป็น ๒ ประเภท

ทำนองร้อง

หรอื ทางรอ้ งท่ปี ระพนั ธข์ ้ึน สำหรบั ใหผ้ ้ขู บั รอ้ งรอ้ งส่งใหด้ นตรรี บั ประกอบดว้ ยทำนองท่ีผ้ปู ระพันธ์
ไดป้ ระพนั ธข์ ้นึ และเน้ือรอ้ งผขู้ ับร้องจะต้องปรงุ แตง่ ทำนองหลกั ใหเ้ หมาะสมกบั ระดับเสียงและความหมาย
ของเน้ือร้อง

ทำนองบรรเลง

หรอื ทางเครื่อง ทำนองที่ผูป้ ระพันธไ์ ดป้ ระพันธข์ ้นึ สำหรบั ให้เครือ่ งดนตรตี า่ งๆ บรรเลงซ่ึงผู้บรรเลงสามารถ
พลกิ แพลงทำนองหลักจากลกู ฆอ้ งเป็นทำนองเต็มให้เหมาะสมกบั เครื่องดนตรีแต่ละชนิดได้ แตต่ อ้ งเปน็ ไปตาม
แบบแผน

ลักษณะของบทเพลงไทย

วรรค ส่วนหนงึ่ ของทำนองเพลงท่กี ำหนดโดยความยาวของจังหวะหนา้ ทบั ทำนองเพลง ๑ วรรค มีความยาวเทา่ กับ
๑ จังหวะหนา้ ทับ

ท่อน ทำนองเพลงทมี่ ีความยาวต้ังแต่ ๒ วรรคขน้ึ ไปทน่ี ำมาเรยี บเรียงตดิ ตอ่ กันเปน็ สว่ นหนง่ึ ของเพลง

ความหมายเดียวกบั “ทอ่ น” แต่ใชเ้ รยี กทำนองเพลงเชิดนอกทใ่ี ช้ปี่นอกบรรเลงประกอบการแสดงหนังใหญ่

จบั โดยการแสดงแต่ละครั้งคนเชิดจะเชดิ หนงั จบั ออกมา ๓ คู่ ในแตล่ ะคู่ ผบู้ รรเลงป่นี อกจะตอ้ งบรรเลงเพลงเชิด

นอก ๑ จบั ดงั น้นั ในการบรรเลง เพลงเชิดนอกที่ถูกตอ้ ง จงึ ต้องบรรเลงใหค้ รบทง้ั ๓ จบั

ตัว ความหมายเดียวกบั “ทอ่ น” และ “จบั ”ต่างกันเพยี ง “ตวั ” ใชส้ ำหรับเรียกสัดสว่ นของเพลงบางประเภท ได้แก่
เพลงตระ และเพลงเชิดตา่ งๆ ยกเว้นเพลงเชิดนอกทเี่ รียกเปน็ “จบั ” อกี ทัง้ เพลงทน่ี บั เปน็ ตัวจะมลี กั ษณะพิเศษ
คอื ทำนองตอนทา้ ยของทกุ ตวั นน้ั จะลงทา้ ยเหมือนกนั

เพลง ทำนองท่ีดุริยกวไี ดป้ ระพันธข์ ึ้นจากจนิ ตนาการของตน หรือแรงบนั ดาลใจ โดยจะมจี ังหวะชา้ หรือเรว็ หรือยาว
ไม่เทา่ กัน แตแ่ บบแผนทีถ่ ูกตอ้ งของเพลงไทยโบราณ คือ ทอ่ นหนึ่งควรมคี วามยาวไมน่ ้อยกว่า ๒ จังหวะหน้าทับ

เพลงไทย เพลงท่ีประพนั ธ์ขน้ึ สำหรบั ดนตรีบรรเลงรว่ มกบั การขบั ร้อง

สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท

๑ เพลงขบั ร้อง

เพลงเถา เพลงๆ เดียวท่ีบรรเลง หรอื ขับร้องตดิ ตอ่ กนั โดยมอี ตั ราจงั หวะลดหลัน่ กนั ตง้ั แตอ่ ัตรา
จงั หวะ ๓ ช้ัน (ชา้ ) ๒ ช้ัน (ปานกลาง) และชั้นเดยี ว (เร็ว) เช่น เพลงราตรปี ระดบั ดาวเถา

เพลงตับ เพลงหลายๆ เพลงท่ีนำมาบรรเลงหรือขับร้องต่อเนือ่ งกัน แบ่งย่อยออกได้ เป็น ๒ ประเภท
คอื ตบั เพลง เป็นเพลงทน่ี ำมาบรรเลง หรอื ขับร้องตอ่ เน่ือง กนั และตับเรื่อง คือ เพลงที่
นำมาบรรเลง หรือขบั ร้องต่อเน่อื งกนั โดยมบี ทร้องเป็นเรือ่ งราวเดียวกนั

เพลงเกร็ด เพลงที่นำมาบรรเลง หรือขบั รอ้ งอิสระ ไม่จำเปน็ ต้องบรรเลง หรอื ขบั ร้องรว่ มกบั เพลงอน่ื ๆ
ส่วนใหญ่จะเปน็ เพลงที่มบี ทรอ้ งบรรยายเก่ยี วข้องกบั ธรรมชาติการชมความงาม การอวยพร
หรือเป็นคตสิ อนใจ

๒ เพลงบรรเลง เพลงทปี่ ระพนั ธข์ ึ้นเฉพาะสำหรับเครอื่ งดนตรบี รรเลง

เพลงโหมโรง ใช้บรรเลงเป็นเพลงแรกกอ่ นการบรรเลงหรือการแสดงจะเริ่ม

เพลงหน้าพาทย์ เปน็ เพลงช้นั สูงทใี่ ช้บรรเลงในพระราชพธิ ี พิธี หรืองานที่ต้องการแสดงถงึ ความศักด์ิสทิ ธ์ิ
หรือบรรเลงประกอบกริ ิยาอาการต่างๆ ของผแู้ สดงโขน หรือละคร

เพลงเร่ือง เพลงทีน่ ำมาบรรเลงตดิ ตอ่ กันโดยใชบ้ รรเลงประกอบพิธตี า่ งๆ ไมม่ ีการขับร้องมาเกี่ยวข้อง

เพลงหางเครือ่ ง เพลงทบ่ี รรเลงตอ่ ท้ายเพลงใหญอ่ าจมสี ำเนียงเดียวกับเพลงใหญ่ ซ่งึ เพลงสว่ นใหญม่ ีทำนอง
สั้นๆ และมีจงั หวะสนุกสนาน

เพลงออกภาษา เพลงที่มีสำเนียงภาษาตา่ งๆ ท่ีบรรเลงติดต่อกันหลงั จากบรรเลงเพลงแม่จบ โดยมีลักษณะคลา้ ย
เพลงหางเครอื่ งตา่ งกันตรงท่ีมไิ ดบ้ รรเลงเพยี งสำเนยี งใดสำเนยี งหน่ึง

เพลงลูกหมด เพลงทมี่ ีทำนองส้ัน จังหวะเร็ว แสดงนัยว่าเพลงทบี่ รรเลงน้นั จะจบลงแลว้

เคร่ืองหมาย และสัญลักษณท์ างดนตรี

บรรทัดทใี่ ช้ในการบนั ทึกโนต้

• การบันทึกโน้ตเพลงไทยปกตโิ ดยท่วั ไปบรรทดั หนึง่ จะแบง่ ออกเป็น ๘ ห้องเทา่ ๆ กัน โดยในแตล่ ะหอ้ งประกอบดว้ ย
ตัวอักษรท่ีใชแ้ ทนเสยี งตวั โน้ต ๔ ตวั

สญั ลักษณ์แทนเสียงตวั โนต้

• โน้ตเพลงไทยไมน่ ยิ มบนั ทกึ ลงในบรรทดั ๕ เสน้ เหมือนโน้ตสากล แตม่ รี ปู แบบทีไ่ ดก้ ำหนดไวอ้ ยา่ งเหมาะสมกับดนตรี
ไทยแลว้ ทั้งทใ่ี ชต้ ัวเลขแทนเสียงและใชต้ วั อกั ษรแทนเสียง โดยในปจั จบุ นั นยิ มใช้ตัวอกั ษรแทนเสียง ระดบั เสียงของ
ดนตรีไทยมีท้ังหมด ๗ เสียง เช่นเดียวกับโน้ตสากลซ่งึ แต่ละช่วงเสียงจะหา่ งกัน ๑ เสียงเตม็ เทา่ กันทุกเสยี ง ไม่มีระยะ
คร่งึ เสยี งเหมอื นโนต้ สากล

เครอ่ื งหมายท่ีแสดงถึงการปฏิบัติซำ้
• เสน้ หนา “ ” ใช้เขียนหน้าเสน้ แบง่ หอ้ งและหลงั ห้องท่ีตอ้ งการใหป้ ฏบิ ตั ิทำนองนั้นซ้ำปกตจิ ะเขียนไวต้ น้

ทอ่ นและทา้ ยทอ่ นเพ่อื ให้บรรเลงกลบั ตน้ อกี ครง้ั

เครอ่ื งหมายแสดงการแบง่ พวกปฏบิ ตั ิ

• โดยทำนองเพลงไทยบางตอนน้นั อาจมกี ารบรรเลงทีเ่ รียกวา่ “ลกู ล้อหรือลกู ขดั ” มกี ารแบง่ ผูบ้ รรเลงเปน็ ๒ พวก
จึงใชเ้ ครื่องหมาย“ ” เขยี นบนทำนองของแต่ละพวก เพื่อใหป้ ฏบิ ัติไดถ้ กู ตอ้ ง

สัญลักษณ์แทนความยาวของจังหวะ

• เสียงของตวั โนต้ นนั้ มีท้งั เสยี งสน้ั และเสยี งยาว ซง่ึ ในการบันทกึ โน้ตเสยี งยาวจะใช้สัญลักษณ์ “ - ” แทนความยาว
ของจงั หวะ โดยหนึง่ ขีดมีคา่ เทา่ กบั ความยาวของโน้ต ๑ ตวั หากยาวมากกเ็ พิม่ จำนวนสัญลกั ษณต์ ามขนาดความ
ยาวของตวั โนต้ แตล่ ะตัววา่ ผ้ปู ระพนั ธ์ตอ้ งการใหม้ คี วามยาวมากน้อยเพยี งใด

ตวั อยา่ ง

เคร่อื งหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรีที่กลา่ วขา้ งตน้

ซ ลซมซร มซ ซลซม ซร มซซล ซมร ด - ร ซ ลซมร ด- ร

โน้ตดนตรไี ทย
ระดับเสยี งของโนต้ ดนตรไี ทย

ระดับเสยี งเพลงไทยประกอบดว้ ยเสียง ๗ เสยี ง เดมิ ใช้ตวั เลขแทนเสยี ง ปัจจบุ นั ใชต้ วั อกั ษรแทนเสยี งแต่ละเสยี ง

ลำดับเสียง

๗ท
๖ล
๕ซ
๔ฟ
๓ม
๒ร
๑ด

โด เร มี ฟา ซอล ลา ที

รูปแบบการบันทึกโน้ตเพลงไทย

โนต้ เพลงไทยทใ่ี ชป้ ัจจบุ ันมีใช้ทงั้ ทเี่ ปน็ ตัวอักษรและเปน็ ตัวเลข เพอ่ื เปน็ สัญลักษณแ์ ทนเสียงดนตรี หรือเสียงรอ้ ง ดังน้นั ในการ
บนั ทึกโนต้ ๘ หอ้ ง ๑ บรรทัด จึงมอี ตั ราเทา่ กับ ๑ จังหวะของหนา้ ทบั ปรบไก่ ๒ ช้นั หรอื ๑ จงั หวะของหน้าทบั สองไม้ ๓ ชน้ั ดงั นี้

ตำแหนง่ การบรรจตุ ัวโน้ตเพลงใน ๑ ห้องปกติ กำหนดตัวโนต้ ๔ ตวั ดงั น้ี
--- - - -- --- ---- -- --- - -- --- - -- - - --

ในแตล่ ะหอ้ งเพลง เมือ่ กำกับจังหวะฉง่ิ มีลกั ษณะดงั น้ี

๓ ชัน้

- - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ - - - - - - - ฉงิ่ - - - - - - - ฉับ

๒ ชัน้

- - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉ่งิ - - - ฉบั - - - ฉ่ิง - - - ฉับ - - - ฉงิ่ - - - ฉับ

ช้นั เดยี ว

- ฉิ่ง - ฉับ - ฉ่ิง - ฉบั - ฉง่ิ - ฉบั - ฉง่ิ - ฉบั - ฉิ่ง - ฉับ - ฉ่ิง - ฉบั - ฉงิ่ - ฉบั - ฉิ่ง - ฉบั

การบนั ทกึ ตัวโนต้ เตมิ ทุกตำแหน่ง ทุกห้องทง้ั ๒ ห้อง ๑ บรรทดั มีลักษณะ ดังนี้
ด ร มฟซ ล ทด ร มฟ ซลทด ร มฟซ ลทด รมฟซล ทด ร มพ

การบันทกึ ตวั โน้ต ๒ ตัวโน้ตใน ๑ หอ้ งเพลง มีลักษณะ ดงั นี้
- ด - ร - ม- ฟ - ซ- ล- ท- ด- ด - ท- ล - ซ- ฟ- ม- ร - ด

การบันทึกตัวโนต้ ๑ ตัวโนต้ ใน ๑ หอ้ งเพลง มลี กั ษณะ ดังนี้
- - - ด- - - ร - - - ม- - - ฟ- - - ซ- - - ล- - - ท- - - ด

การบันทึกตวั โนต้ ๒ ห้องเพลง บรรจุโน้ตทจ่ี งั หวะหนกั ๑ ตัวโน้ต ดงั นี้
- - - -- - - ด- -- - - - - ล- - - - - - -ซ- -- - - - - ม

การบนั ทกึ ตวั โนต้ ๓ ตวั ใน ๑ หอ้ งเพลง มีลกั ษณะ ดังนี้
- มรด- ร ดล - ดล ซ- ลซม- มซล- ซ - ด - ลด ร- ดรม

การบนั ทกึ ตัวโน้ต ผสมแบบต่างๆ เข้าด้วยกนั มลี ักษณะ ดังน้ี

ตวั อยา่ งท่ี ๑

- - - ดร มซร - - - - - ม- ร- - - ดรมซรมรดร- ม- ซ

ตัวอยา่ งท่ี ๒

-ซ-ล- ด- ร - ม-ม- รรร- - - - - - -รร รร รร- ร-

ตวั อยา่ งการอา่ น เขยี น และร้องตามโนต้ บทเพลงไทย

โน้ตทว่ั ไปทีม่ ีความยาวของจงั หวะเท่าๆ กนั

ตัวอย่าง อ่านโน้ตต่อไปน้ีพรอ้ มเคาะจงั หวะตรงตวั ท่ี ๒ และ ๔ ของแตล่ ะห้อง

ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ ล ล ล ล ท ท ท ท ด°ด°ด°ด°

= จงั หวะยก = จังหวะเคาะ

โน้ตทมี่ เี สียงยาวเท่ากบั โน้ต ๒ ตัว

ตวั อย่าง อา่ นโน้ตต่อไปน้พี รอ้ มเคาะจังหวะตรงตัวท่ี ๒ และ ๔ ของแตล่ ะห้อง โนต้ ตวั ใดทมี่ ี เคร่ืองหมาย “-” ตาม ให้
อ่านเสยี งยาวครบตามจงั หวะ

- ด - ด - ร - ร - ม - ม - ฟ - ฟ - ซ - ซ - ล - ล - ท - ท - ด° - ด°

= จังหวะยก = จงั หวะเคาะ

โนต้ ทม่ี เี สียงยาวและสน้ั ปนกัน

ตวั อยา่ ง อ่านโนต้ ต่อไปนี้พร้อมเคาะจังหวะตรงตัวที่ ๒ และ ๔ ของแตล่ ะหอ้ ง

ด รดล- ซ- ม - - ซลดซ - - ดร ดล- ซ- ม- - รด ร ด- -

- ซ- ม- ร - ม ซมรดร ม- - - ซ - ม- ร - ม- - ร ด ร ด- -

ฟฟฟฟ- ม - ร - - ล ดลซ - - ฟฟ ฟฟ- ม - ร - - ซม ร ด - -

= จงั หวะยก = จงั หวะเคาะ

อัตราจงั หวะพนื้ ฐานของเพลงไทยเดิมที่นยิ มบรรเลงกนั ทั่วไป

บัญญัตไิ วเ้ ปน็ ศพั ท์สังคีต ๓ คำ § ๓ ชนั้
§ ๒ ชนั้
§ ชนั้ เดียว

๓ ชน้ั

• อตั ราจังหวะที่มีความยาวมากทสี่ ุด หรือชา้ ทส่ี ุด มคี วามยาวกวา่ อตั ราจังหวะ ๒ ชั้น ๑ เทา่ และยาวกว่าอัตรา
จังหวะชนั้ เดียว ๔ เท่า ถ้าเคาะตามจังหวะฉ่ิงจะเคาะตรงโน้ตตวั ที่ ๔ ของหอ้ งคู่ คอื ห้องที่ ๒ ๔ ๖ ๘
ฉิ่ง ฉับ ฉง่ิ ฉับ

ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ ล ล ล ล ท ท ท ท ด°ด°ด°ด°

๒ ช้นั

• อัตราจังหวะทม่ี ีความยาวปานกลาง จะสั้นกวา่ อตั ราจังหวะ ๓ ช้ัน ๑ เท่า ยาวกวา่ อตั ราจังหวะชัน้ เดยี ว ๑ เท่า ดังนน้ั
ถ้าเคาะตามจังหวะฉ่งิ ใหเ้ คาะตรงโน้ตตวั ที่ ๔ ของแตล่ ะห้อง
ฉงิ่ ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉง่ิ ฉับ ฉ่งิ ฉบั

ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ ล ล ล ล ท ท ท ท ด°ด°ด°ด°

ชน้ั เดยี ว

• อัตราจังหวะทส่ี ้ันทสี่ ดุ มีความยาวเท่ากับครงึ่ หนึง่ ของอตั ราจงั หวะ ๒ ชน้ั ถา้ เคาะตามจงั หวะฉ่งิ จะเทา่ กบั จังหวะ
ยอ่ ยของโน้ตท่ีได้ฝึกปฏบิ ตั ขิ ้างต้น คือ จงั หวะฉง่ิ จะลงที่โน้ตตัวท่ี ๒ และจังหวะฉบั จะลงทีโ่ นต้ ตวั ที่ ๔
ฉิง่ ฉับ ฉ่ิง ฉับ ฉ่ิง ฉบั ฉง่ิ ฉบั ฉิง่ ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉงิ่ ฉบั ฉ่ิง ฉับ

ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ ล ล ล ล ท ท ท ท ด°ด°ด°ด°

ตัวอย่างบทเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น

: สำหรบั ฝกึ อา่ นโนต้ และเคาะจังหวะบทเพลง

เพลง สรอ้ ยเพลง

เพลงทำนองเกา่ ไมท่ ราบนามผูแ้ ตง่
- - - ท- ดดด - ท- รดดดด- ซฟร- ด - ท - - ร ดทด- ร

- ฟ- ฟ- - - ร - - - ดทร ดท- - ลซ- ล - ซ - ซ- ซร ซ- ด

- - - ท- ด ดด - ท- ร ดด ดด- ลซ ม- ร - ด มร ด ซล ทดร

- - - - - - - - มรซ ด- ร - ม- ซ- ล- ซ - ม - - - ร- - - ด


Click to View FlipBook Version