The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สงครามโลก ครั้งที่ 1
ม.6/2 เลขที่ 19, 21, 27, 30

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jRRw, 2023-09-25 03:20:47

World War I

สงครามโลก ครั้งที่ 1
ม.6/2 เลขที่ 19, 21, 27, 30

สงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ ครั้ง รั้ ที่ ที่ 1


ประเทศที่เ ที่ ข้าร่วมรบ การสงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1


เรีย รี กได้ว่า เป็นครั้ง รั้ แรกของความขัด ขั แย้ง “สงครามครั้ง รั้ ยิ่ง ยิ่ ใหญ่” (Great War) ระดับ ดั โลก หรือ รื เป็นที่รู้ ที่ รู้ จัก จั กัน กั ว่า สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 สงครามเกิด กิ ขึ้น ขึ้ ตั้ง ตั้ แต่ปี 1914(พ.ศ. 2457) ถึง ถึปี 1918(พ.ศ. 2461) กิน กิ ระยะเวลา 4ปี 5เดือ ดื น คำ พูดของวูดโรว์ วิล วิ สัน สั (Woodrow Wilson) ประธานาธิบ ธิ ดีค ดี นที่ 28 ของสหรัฐ รั อเมริก ริ า ดำ รงตำ แหน่งตลอดช่วงที่เ ที่ กิด กิ สงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1 เจ้าของรางวัล วั โนเบลสาขาสัน สั ติภาพ ค.ศ. 1919 กล่าวไว้คือ คื “สงครามเพื่อ พื่ ยุติสงครามทั้ง ทั้ มวล” (War to End All Wars)


เป็นความขัด ขั เเย้งระหว่างมหาอำ นาจ 2 ฝ่าย 1) ฝ่ายมหาอำ นาจกลาง หรือ รื ไตรพัน พั ธมิตร(Triple Alliance) ประกอบด้วย ออสเตรีย รี-ฮัง ฮั การี จัก จั รวรรดิ เยอรมนี จัก จั รวรรดิอ ดิ อตโตมัน มั ราชอาณาจัก จั รบัล บั แกเรีย รี 2) ฝ่ายมหาอำ นาจไตรภาคี หรือ รื พัน พั ธมิตร (Triple Entente) ประกอบด้วย British(อัง อั กฤษ) ราชอาณาจัก จั รอิต อิ าลี สหรัฐ รั อเมริก ริ า ฝรั่ง รั่ เศษ จัก จั รวรรดิ รัส รั เซีย และพัน พั ธมิตร สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 ในสงครามโลกครั้ง รั้ ที่1 ที่ มีท มี หารเข้าร่วมรบในสมรภูมิ ถึง ถึ 65ล้านคน มีท มี หารเสีย สี ชีวิต วิ ราว 9ล้านคนโดย ทหารเยอรมัน มั เสีย สี ชีวิต วิ 1,950,000 คน รัส รั เซีย 1,700,000 คน และทหารฝรั่ง รั่ เศส 1,900,000 คน ส่วนพลเรือ รื นนั้น นั้ เสีย สี ชีวิต วิ หลาย 10ล้านคน


สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 การรบเริ่ม ริ่ ต้น ต้ ขึ้น ขึ้ หลัง ลั การลอบสัง สั หารมกุฎราชกุมาร แห่งออสเตรีย รี-ฮัง ฮั การี และสิ้น สิ้ สุดลงด้วยความพ่ายแพ้ ของมหาอำ นาจกลาง หรือ รื Triple Alliance มีก มี ารทำ สนธิสั ธิ ญ สั ญาแวร์ซายส์ บัง บั คับ คั ให้เยอรมนี และพัน พั ธมิตรเสีย สี ค่าปฏิก ฏิ รรมสงคราม ชดใช้จำ นวนมหาศาล และเสีย สี ดิน ดิ แดนที่เ ที่ ป็นอาณานิคมให้แก่ฝ่าย Triple Entente


สาเหตุของ สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 1. ลัท ลั ธิช ธิ าตินิยม เป็นความรู้สึก สึ รัก รั และภูมิใจในชาติของตนอย่างรุนแรง 2. ลัท ลั ธิจั ธิ ก จั รวรรดินิ ดิ นิ ยม ชาติมหาอำ นาจในยุโรปได้ขยายอำ นาจและ อิท อิ ธิพ ธิ ลออกไปสู่ดิน ดิ แดนนอกทวีปวี 3. การแบ่งกลุ่มพัน พั ธมิตรยุโรป ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่ส ที่ งครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 เกิด กิ ขึ้น ขึ้ ซึ่งขณะนั้น นั้ มหาอำ นาจยุโรปถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย 4. ความขัด ขั แย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธ ทั้ง ทั้ บางบกและทางทะเล การเจริญ ริ เติบโตของลัท ลั ธิช ธิ าตินิยมและลัท ลั ธิจั ธิ ก จั รวรรดินิ ดิ นิ ยมนำ ไปสู่ การใช้กองกำ ลัง ลั ทหารและสะสมอาวุธทางทหารที่เ ที่ พิ่ม พิ่ ขึ้น ขึ้


สาเหตุที่ สาเหตุที่ ที่ที่ 1 1. ลัท ลั ธิช ธิ าตินิยม (Nationalism) การเกิด กิ ลัท ลั ธิช ธิ าตินิยมจากคริส ริ ต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้น ต้ มา ทำ ให้เกิด กิ ระบบ รวมรัฐ รั ชาติ สร้างระบบรวมอำ นาจเข้าสู่ส่วนกลาง รัฐ รั ชาติในประเทศยุโรปต่าง แสวงหาความเป็นมหาอำ นาจ ทั้ง ทั้ ทางทหารและเศรษฐกิจ กิ รัฐ รั ชาติหมายถึง ถึ รัฐ รั หรือ รื ประเทศที่ป ที่ ระชาชนมีค มี วามผูกพัน พั กัน กั มีค มี วามสามัค มั คี ความรัก รั ชาติที่รุ ที่ รุ นแรงจนเป็นลัท ลั ธิช ธิ าตินิยม ทำ ให้เชื่อ ชื่ ว่าชาติตน เหนือกว่าชาติอื่น อื่ ผลัก ลั ดัน ดั ชาติของตนได้เปรีย รี บชาติอื่น อื่ ไม่ว่าด้านเศรษฐกิจ กิ หรือ รื การทหาร จนกลายเป็นสงคราม เช่น สงครามการรวมอิต อิ าลี การรวมเยอรมนี จนถึง ถึ สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1


สาเหตุที่ 2 2. ลัท ลั ธิจั ธิ ก จั รวรรดินิ ดิ นิ ยม (Imperialism) ลัท ลั ธิจั ธิ ก จั รวรรดินิ ดิ นิ ยม เป็นแนวความคิด คิ ของชาติมหาอำ นาจในยุโรปที่จ ที่ ะขยาย อำ นาจ และอิท อิ ธิพ ธิ ลของตนเข้าครอบครองดิน ดิ แดนที่ล้ ที่ ล้ าหลัง ลั และด้อย ความเจริญ ริ ในทวีปวี ต่างๆ เพื่อ พื่ แสวงหาผลประโยชน์ โดยเริ่ม ริ่ จากปลายคริส ริ ตัศ ตั ตวรรษที่ 19 เมื่อ มื่ มีก มี ารปฏิวั ฏิ ติ วั ติ อุตสาหกรรม ทำ ให้ ต้องการแหล่งวัต วั ถุดิบ ดิ และตลาดสำ หรับ รั ระบายสิน สิ ค้าที่ผ ที่ ลิต ลิ มหาอำ นาจยุโรป เช่น อัง อั กฤษ ฝรั่ง รั่ เศส ปรัส รั เชีย (เยอรมนี)นี เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขัน ขั กัน กั ขยายอำ นาจ ครอบครองดิน ดิ แดนในทวีปวี เอเชีย อเมริก ริ ากลาง และอัฟอั ริก ริ า ครอบงำ ทางวัฒ วั นธรรม และวิถี วิ ชี ถี ชี วิต วิ เพื่อ พื่ เป็นแหล่ง เก็บ ก็ เกี่ย กี่ วผลประโยชน์ให้เมือ มื งแม่


สาเหตุที่ สาเหตุที่ ที่ที่ 3 ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี รัส รั เซียและออสเตรีย รี- ฮัง ฮั การี ได้ทำ สนธิสั ธิ ญ สั ญาพัน พั ธไมตรีไรี ตรภาคี ภายหลัง ลั รัส รั เซียได้ถอนตัว ตั ไปและอิต อิ าลีเ ลี ข้ามากลุ่มนี้จึ นี้ ง จึประกอบ ด้วย เยอรมนี ออสเตรีย รี-ฮัง ฮั การี และอิต อิ าลี อีก อี ฝ่ายหนึ่งฝรั่ง รั่ เศสกับ กั รัส รั เซีย ได้ทำ สนธิสั ธิ ญ สั ญา 3. การแบ่งกลุ่มพัน พั ธมิตรยุโรป (Alliance System) ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่ส ที่ งครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 เกิด กิ ขึ้น ขึ้ ซึ่งขณะนั้น นั้ มหาอำ นาจยุโรปถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย พัน พั ธไมตรีฝรี รั่ง รั่ เศส-รัส รั เซีย ต่อมา อัง อั กฤษได้เข้าร่วมเป็น พัน พั ธมิตรจึง จึ เกิด กิ เป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี มหาอำ นาจทั้ง ทั้ 2 กลุ่ม พยายามที่จ ที่ ะโน้มน้าวให้ประเทศ อื่น อื่ ๆ เข้ามาร่วมเป็นพัน พั ธมิตรของตน ต่างฝ่ายต่างก็ไก็ ม่ ยินยอมกัน กั แข่งกัน กั สะสมกำ ลัง ลั อาวุธ จึง จึ หาทางออก ด้วยการทำ สงคราม กลุ่มพัน พั ธมิตร


สาเหตุที่ 4 โดยต่างประเทศต้องการพยายามสร้าง อาวุธให้ทัด ทั เทีย ที มชาติศัต ศั รู หวาดกลัว ลั ซึ่งกัน กั และกัน กั 4. ความขัด ขั แย้งทางการทหาร และการ สะสมอาวุธทั้ง ทั้ บางบกและทาง ทะเล(Militarism) อัน อั เนื่อ นื่ งมาจากความระแวง สงสัย สั


สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ห ที่ นึ่งเกิด กิ จาก การลอบปลงพระชนม์ อาร์คดุยค ฟรานซ์ เฟอร์ดิน ดิ านด์ รัช รั ทายาทของบัล บั ลัง ลั ก์ จัก จั รวรรดิอ ดิ อสเตรีย รี-ฮัง ฮั การี ในค.ศ. 1914 โดยกัฟกั รีโรี ล ปริน ริ ซีป ชาวเซิร์บบอสเนีย นี ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือ มื มืด มื และการแก้แค้น ค้ ของจัก จั รวรรดิอ ดิ อสเตรีย รี-ฮัง ฮั การีต่ รี ต่ อราชอาณาจัก จั รเซอร์เบีย บี ก็ก่ ก็ ก่ อให้เกิด กิ สงครามครั้ง รั้ ใหญ่ปะทุขึ้น ขึ้ ในทวีปวี ยุโรป ภายในหนึ่งเดือ ดื น ทวีปวี ยุโรปส่วนมากก็อ ก็ ยู่ในสภาวะสงคราม ทำ ให้ยุโรป ต้องอยู่ในสมดุลแห่งอำ นาจซึ่งยากแก่การรัก รั ษา การแข่งขัน ขั ทางทหาร อุตสาหกรรม และการแย่งชิงดิน ดิ แดนก็ทำ ก็ ทำให้วิก วิ ฤตสุกงอม จนกระทั่ง ทั่ ปะทุออกมาเป็นสงคราม ชนวนของสงคราม ชนวนของสงคราม


สถานการณ์ จัก จั รวรรดิเ ดิ ยอรมนีเ นี ริ่ม ริ่ การรบโดยการยกทัพ ทั ผ่าน เบลเยีย ยี มเพื่อ พื่ ไปโจมตีฝตี รั่ง รั่ เศส แต่เบลเยีย ยี มในขณะนั้น นั้ ก็มี ก็ ค มี วามสัม สั พัน พั ธ์ อัน อั แน่นแฟ้นกับ กั อัง อั กฤษ (เนื่อ นื่ งจากกษัต ษั ริย์ ริ ย์ เบลเยีย ยี ม เป็นพระญาติกับ กั ราชวงศ์อั ศ์ ง อั กฤษอยู่) อัง อั กฤษจึง จึ ไม่พ ม่ อใจมาก ๆ และตัด ตั สิน สิ ใจประกาศสงครามกับ กั จัก จั รวรรดิเ ดิ ยอรมนีเ นี มื่อ มื่ วัน วั ที่ 4 สิง สิ หาคม ค.ศ. 1914 แผน SCHLIEFFEN: ยกทัพ ทั อ้อม ๆ แต่ได้คู่สงครามเพิ่ม พิ่ แบบตรง ๆ


สถานการณ์ หลัง ลั จากเปิดฉากสงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 อย่างเป็นทางการ การสู้รบก็เ ก็ กิด กิ ขึ้น ขึ้ บนแนวการสู้รบที่ย ที่ าวกว่า 300 ไมล์ ในสงครามโลกมีแ มี นวรบที่สำ ที่ สำคัญ คั อยู่ห ยู่ ลายจุด เช่น ‘แนวรบด้านตะวัน วั ตก (WESTERN FRONT)’ ซึ่งเป็นแนวรบ ระหว่างเยอรมนีแ นี ละฝรั่ง รั่ เศสที่ขึ้ ที่ น ขึ้ ชื่อ ชื่ เรื่อ รื่ งความโหดร้ายทารุณ และ ‘แนวรบด้านตะวัน วั ออก (EASTERN FRONT)’ ซึ่งเป็น พรมแดนระหว่างเยอรมนีแ นี ละรัส รั เซีย นอกจากนี้ก นี้ รุงวอร์ซอ ที่อ ที่ ยู่ภ ยู่ ายใต้การปกครองของรัส รั เซียในช่วงนั้น นั้ ก็ถื ก็ อ ถื เป็น สมรภูมิรบสำ คัญ คั อีก อี แห่งหนึ่ง สงครามสนามเพลาะและแนวรบที่ไ ที่ ม่จบสิ้น สิ้ (1)


การต่อสู้ของเหล่าทหารดำ เนินไปใน ‘สนามเพลาะ’ ซึ่งมี ‘การขุดหลุม’ เพื่อ พื่ ซุ่มโจมตีเ ตี ป็นเอกลัก ลั ษณ์ การต่อสู้จึง จึ เป็นไปในลัก ลั ษณะผลัด ลั กัน กั ผลุบโผล่เพื่อ พื่ ยิงสลับ ลั กัน กั ไปมา นอกจากนี้ท นี้ หารที่ต้ ที่ ต้ องคอยรับ รั มือ มื กับ กั แมลงสัต สั ว์ที่รุ ที่ รุ มกัด กั ต่อย โรคติดต่อที่เ ที่ กิด กิ จากสภาวะไม่ถู ม่ ถู กสุขอนามัย มั การ หลบอยู่ในหลุมแบบนี้ทำ นี้ ทำให้การรบไม่ค่ ม่ ค่ อยคืบ คื หน้า สงครามจึง จึ ยืด ยื เยื้อ ยื้ สร้างความท้อแท้และส่งผลต่อสภาพจิต จิ ใจของทหารอย่างมาก 40% ของทหารที่เ ที่ ข้าร่วมรบต้องเผชิญกับ กั ความเจ็บ จ็ ป่วยทางจิต จิ เช่น โรคเครีย รี ดหลัง ลั ประสบเหตุการณ์สะเทือ ทื นใจ หลัง ลั จากสงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 จบลงก็มี ก็ ร มี ายงานผู้ป่วยกว่า 80,000 เคส สถานการณ์ สงครามสนามเพลาะและแนวรบที่ไ ที่ ม่จบสิ้น สิ้ (2)


นอกจากการสู้รบในสนามเพลาะยัง ยั มีก มี ารสู้รบทางเรือ รื ด้วย สมรภูมิรบหลัก ลั อยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก โดยเยอรมนี ใช้แผนการรบแบบไม่จำ กัด กั เขต ซึ่งเป็นการโจมตีเ ตี รือ รื โดย ไม่บ ม่ อกกล่าวก่อนตามธรรมเนีย นี มการสู้รบทางเรือ รื มีก มี ารส่ง เรือ รื ดำ น้ำ ไปประจำ รอบเกาะอัง อั กฤษ ส่งผลให้การค้าและการ ขนส่งของอัง อั กฤษเป็นไปอย่างยากลำ บาก แต่การใช้ แผนการรบแบบไม่จำ กัด กั เขตของกองทัพ ทั เยอรมนีในี นครั้ง รั้ นี้ก็ นี้ ก็ ทำ ให้จุดพลิก ลิ ผัน ผั ของสงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 มาถึง ถึ สมรภูมิรบทางทะเล สถานการณ์


สำ หรับ รั ประเทศสยาม ช่วงเวลาที่ส ที่ งครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1 ได้อุบัติ บั ติ ขึ้น ขึ้ และดำ เนินไปนั้น นั้ ตรงกับ กั รัช รั สมัย มั ของพระบาทสมเด็จ ด็ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หั ยู่ ว หั โดยพระองค์ได้ทรงประกาศร่วมรบ กับ กั ฝ่ายสัม สั พัน พั ธมิตร โดยได้ส่งกองทหารอาสา จำ นวน 1,284 นาย จากกองทัพ ทั บกรถยนต์ และกองบิน บิ ทหารบกไปยัง ยั ฝรั่ง รั่ เศส นับ นั เป็น 1 ใน 3 ประเทศในเอเชียที่ป ที่ ระกาศร่วม สงครามกับ กั ฝ่ายสัม สั พัน พั ธมิตร สถานการณ์ สยาม


ปืนกล ก๊ ปืนใหญ่ ทุ่ าซพิษ ทุ่ นระเบิด บิ หน้ากากป้องกัน กั แก๊สต่างๆ อาวุธใหม่ๆ ที่ถู ที่ ถู กนำ มาใช้ในการทำ สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1


เรือ รื ดำ น้ำ เครื่อ รื่ งบิน บิ รบ รถถัง ถั อาวุธใหม่ๆ ที่ถู ที่ ถู กนำ มาใช้ในการ ทำ สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1


สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 สิ้น สิ้ สุดลงใน ค.ศ. 1918 โดยฝ่ายเยอรมนี พ่ายแพ้ย พ้ อมยุติสงครามเพื่อ พื่ ขอเจรจาทำ สนธิสั ธิ ญ สั ญาสงบศึก ศึ กับ กั ฝ่ายพัน พั ธมิตร ผลของสงครามได้สร้างความเสีย สี หายอย่างใหญ่หลวง ให้แก่ 2 ฝ่ายคือ คื 1. ด้านสัง สั คม สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 มีผู้ มี ผู้ เสีย สี ชีวิต วิ บาดเจ็บ จ็ ทุพพลภาพ แลสูญหายรวมกัน กั ไม่ต่ำ กว่า 40 ล้านคน หลายคนเป็นโรคจิต จิ ที่เ ที่ กิด กิ จาก การกลัว ลั ภัย ภั สงครามอีก อี ทั้ง ทั้ เกิด กิ ปัญหาชนพลัด ลั ถิ่น ถิ่ ผลของสงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1 ผลของสงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1


2. ด้านการเมือ มื ง ประเทศมหาอำ นาจเดิม ดิ ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย รี- ฮัง ฮั การี และตุรกีเ กี ป็นฝ่ายพ่ายแพ้ต้ พ้ ต้ องทำ สนธิสั ธิ ญ สั ญาสัน สั ติภาพที่ป ที่ ระเทศผู้ชนะร่างขึ้น ขึ้ 5 ฉบับ บั คือ คื 1) สนธิสั ธิ ญ สั ญาแวร์ซายส์ทำ ส์ ทำกับ กั เยอรมนี 2) สนธิสั ธิ ญ สั ญาแซงต์แยร์แมงทำ กับ กั ออสเตรีย รี 3) สนธิสั ธิ ญ สั ญาเนยยี ทำ กับ กั บัล บั แกเรีย รี 4) สนธิสั ธิ ญ สั ญาตริอ ริ านองทำ กับ กั ฮัง ฮั การี และ 5) สนธิสั ธิ ญ สั ญาเซฟส์ทำ ส์ ทำกับ กั ตุรกี (ต่อมาเกิด กิ การปฏิวั ฏิ ติ วั ติในตุรกีจึ กี ง จึ มีก มี ารทำ สนธิ สัญ สั ญาใหม่เรีย รี กว่า "สนธิสั ธิ ญ สั ญาโลซานนั" นั ) และยุโรปโดยรวมอ่อนแอลง ผลของสงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1 ผลของสงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1


3. ด้านเศรษฐกิจ กิ สงครามครั้ง รั้ นี้มี นี้ ค่ มี ค่ าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการ ผลิต ลิ อาวุธใหม่ ๆ ที่มี ที่ อำ มี อำนาจทำ ลายล้างสูงกว่าการทำ สงครามในอดีต ดี เพื่อ พื่ หวัง วั ชัย ชั ชนะหลัง ลั สงครามสิ้น สิ้ สุดฝ่ายแพ้ต้ พ้ ต้ องง่ายค่า ปฏิก ฏิ รรมสงคราม ส่วนฝ่ายชนะรับ รั ผิด ผิ ชอบเลี้ย ลี้ งดูผู้ประสบภัย ภั และ บูรณะประเทศจนทำ ให้เกิด กิ ภาวะเศรษฐกิจ กิ ตกต่ำ ทั่ว ทั่ โลก ระบบการ เงิน งิ ทั่ว ทั่ โลกกระทบกระเทือ ทื น ผลของสงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1 ผลของสงครามโลก ครั้ง รั้ ที่ 1


ผลกระทบ ของสงคราม -มีก มี ารก่อตั้ง ตั้ องค์การสัน สั นิบาตชาติ (League Of Nations) เพื่อ พื่ แก้ปัญหาระหว่างประเทศด้วย สัน สั ติวิธี วิ ธี และเพื่อ พื่ ป้องกัน กั การเกิด กิ สงครามในอนาคต -เกิด กิ ประเทศเอกราชใหม่ ๆ เช่น ยูโกสลาเวีย วี เชค โกสโลวาเกีย กี โปแลนด์ ลัท ลั เวีย วี ลิทั ลิ ว ทั เนีย นี เอสโทเนีย นี -แยกฮัง ฮั การี ออกจาก ออสเตรีย รี -ประเทศเยอรมนี ออสเตรีย รี และตูรกี เปลี่ย ลี่ นแปลง การปกครองไปสู่ระบบสาธารณรัฐ รั


ผลกระทบ ของสงคราม -มีก มี ารจัด จั ทำ สนธิสั ธิ ญ สั ญาสงบศึก ศึ เพื่อ พื่ เป็นการลงโทษ แก่ประเทศผู้แพ้สงคราม เช่น ผู้แพ้ต้ พ้ ต้ องเสีย สี ดิน ดิ แดน เสีย สี อาณานิคม เสีย สี อำ นาจ การปกครองตนเอง และต้องจ่ายค่า ปฏิก ฏิ รรมสงครามจำ นวนมหาศาล ซึ่งกลายมา เป็นสาเหตุและชนวนที่จ ที่ ะนำ ไปสู่การเกิด กิ ของ สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 2 ใน


สนธิสั ธิ ญ สั ญา ㆍ องค์การสัน สั นิบาตชาติเป็นองค์การกลางระหว่างประเทศ ที่ทำ ที่ ทำขึ้น ขึ้ โดยประธานาธิบ ธิ ดี วูดโรว์ วิล วิ สัน สั แห่งสหรัฐ รั อเมริก ริ า เพื่อ พื่ รัก รั ษาสัน สั ติภาพ และความมั่น มั่ คงระหว่างประเทศ ㆍ โดยได้สถาปนาเป็นองค์การระหว่างประเทศเมื่อ มื่ วัน วั ที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 สำ นัก นั งานใหญ่ตั้ง ตั้ อยู่ ณ นครเจนีว นี า ประเทศสวิต วิ เซอร์แลนด์ องค์การสัน สั นิบาตชาติ (LEAGUE OF NATIONS)


หน้าที่ขอ ง อ งค์กรสัน สั นิบาตชาติ ดูแลให้มีก มี ารปฏิบั ฏิ ติ บั ติ เป็นไปตามสนธิสั ธิ ญ สั ญา ให้โลกมีสั มี น สั ติภาพ และความมั่น มั่ คงระหว่าง ประเทศ มีห มี น้าที่สำ ที่ สำคัญ คั 2 ประการ คือ คื 1. 2.


-ไม่ได้รับ รั ความร่วมมือ มื อย่างจริง ริ จัง จั จากสหรัฐ รั อเมริก ริ า -ไม่มี ม่ ก มี องกำ ลัง ลั ทหารเป็นของตนเอง -ประเทศสมาชิกคำ นึงถึง ถึประโยชน์ของตนมากกว่าการรัก รั ษาสัน สั ติภาพของโลก อุปสรรด สำ คัญ คั ที่สุ ที่ สุ ดอัน อั หนึ่ง คือ คื ไม่มี ม่ ส มี หรัฐ รั อเมริก ริ าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การ ด้วย สัน สั นิบาต ชาติประชุมกัน กั เป็นสมัย มั ประชุมครั้ง รั้ สุดท้ายใน ค.ศ. 1939 และหมดสภาพเป็นองค์การ ระหว่างประเทศลงเมื่อ มื่ ในค.ศ. 1946 ทรัพ รั ย์สิน สิ ที่มี ที่ อ มี ยู่ทั้ ยู่ ง ทั้ หมดได้โอนไปให้แก่องค์การ สหประชาชาติ ข้อเสีย สี และอุปสรรคของ องค์การสัน สั นิบาตชาติ


สนธิสั ธิ ญ สั ญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) ㆍเป็นสนธิสั ธิ ญ สั ญาสัน สั ติภาพที่จั ที่ ด จั ทำ ขึ้น ขึ้ เมื่อ มื่ วัน วั ที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวัง วั แวร์ชาย ประเทศฝรั่ง รั่ เศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่าง ฝ่ายสัม สั พัน พั ธมิตรและจัก จั รวรรดิเ ดิ ยอรมัน มั ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ ในสงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 1 ㆍผลจากสนธิสั ธิ ญ สั ญาฯ ได้กำ หนดให้จัก จั รวรรดิเ ดิ ยอรมัน มั ต้องยินยอมรับ รั ผิด ผิ ในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพีย พี งผู้เดีย ดี วชดใช้ค่าปฎิกรรมสงครามให้แก่กลุ่ม ประเทศฝ่ายไตรภาดีเ ดี ป็นจำ นวนมหาศาล (ราว 31,400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ รั ) สนธิสั ญ สั ญ า


ㆍ สนธิสั ธิ ญ สั ญาดัง ดั กล่าวได้ถูกทำ ลายจนกระทั่ง ทั่ ร้ายแรง ขึ้น ขึ้ เมื่อ มื่ คริส ริ ต์ทศวรรษ 1930 การแก่งแย่งและเป้าหมาย ที่ ขัด ขั แย้งกัน กั เอง ทำ ให้ไม่มี ม่ ฝ่มี ฝ่ ายใดพอใจผลการ ประนีปนี ระนอมที่ไ ที่ ด้มาเลย ㆍ การที่ฝ่ ที่ ฝ่ ายสัม สั พัน พั ธมิตรไม่รื้อ รื้ ฟื้นความสัม สั พัน พั ธ์ห ธ์ รือ รื ทำ ให้เยอรมนีอ่ นี อ่ อนแออย่างถาวร ทำ ให้สนธิสั ธิ ญ สั ญาดัง ดั กล่าวเป็นปัจจัย จั หลัก ลั ซึ่งนำ ไปสู่ความขัด ขั แย้งในภายหลัง ลั โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยิ่ สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ 2


ข้อ 227 แจ้งข้อหาแก่จัก จั รพรรดิแ ดิ ห่งเยอรมนี ข้อ 231 จัก จั รพรรดิวิ ดิ ล วิ เฮล์มที่ 2 และถูกพิจารณาว่ามีค มี วามผิด ผิ ฐาน อาชญากรรมสงคราม ("อนุประโยคความรับ รั ผิด ผิ ในอาชญากรรมสงคราม") ได้ถือ ถื ว่าเยอรมนีเ นี ป็นฝ่ายเริ่ม ริ่ ต้น ต้ สงครามโลกครั้ง รั้ ที่ห ที่ นึ่ง และเป็นผู้รับ รั ผิด ผิ ชอบต่อความเสีย สี หายของกลุ่มประเทศ ฝ่ายสัม สั พัน พั ธมิตร การจำ กัด กั ทางกฎหมาย มาตราการที่มี ที่ มี ต่อเยอรมนี มาตราการที่มี ที่ มี ต่อเยอรมนี


การกำ หนดกำ ลัง ลั ทหาร ตามที่ไ ที่ ด้ระบุไว้ในส่วนที่ข ที่ องสนธิสั ธิ ญ สั ญาแวร์ชาย เยอรมนีจำ นี จำเป็นต้อง ยอมรับ รั และปฏิบั ฏิ ติ บั ติ ตามอย่างเข้มงวด ซึ่งปริม ริ าณของกองทัพ ทั บก กองทัพ ทั เรือ รื และกองทัพ ทั อากาศจะต้องเป็นไปตามที่ร ที่ ะบุไว้ดัง ดั ต่อไปนี้ -แคว้น ว้ ไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร ซึ่งอยู่ภ ยู่ ายใต้การปกครอง ร่วมกัน กั ระหว่างสหราชอาณาจัก จั รและฝรั่ง รั่ เศส -กองทัพ ทั เยอรมัน มั ถูกจำ กัด กั ทหารเหลือ ลื เพีย พี ง 100,000 นาย การประกาศระดมพลถูกล้มเลิก ลิ มาตราการที่มี ที่ ต่ มี ต่ อเยอรมนี


-ตำ แหน่งทหารชั้น ชั้ ประทวนจะได้ต้องยกเลิก ลิ ไปเป็นเวลา 12 ปี และตำ แหน่งนายทหารชั้น ชั้ สัญ สั ญาบัต บั รจะต้องได้รับ รั การยกเลิก ลิ ไปเป็นเวลา 25 ปี -ห้ามทำ การผลิต ลิ อาวุธในเยอรมนี และห้ามทำ การครอบครองรถถัง ถั ยานยนต์หุ้มเกราะเครื่อ รื่ งบิน บิ รบและปืนใหญ่ทั้ง ทั้ สิ้น สิ้ -ห้ามเยอรมนีนำ นี นำเข้าและส่งออกอาวุธ รวมไปถึง ถึ การผลิต ลิ และการ ครอบครองแก๊สพิษ -กำ ลัง ลั พลกองทัพ ทั เรือ รื ถูกจำ กัด กั ลงเหลือ ลื 15,000 นาย เรือ รื รบ 6 ลำ (น้ำ หนัก นั เรือ รื ไม่เกิน กิ 10,000เมตริก ริ ตัน ตั ) เรือ รื ลาดตระเวน 6 ลำ (น้ำ หนัก นั เรือ รื ไม่เกิน กิ 6,000 เมตริก ริ ตัน ตั ) เรือ รื พิมาตตอร์ปีโด 12 ลำ (น้ำ หนัก นั เรือ รื ไม่เกิน กิ 800 เมตริก ริ ตัน ตั ) และเรือ รื ยิงตอร์ปีโด 12 ลำ (น้ำ หนัก นั เรือ รื ไม่เกิน กิ 200 เมตริก ริ ตัน ตั ) เยอรมนีห้ นี ห้ ามมีเ มี รือ รื ดำ น้ำ ในครอบรอง -การปิดล้อมทางทะเลต่อเรือ รื ถูกสั่ง สั่ ห้าม มาตราการที่มี ที่ ต่ มี ต่ อเยอรมนี


มาตราการที่มี ที่ ต่ มี ต่ อเยอรมนี การกำ หนดพรมแดน -จากสนธิสั ธิ ญ สั ญาแวร์ชาย ได้กำ หนดให้เยอรมนีสู นี สูญเสีย สี อาณานิคมทั้ง ทั้ หมด รวมไปถึง ถึ ดิน ดิ แดนบางส่วนของแผ่นดิน ดิ แม่ โคยคิน คิ แดนที่สำ ที่ สำคัญ คั ได้แก่ ดิน ดิ แดนรัส รั เชียตะวัน วั ตก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นสาธารณรัฐ รั โปแลนด์ที่ส ที่ อง และยัง ยั ต้องสูญเสีย สี ฉนวนโปแลนด์ และทางออกสู่ทะเลบอลติก นับ นั ตั้ง ตั้ แต่ผลของการแบ่งโปแลนด์ และทำ ให้แคว้น ว้ รัส รั เชีย ตะวัน วั ออกถูกกีค กี กัน กั ออกไปจากแผ่นดิน ดิ เยอรมนี -ยกดิน ดิ แดนสุลทชิน ของอัปอั เปอร์ซีถีเ ถี ซีย ให้แก่เชโกสโลวาเกีย กี (คิด คิ เป็นดิน ดิ แดน 333 ตารางกิโกิ ลเมตร ประชากรประมาณ 49,000 คน) โดยปราศจากการลงประชามติ -ยกทางตะวัน วั ออกของแคว้น ว้ อัปอั เปร์ลีเ ลี ยให้แก่โปแลนด์ คิด คิ เป็นดิน ดิ แคน 3.214 ตาราง กิโกิ ลเมตร ประชากรประมาณ 965,000 คน) โดย 2 ใน 3 รวมเข้ากับ กั เยอรมนี และอีก อี 1 ใน 3รวมเข้ากับ กั โปแลนด์ตามผลของการลงประชามติ


จบการ นำนำนำนำเสนอ ม.6/2 เลขที่ 19, 21, 27, 30


Click to View FlipBook Version