The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประเมินตนเองและวางแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanchanok, 2022-05-15 03:35:21

ID plan

รายงานประเมินตนเองและวางแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล

Keywords: ปีการศึกษา 2565

บนั ทกึ ข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นอำมาตยพ์ านชิ นกุ ูล อำเภอเมือง จังหวดั กระบ่ี 81000
ที่ ศธ 04302.44/................................................. วันที่ 30 มิถุนายน 2565
เรอื่ ง สง่ รายงานการประเมินตนเองและวางแผนการพัฒนาตนเองรายบคุ คล ( (Individual Development

Planning : ID Plan) ปีการศึกษา 2565
เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี นอำมาตย์พานิชนุกูล

ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
มาตรา 80 ใหม้ กี ารพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ำรงตำแหน่งบางตำแหน่งและบาง
วิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี ที่เหมาะสม ในอันที่จะ
ทำให้การปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล และความก้าวหน้า แก่ราชการ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และ
วธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กำหนด และโรงเรียนอำมาตยพ์ านชิ นุกูล กำหนดให้ครูและบคุ ลากร จดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง
และวางแผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล ( (Individual Development Planning : ID Plan) ปีการศึกษา 2565
เพ่ือให้สอดคล้องกับพระราชบญั ญัติ ระเบียบขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 80 น้นั

บัดนี้ ขา้ พเจ้านางสาวกานต์ชนก หนูพินิจ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ กล่มุ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล ได้ดำเนินการจัดทำรายงานการประเมินตนเองและวาง
แผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล ( (Individual Development Planning :ID Plan) ปีการศึกษา 2565 เรียบร้อย
แล้ว จึงขอส่งรายงานการประเมินตนเองและวางแผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล ( (Individual Development
Planning : ID Plan) ปีการศกึ ษา 2565 มาพร้อมน้ี

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

(นางสาวกานต์ชนก หนูพนิ ิจ)
ครอู นั ดับ คศ.2

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
............................................................... ....................................... ........................
............................................................... ....................................... ........................

(นายพิชัย ชายเชอ้ื ) (นายสมชิต บรรทติ )
หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารงานบคุ คล

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
...........................................................................
...........................................................................

(นายกติ ติ วชิ ยั ดษิ ฐ)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอำมาตย์พานชิ นกุ ูล

คำนำ

การจัดทำแผนพัฒนาตนเองโดยยึดหลักการประเมินสมรรถนะ (Competency Based Approach) จะ
ทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถรู้จุดเด่น จุดด้อยของความสามารถในการปฏิบัติงานของตน และสามารถพัฒนาตนเองให้
สอดคล้องกับความต้องการจาํ เป็นของหน่วยงาน และของตนเองอยา่ งแท้จริง

ทั้งนี้ ครูจึงต้องมีการประเมินตนเองและวางแผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development
Planning : ID Plan) เพื่อเป็นการพัฒนาที่สนองตอบความต้องการแต่ละบุคคล สนองความสนใจในรูปแบบวิธีการ
พัฒนา ก็จะส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพต่อไป และเป็นการพัฒนาที่ต่อเนื่องจนทำให้การ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีม่ ีความสมบรู ณ์ มีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในการปฏิบัตงิ าน อนั นาํ ไปส่กู ารพฒั นาตนเองให้เป็น
ครูมอื อาชีพทมี่ ีมาตรฐานในการปฏบิ ตั ิงานอย่างแทจ้ ริงสามารถตรวจสอบได้ และพัฒนาสคู่ วามเปน็ วชิ าชพี ต่อไป

(นางสาวกานตช์ นก หนพู นิ จิ )
30/ มิถนุ ายน/ 2565

สารบัญ

เรือ่ ง หนา้

บทที่ 1 ขอ้ มลู สว่ นตวั 1
1. ข้อมลู ทัว่ ไป 1
2. งานด้านการจดั การเรยี นการสอน 2
3. งานนอกเหนือจากการจดั การเรยี นการสอน

บทท่ี 2 การพฒั นาตนเอง 8
1. ผลการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ 13
2. ผลการนำหลักสูตรการอบรมไปใช้

บทที่ 3 แผนการพฒั นาตนเอง 17
1. แผนพัฒนาตนเอง ในปกี ารศึกษา 2565

บทท่ี 4 ผลการประเมนิ ตนเอง 19
1. ผลการประเมินตนเองดา้ นการจัดการเรยี นการสอน 21
2. ผลการประเมนิ ตนเองด้านการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี 22
3. ผลการประเมินตนเองดา้ นความเปน็ ครู

บทท่ี 5 สรปุ ผล 24
1. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน 29
2. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 31
3. ด้านความเป็นครู

ภาคผนวก

- สำเนาเกียรตบิ ัตรการอบรม ปีการศกึ ษา 2564 33

- ตาราง แสดงเลม่ รายงานผลการอบรม ฯ ปกี ารศึกษา 2564 33

- สมรรถนะครู และบคุ ลากรทางการศึกษา (Teachers and personals competency)33

สารบญั ตาราง

ตารางที่ เร่อื ง หน้า
ตารางท่ี 1
ตารางที่ 2 แสดง การปฏบิ ตั ิงานสอน ปีการศึกษา 2564 1
ตารางที่ 3 แสดง การปฏบิ ัติหน้าท่ีงานพัฒนาผู้เรียน ปีการศกึ ษา 2564 2
ตารางที่ 4 แสดง การปฏิบัตหิ น้าท่ีครปู รึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 2
ตารางท่ี 5 แสดง งานสนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู้ (งานกลุ่มบรหิ ารโรงเรยี น) ปีการศึกษา 2564 3
ตารางที่ 6 แสดง งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ 4
ตารางที่ 7 แสดง รายการอบรม เพื่อพฒั นาตนเองและวชิ าชพี ปกี ารศึกษา 2564 8
แสดง รูปแบบ/วธิ ี ผลการนำหลักสตู รไปใช้ ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางการแก้ไขปญั หา 13
ตารางที่ 8 การอบรม พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ปีการศกึ ษา 2564
ตารางท่ี 9 แสดง การวางแผนการอบรม พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ปกี ารศึกษา 2565 17
แสดง ผลการประเมินตนเองด้านความร้คู วามสามารถในด้านการเรียนการสอน 19
ตารางที่ 10 ปีการศกึ ษา 2564
ตารางที่ 11 แสดง ผลการประเมนิ ตนเองด้านการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ ปีการศึกษา 2564 21
แสดง ผลการประเมินตนเองด้านความเปน็ ครู ปีการศกึ ษา 2564 22

1

บทท่ี 1
ขอ้ มูลสว่ นตวั

1. ข้อมูลทั่วไป
ชอื่ นางสาวกานต์ชนก หนพู นิ ิจ อายุ 41 ปี ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ
วฒุ กิ ารศกึ ษาระดับปริญญาตรี ครุศาสตรมหาบณั ฑติ ชอ่ื ย่อวุฒิการศึกษา คบ. สาขาวิชา ฟิสิกส์
วุฒกิ ารศกึ ษาระดบั ปริญญาโท การศึกษามหาบณั ฑิต ช่อื ย่อวุฒกิ ารศึกษา กศม. สาขาวิชา วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา
วุฒิการศกึ ษา ระดบั ปริญญาเอก – ชื่อย่อวุฒิการศกึ ษา - สาขาวชิ า -
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาตรัง กระบ่ี
เข้ารับราชการเม่ือวันที่ 5 สงิ หาคม พ.ศ. 2524 อายุราชการ 10 ปี 9 เดอื น
(นบั ถงึ วันที่ 15 พฤษภาคม 2565)

2. งานด้านการเรียนการสอน ปกี ารศกึ ษา 2564

ข้าพเจ้าปฏบิ ตั หิ นา้ ท่สี อน รวมถึงงานพัฒนาผเู้ รยี น และงานในหนา้ ท่คี รทู ีป่ รึกษา ประจำปีการศึกษา 2564
ดงั รายละเอยี ดในตารางต่อไปน้ี

ตารางท่ี 1 แสดง การปฏบิ ตั ิงานสอน ปีการศกึ ษา 2564

ท่ี รหัสวิชา ชอื่ วชิ า ชั้น จำนวน จำนวนชัว่ โมง /
ห้อง สปั ดาห์

ภาคเรียนที่ 1 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ฟสิ ิกส์1) ม.5 7 2
1 ว30103 วิทยาศาสตรโ์ ลกท้งั ระบบ ม.2 1 2
2 ว20207 การศกึ ษาคน้ คว้า ม.2 1 2
3 I20201 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 ม.3 1 2
4 ว20201 IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ ม.4 1 -
5 I30201 ความรู้

รวม 20

2

ที่ รหสั วิชา ชอื่ วชิ า ชนั้ จำนวน จำนวนช่ัวโมง /
ห้อง สปั ดาห์
ภาคเรียนที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ (ฟิสิกส์2)
1 ว30104 โครงงานวทิ ยาศาสตร1์ ม.5 7 2
2 ว20201 การสอื่ สารและการนำเสนอ ม.2 1 2
3 I20202 IS2 การสือ่ สารและการนำเสนอ ม.2 1 -
4 I30202 ม.4 1 2
รวม 18

ตารางท่ี 2 แสดง การปฏบิ ัติหน้าทงี่ านพัฒนาผูเ้ รียน และชมุ นมุ ปกี ารศึกษา 2564

ท่ี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และชุมนมุ ชนั้ /ห้อง จำนวนนักเรียน
-
1 ลกู เสอื - -
45
2 ยุวกาชาด - 45

3 ชุมนมุ ม.5/3 รวมท้ังสน้ิ (คน)
45
4 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ม.5/3

ตารางท่ี 3 แสดง การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่คี รูปรึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ชนั้ / ห้อง จำนวนนกั เรยี น
ชาย (คน) หญงิ (คน)

มัธยมศึกษาปที ่ี 5/3 21 24

3. งานนอกเหนอื จากการจัดการเรียนการสอน
3.1 งานสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ (งานกลมุ่ บริหารโรงเรยี น)
ขา้ พเจ้าได้รับมอบหมายให้ปฏิบตั ิงานสนบั สนนุ การจดั การเรียนรู้(งานในกลมุ่ บริหารของโรงเรียน)

ประจำปีการศึกษา 2564 ดังรายละเอียดในตารางต่อไปน้ี

3

ตารางที่ 4 แสดงงานสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ (งานกลุม่ บริหารโรงเรียน) ปีการศกึ ษา 2564

งานสนบั สนุน สงั กัดกล่มุ บริหาร ตำแหน่ง คำสั่ง
ที่ การจดั การเรียนรู้ โรงเรยี น

ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

1 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ กลุ่มบรหิ ารงาน กรรมการ คำสั่งโรงเรยี นอำมาตยพ์ านชิ นกุ ลู

ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีส่ อน ภาค วิชาการ ท่ี 116/2564 ลงวันท่ี

เรยี นท่ี 1ปกี ารศึกษา 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

2564

2 งานจดั การเรยี นการ กลมุ่ บรหิ ารงาน กรรมการ คำสั่งโรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกลู

สอนและโครงการ วชิ าการ ที่ 118/2564 ลงวันที่

พิเศษ รับผิดชอบงาน 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น

ภาคเรียนที่ 1

3 งานขอเลื่อนตำแหน่ง กลมุ่ บริหารงานบุคคล รองประธาน คำสั่งโรงเรียนอำมาตยพ์ านชิ นกุ ลู
ที่ 177/2564 ลงวันที่
และขอเลอ่ื นวทิ ยฐานะ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2564

แบบใหม่ ว.21 คำสงั่ โรงเรียนอำมาตย์พานชิ นกุ ลู
ที่ 225/2564
ภาคเรียนที่ 1 ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

4 งานจัดการเรยี นการ กลุม่ บรหิ ารงาน กรรมการ คำส่ังโรงเรียนอำมาตยพ์ านชิ นกุ ลู
ท่ี 243/2564 ลงวันที่
สอนและโครงการ วชิ าการ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

พเิ ศษ รับผิดชอบงาน

พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น

ภาคเรียนที่ 2

5 งานขอเลื่อนตำแหน่ง กลุ่มบริหารงานบคุ คล รองประธาน

และขอเลอ่ื นวิทยฐานะ

แบบใหม่ ว.21

(ว9/วPA)

ภาคเรยี นที่ 2

4

3.2 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ (งานที่ปฏิบัติตามคำสง่ั โรงเรยี น หรือ หน่วยงานภายนอก) เชน่
ขา้ พเจ้าไดร้ ับมอบหมายให้ปฏิบตั ิงานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ (งานทีป่ ฏบิ ตั ติ ามคำสัง่ โรงเรียน

หรือ หน่วยงานภายนอก) ประจำปีการศกึ ษา 2564 ดงั รายละเอยี ดในตารางต่อไปนี้

ตารางท่ี 5 แสดง งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น (งานท่ีปฏิบัตติ ามคำสั่งโรงเรียน หรือ หน่วยงานภายนอก

ปกี ารศกึ ษา 2564

งานตอบสนองนโยบายและ งานในกลุ่มบริหาร

ท่ี จดุ เน้น โรงเรียน/หนว่ ยงาน ตำแหน่ง คำสง่ั

ท่ีไดร้ บั มอบหมาย ภายนอก

1 แตง่ ต้ังครูท่ีปรึกษา กล่มุ บรหิ ารทว่ั ไป กรรมการ คำส่ังโรงเรียนอำมาตย์

พานิชนุกลู ที่ 89/2564

ลงวนั ท่ี

9 เมษายน พ.ศ. 2564

2 แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กรรมการ คำส่งั โรงเรยี นอำมาตย์

หน้าที่สอน ภาคเรียนที่ 1ปี พานิชนกุ ูลที่ 116/2564

การศกึ ษา 2564 ลงวนั ท่ี

7 พฤศจิกายน พ.ศ.

2564

3 แตง่ ตั้งคณะกรรมการแจก กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กรรมการ คำสง่ั โรงเรยี นอำมาตย์

หนงั สือเรยี นประจำปีการศึกษา พานิชนกุ ูลท่ี 126/2564

2564 ลงวนั ที่ 20 พฤษภาคม ลงวนั ที่

พ.ศ. 2564 20 พฤษภาคม พ.ศ.

2564

4 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินการ กล่มุ บริหารวชิ าการ กรรมการ คำสง่ั โรงเรียนอำมาตย์

สอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปี พานชิ นุกลู ท่ี 166/2564

การศึกษา 2564 ลงวนั ท่ี

27 กรกฎาคม พ.ศ.

2564

5

งานตอบสนองนโยบายและ งานในกลมุ่ บริหาร

ท่ี จุดเนน้ โรงเรยี น/หนว่ ยงาน ตำแหนง่ คำสงั่
กรรมการ
ทไี่ ด้รับมอบหมาย ภายนอก คำสัง่ โรงเรียนอำมาตย์
พานชิ นกุ ูลท่ี 193/2564
5 แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนินการ กลุ่มบริหารวชิ าการ ลงวันที่
16 กันยายน พ.ศ. 2564
สอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปี คำสง่ั โรงเรียนอำมาตย์
พานชิ นกุ ูลท่ี 205/2564
การศกึ ษา 2564 ลงวนั ท่ี
5 ตุลาคม พ.ศ. 2564
6 แต่งตั้งคณะกรรมการประชุม กลมุ่ บริหารวชิ าการ กรรมการ คำสง่ั โรงเรยี นอำมาตย์
ปฎบิ ตั กิ ารจัดตารางสอน พานชิ นกุ ูลที่ 225/2564
ลงวันที่
7 แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ กรรมการ 1 พฤศจิกายนพ.ศ.
หน้าที่กลุ่มบริหารวิชาการ ภาค 2564
เรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 คำส่ังโรงเรียนอำมาตย์
พานิชนุกลู ที่ 226/2564
8 แต่งตั้งคณะกรรมการปฎิบัติ กลุม่ บรหิ ารวิชาการ กรรมการ ลงวันที่
หน้าที่สอน ภาคเรียนที่ 2 1 พฤศจิกายนพ.ศ.
ประจำปีการศกึ ษา 2564 2564
คำสั่งโรงเรยี นอำมาตย์
9 แต่งตัง้ คณะกรรมการดำเนินงาน กลมุ่ บริหารวิชาการ กรรมการ พานิชนกุ ลู ที่ 279/2564
การอบรมการพัฒนาทักษะด้าน ลงวันที่ 27 ธนั วาคม
ดิจทิ ลั มงุ่ สู่อาชพี นักวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2564
ห ล ั ก ส ู ต ร Microsoft Data
Science

6

งานตอบสนองนโยบายและ งานในกลุ่มบริหาร

ท่ี จดุ เน้น โรงเรียน/หน่วยงาน ตำแหน่ง คำส่งั
กรรมการ
ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ภายนอก คำส่ังโรงเรยี นอำมาตย์
พานิชนกุ ูลที่ 230/2564
10 แต่งตั้งครูที่ปรึกษาภาคเรียนท่ี กลุ่มบรหิ ารทั่วไป ลงวนั ที่
3 พฤศจิกายน พ.ศ.
2 2564
คำสง่ั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ี
11 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นท่ี กรรมการ การศึกษามัธยมศึกษา
ท ด ส อ บ ท า ง ก า ร ศ ึ ก ษ า การศกึ ษามัธยมศกึ ษา ตรงั กระบี่
ระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ตรงั กระบ่ี ที่ 130/2565 ลงวนั ท่ี
ช ั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 3ปี 28 มกราคม พ.ศ. 2565
การศึกษา 2564 ระดับสนาม
สอบ

12 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการนเิ ทศ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ กรรมการ คำสั่งโรงเรยี นอำมาตย์
การจดั การเรยี นการสอน ด้วย กรรมการ พานชิ นกุ ูลที่ 261/2565
รปู แบบ L.S. PLC ( Lesson ลงวนั ที่
Study Professional 26 พฤศจิกายน พ.ศ.
Learning Community) 2564
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา
2564 คำสั่งโรงเรยี นอำมาตย์
พานิชนกุ ูลที่ 36/2565
13 แ ต ่ ง ต ั ้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ ลงวันที่
ดำเนินการสอบปลายภาค 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
2564

7

งานตอบสนองนโยบายและ งานในกลมุ่ บริหาร

ท่ี จุดเนน้ โรงเรยี น/หน่วยงาน ตำแหนง่ คำสงั่

ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ภายนอก คำสั่งโรงเรยี นอำมาตย์
พานชิ นกุ ูลท่ี 80/25645
14 แต่งตั้งคณะกรรมการซื้อหรือ กลมุ่ บริหารงบประมาณ กรรมการ ลงวนั ที่
30 มนี าคม พ.ศ. 2565
จ้างโดยวิธีคัดเลือก และ
คำสั่งโรงเรยี นอำมาตย์
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ พานิชนุกลู ท่ี 89/2565
ลงวนั ท่ี
สำหรับการซื้อโครงการ 4 เมษายน พ.ศ. 2565

สนับสนุนค่าใช้จ่ายใน

การศึกษา โดยวิธคี ดั เลือก

15 แ ต ่ ง ต ั ้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ กรรมการ
ดำเนินงานการอบรมการ
พัฒนาข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
(กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ
ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
ก ล ุ ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ ร ี ย น รู้
วทิ ยาศาสตร)์

8

บทท่ี 2
การพฒั นาตนเอง

1. ผลการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี
ในปีการศึกษา 2564 ข้าพเจา้ ไดเ้ ข้ารว่ มการประชุม อบรม สมั มนา เพ่ือพฒั นาตนเองและวชิ าชพี

ดงั รายละเอียดในตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 6 แสดง รายการอบรมเพื่อพฒั นาตนเองและวชิ าชพี ปีการศึกษา 2564

ท่ี วนั /เดือน/ ปี หลักสตู รทีไ่ ด้รบั การพฒั นา สมรรถนะ จำนวน
ตามสายปฏบิ ตั ิงาน หนว่ ยงานทจ่ี ดั ชัว่ โมง หลักฐาน

1 1 ส.ค. 2564 การอบรมออนไลน์ โครงการ การพฒั นาผ้เู รยี น สำนักงานเขต 6 เกยี รติบตั ร
พัฒนาข้าราชการครูและ พน้ื ทีก่ ารศึกษา
บุคลากรทางการศึกษาตาม มธั ยมศึกษา
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมนิ กรุงเทพมหานคร
ตำแหน่งการเลื่อนวิทยฐานะ เขต 1
ข้าราชการและบุคลากรมาง
การศึกษาตามข้อตกลงในการ
พัฒนางาน (Performance
Agreement)

2 7 ส.ค.2564 การสร้างใบงาน Live การพฒั นาผู้เรียน โรงเรยี นบ้านทา่ 3 เกยี รตบิ ตั ร
Worksheets ขา้ ม สำนกั งาน
เขตพ้นื ท่ี
การศึกษา
ประถมศกึ ษาตรงั
เขต 1

3 7 ส.ค. 2564 การผลิตสอื่ ดว้ ย canva การพฒั นาผู้เรยี น โรงเรยี นบ้านทา่ 3 เกยี รตบิ ตั ร
ขา้ ม สำนกั งาน
เขตพ้ืนที่
การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาตรัง
เขต 1

9

ท่ี วัน /เดือน/ ปี หลกั สตู รทีไ่ ดร้ ับการพฒั นา สมรรถนะ จำนวน
ตามสายปฏบิ ตั ิงาน หนว่ ยงานท่จี ัด ชวั่ โมง หลักฐาน

4 14 ส.ค. 2564 “ห้องเรียนคุณภาพ ผู้เรียนมี การบรกิ ารจดั การชนั้ สำนกั งานเขต 3 เกียรตบิ ตั ร
พืน้ ทกี่ ารศึกษา
ความสขุ ” เรยี น มัธยมศกึ ษา ตรงั
กระบี่

5 14-15 ส.ค. การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การบริหารหลักสูตรและ สำนักงาน 15 เกยี รติบตั ร
2564 พัฒนาทักษะการจดั การเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรู้ คณะกรรมการ
รปู แบบออนไลน์ สำหรบั ครู การศกึ ษาข้ัน
สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการ พ้ืนฐาน
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

6 21 ส.ค. 2564 การอบรมออนไลน์เชิงปฎิบัติ การบรหิ ารหลักสตู รและ องคก์ ารบรหิ าร 6 เกยี รติบตั ร

การ เรื่อง การออกแบบสื่อ การจัดการเรยี นรู้ สว่ นจงั หวัด

การสอนใหโ้ ดนใจดว้ ย Canva ขอนแก่น คณะครุ

ศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ราช

ภฎั เลย รว่ มกับ

สำนักงาน

ศึกษาธกิ ารจงั หวัด

ขอนแก่น

สำนักงานเขต

พื้นที่การศกึ ษา

มธั ยมศกึ ษา

ขอนแกน่ ชมรม

ขอนแก่นโรบอท

และโรงเรยี นสี

ชมพูศึกษา

10

ท่ี วนั /เดือน/ ปี หลกั สตู รทไี่ ดร้ บั การพฒั นา สมรรถนะ จำนวน
ตามสายปฏบิ ตั ิงาน หน่วยงานท่ีจัด ช่วั โมง หลกั ฐาน

7 5 ก.ย. 2564 การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพฒั นาผู้เรยี น สถาบันสง่ เสรมิ 20 เกยี รติบตั ร
จัดการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์ การสอน
กายภาพ (ฟิสิกส์) ระดับ วิทยาศาสตรแ์ ละ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เทคโนโลยี

8 10 ต.ค. 2564 การอบรมออนไลน์ โครงการ การพัฒนาผเู้ รียน สำนักงานเขต 6 เกยี รติบตั ร
พัฒนาขา้ ราชการครูและ พื้นทก่ี ารศกึ ษา
บุคลากรทางการศึกษาตาม มธั ยมศึกษา
หลักเกณฑ์และวธิ ีการประเมิน กรงุ เทพมหานคร
ตำแหนง่ การเล่ือนวิทยฐานะ เขต 1
ข้าราชการและบุคลากรมาง
การศกึ ษาตามขอ้ ตกลงในการ
พฒั นางาน (Performance
Agreement) “เรยี นรู้ PA สู่
การปฎิบตั จิ ริง ”

9 30 ต.ค. 2564 “การวัดและประเมนิ ผลการ การบริหารหลกั สูตรและ กลมุ่ พืน้ ที่ 3 เกยี รติบตั ร

เรียนรู้แนวใหมแ่ ละสมรรถนะ การจัดการเรยี นรู้ การศึกษา ประจำ

ผเู้ รยี นในยุค COVID” เขตตรวจราชการ

ที่ 6

10 30 ต.ค. 2564 “เตรียมความพรอ้ มอยา่ งไรกบั การบรหิ ารหลักสูตรและ สำนักงานเขต 3 เกียรติบตั ร

การประเมนิ นนานาชาติ การจดั การเรยี นรู้ พืน้ ทก่ี ารศึกษา

(PISA)” มธั ยมศึกษา ตรงั

กระบ่ี

11 6 พ.ย. 2564 “เทคนิคการสอนออนไลน์ การพฒั นาผเู้ รยี น กลุม่ พ้นื ท่ี 3 เกยี รติบตั ร
อยา่ งไรให้ปงั ” การศึกษา ประจำ
เขตตรวจราชการ
ที่ 6

11

ท่ี วนั /เดือน/ ปี หลักสตู รท่ีไดร้ ับการพฒั นา สมรรถนะ จำนวน
ตามสายปฏิบตั ิงาน หน่วยงานทจ่ี ดั ชัว่ โมง หลักฐาน

12 6 พ.ย. 2564 “เตรียมความพรอ้ มอย่างไรกบั การบรหิ ารหลักสตู รและ สำนักงานเขต 3 เกียรติบตั ร
ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น น น า น า ช า ติ การจดั การเรยี นรู้ พ้นื ทก่ี ารศึกษา
(PISA)” มธั ยมศึกษา ตรัง
กระบ่ี

13 6 พ.ย. 2564 “สอนเตม็ ที่ สอนใหต้ ระหนัก การบรหิ ารหลกั สูตรและ กลมุ่ พื้นท่ี 3 เกียรติบตั ร
ไม่ตระหนกในยคุ โควิค” การจัดการเรยี นรู้ การศึกษา ประจำ
เขตตรวจราชการ
ที่ 6

14 13 พ.ย. 2564 “เทคนคิ การวัดประเมนิ ผู้เรยี น การบรหิ ารหลกั สตู รและ กลุ่มพืน้ ที่ 3 เกียรตบิ ตั ร

ออนไลนใ์ นยคุ โควคิ ” การจัดการเรยี นรู้ การศกึ ษา ประจำ

เขตตรวจราชการ

ท่ี 6

15 7 ธ.ค. 2564 “การจัดทำข้อตกลงในการ การพฒั นาผเู้ รยี น โรงเรียนอำมาตย์ 3 เกียรติบตั ร
พฒั นางาน (Performance พานิชนกุ ูล
Agreement : PA) ”

16 15 ม.ค. 2565 การอบรมออนไลน์ โครงการ การพัฒนาผเู้ รียน สำนกั งานเขต 6 เกียรติบตั ร
พัฒนาข้าราชดการครูและ พ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
บุคลากรทางการศึกษาตาม มัธยมศกึ ษา
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมนิ กรงุ เทพมหานคร
ตำแหน่งการเลื่อนวิทยฐานะ เขต 1
ข้าราชการและบุคลากรมาง
การศึกษาจามข้อตกลงในการ
พ ั ฒ น า ง า น Performance
Agreement) “ ก า ร เ ข ี ย น
ผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อน
วิทยฐานะเชี่ยวชาญและ
เชี่ยวชาญพิเศษ (สาย
ครูผู้สอน)”

12

ที่ วัน /เดอื น/ ปี หลักสตู รทีไ่ ด้รับการพัฒนา สมรรถนะ จำนวน
ตามสายปฏิบตั ิงาน หน่วยงานที่จดั ชั่วโมง หลกั ฐาน

17 16 ก.พ. 2565 “สร้างความเข้าใจ และเตรียม การบริหารหลักสตู รและ ศูนย์ HCEC 3 เกยี รติบตั ร

ความพร่อมครู สู่หลักสตู รฐาน การจดั การเรยี นรู้ โรงเรยี นอำมาตย์

สมรรถนะ ด้วยการจัดการ พานลิ นุกลู จงั หวัด

เรียนรฐู้ านสมรรถนะ” กระบี่ รว่ มกบั

บรษิ ทั เอด็ ดเู คช่นั

จำกดั (มหาชน )

18 6 พ.ย. 2564 “สอนเตม็ ที่ สอนใหต้ ระหนัก การบริหารหลักสูตรและ กลมุ่ พ้ืนที่ 3 เกยี รติบตั ร
ไมต่ ระหนกในยุคโควคิ ” การจัดการเรยี นรู้ การศึกษา ประจำ
เขตตรวจราชการ
ที่ 6

19 7-8 เม.ย. อบรมเชิงปฎิบัตกิ ารปรบั ปรุง การบริหารหลกั สตู รและ โรงเรียนอำมาตย์ 12 เกยี รตบิ ตั ร
2565 และพฒั นาหลกั สตู รกลมุ่ สาระ การจัดการเรยี นรู้ พานชิ นกุ ูล
การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

20 13 เม.ย. อบรมเชงิ ปฎบิ ตั กิ าร การบริหารการจดั การ Teacher 4 เกยี รตบิ ตั ร
2565 Metaverse สรา้ งหอ้ งเรยี น ช้นั เรียน Education
บนโลกเสมอื นจริง Thailand

รวมจำนวนชว่ั โมงอบรมท้ังหมด 114

สมรรถนะตามสายปฏิบตั ิงาน (Functional Competency) คอื สมรรถนะทกี่ ำหนดเฉพาะสำหรับแต่ละ
ตำแหน่ง เพ่ือสนับสนนุ ให้บุคลากรที่ดำรงตำแหน่งนั้นแสดงพฤติกรรมทีเ่ หมาะสมกบั หนา้ ที่ และส่งเสรมิ ให้สามารถ
ปฏิบัตภิ ารกจิ ในหนา้ ทไี่ ด้ดยี ิง่ ขึ้น มี 6 ประการ ไดแ้ ก่

– การบรหิ ารหลักสูตรและการจัดการเรยี นรู้
– การพฒั นาผูเ้ รยี น
– การบริหารจัดการชัน้ เรียน
– การวเิ คราะห์ สังเคราะห์และวิจัยเพ่อื พัฒนาผเู้ รยี น
– ภาวะผู้นำ
– การสรา้ งความสัมพันธ์ และความรว่ มมอื กับชมุ ชน

13

2. ผลการนำหลกั สูตรการอบรมไปใช้

จากการอบรมเพือ่ พฒั นาตนเองและวชิ าชพี ในปีการศึกษา 2564 ขา้ พเจ้าไดน้ ำหลักสตู รการอบรมไปใช้ใน
การพัฒนาด้านการเรียนการสอน ดา้ นการพฒั นาตนเอง และดา้ นความเปน็ ครู โดยใช้รูปแบบ/วธิ ีนำหลักสตู รการ
อบรมไปใช้ ผลการนำหลกั สตู รไปใช้ ขอ้ เสนอแนะและปัญหาอุปสรรค รวมทัง้ แนวทางการแก้ไขปัญหา ดงั รายละเอียด
ในตารางต่อไปน้ี

ตารางท่ี 7 แสดง รปู แบบ/วิธี ผลการนำหลักสตู รไปใช้ ข้อเสนอแนะ และแนวทางการแก้ไขปญั หา การอบรม
พัฒนาตนเองและวชิ าชีพ ปีการศกึ ษา 2564

ที่ หลักสตู ร รูปแบบ/วธิ ี ผลการนำหลักสตู ร ขอ้ เสนอแนะ/ แนวทาง

ทไี่ ดร้ บั การพฒั นา การนำหลักสตู รการ การอบรมไปใช้ ปญั หาอปุ สรรค การแกไ้ ขปญั หา

อบรมไปใช้

1 การอบรมออนไลน์ เขา้ รบั การอบรม มคี วามรู้ ความ บางเร่ืองยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ต้องฟงั หลาย ๆ

โครงการพฒั นา สัมมนาที่หน่วยงานอืน่ เข้าใจ เก่ยี วกับ อยา่ งถอ่ งแท้ ครง้ั หรอื ถามผรู้ ู้

ขา้ ราชการครูและ วิธีการประเมนิ เกณฑ์ ว.9 ปรับให้

บคุ ลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง่ การเล่อื น เขา้ กบั บรบิ ทงาน

ตามหลักเกณฑ์และ วิทยฐานะขา้ ราชการ ของตนเอง เพอ่ื

วธิ กี ารประเมินตำแหนง่ และบคุ ลากร วางแผนให้เปน็ ตาม

การเลื่อนวิทยฐานะ การศกึ ษาตาม เกณฑ์ ของวทิ ย

ขา้ ราชการและบคุ ลากร ข้อตกลงในการพฒั นา ฐานะเกณฑใ์ หม่ ใน

มางการศึกษาตาม งาน ว9 ตำแหน่ง การสง่ การประเมนิ

ขอ้ ตกลงในการพฒั นา ครผู สู้ อน ในการเขียน วิทยฐานะ

งาน (Performance ประเด็นทา้ ทายกับ

Agreement) ปญั หาทเ่ี กิดขึ้นใน

ห้องเรียน

2 การสรา้ งใบงาน Live สรา้ งใบงานและ มีความรู้ ความ ยังไม่คอ่ ยเกิดทักษะใน ฝึกทำบ่อย ๆ เพื่อ

Worksheets แบบทดสอบ Live เขา้ ใจ เกย่ี วกบั การสร้างใบงานและ ทำให้เกิดทักษะ

Worksheets ให้กบั ทักษะใบงานและ แ บ บ ทด สอบ อย่าง แ ล ะ ศ ึ ก ษ า จ า ก

นกั เรียนในช่วงยุค แบบทดสอบ Live คล่องแคลว่ แหล่งอืน่ เพมิ่ เตมิ

Covid -2019 มคี วาม Worksheets โดย

สะดวกท้ังตอ่ ตวั ครู นักเรียนไม่ตอ้ งป

และนักเรยี น สรา้ ง ร้ินท์ออกมาเป็น

แบบ inter Active กระดาษ สามารถส่ง

ล้ิงคใ์ หน้ ักเรยี นได้

เลย ครแู ละนกั เรียน

รู้คะแนนไดห้ ลงั จาก

ทำเสร็จ

14

ที่ หลักสตู ร รปู แบบ/วิธี ผลการนำหลกั สูตร ขอ้ เสนอแนะ/ แนวทาง

ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นา การนำหลกั สูตรการ การอบรมไปใช้ ปญั หาอุปสรรค การแก้ไขปญั หา

อบรมไปใช้

3 การผลติ สอื่ ด้วย canva เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความ ยงั ไม่คอ่ ยเกดิ ทักษะใน ฝกึ ทำบอ่ ย ๆ เพอ่ื

สัมมนาทีห่ นว่ ยงานอ่ืน เข้าใจ เกีย่ วกับ การสรา้ งใบงานและ ทำใหเ้ กดิ ทักษะ

เพ่ือ สรา้ งใบงาน สรา้ งใบงาน แบบทดสอบอยา่ ง และศกึ ษาจาก

แบบทดสอบ การผลติ แบบทดสอบ การ คลอ่ งแคลว่ แหลง่ อ่ืนเพม่ิ เตมิ

สือ่ การนำเสนอสอ่ื ผลติ สอ่ื การนำเสนอ

การสอน มาจดั การ ส่ือการสอน เป็น

เรียนการสอนใน โปรแกรมท่นี กั เรยี น

หอ้ งเรียนวชิ าทตี่ นเอง และครสู ามารถ

รบั ผดิ ชอบ เข้าถงึ สามารถสง่

ล้ิงค์ให้นกั เรยี นโดยที่

นักเรียนไมม่ ี

โปรแกรม canva

ในยุค Covid -

2019 ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

4 “หอ้ งเรียนคุณภาพ ครูได้นำเทคนิค ลงสู่ นักเรียนมีความสขุ - -

ผู้เรยี นมีความสุข” หอ้ งเรยี นทำให้ มคี วามพร้อมทั้งกาย

นกั เรียนมคี วามสุข และใจ เกดิ การ

พร้อมทจี่ ะเรยี นรู้ เรยี นรไู้ ด้อยา่ งมี

ประสทิ ธภิ าพ

พฒั นาผลสัมฤทธิ์

เป็นนกั เรยี น ดี เก่ง

มีสขุ ตามบรบิ ทของ

นักเรยี น

5 การอบรมเชงิ ปฏิบัติการ พฒั นาทักษะการ นักเรียนเรียนรู้อย่าง - -

พัฒนาทักษะการจัดการ จัดการเรียนรรู้ ปู แบบ เข้าใจ สนุกที่ครูมี

เรียนรรู้ ูปแบบออนไลน์ ออนไลน์ ลงสู่ เทคนิคการสอน

สำหรับครูสังกดั หอ้ งเรียนของตนเอง ใ น ช ่ ว ง Covid -

สำนักงานคณะกรรมการ และวิชาทีร่ ับผดิ ชอบ 2019 ที่เหมาะสม

การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กบั สถานการณ์

15

ท่ี หลกั สตู ร รปู แบบ/วธิ ี ผลการนำหลกั สตู ร ขอ้ เสนอแนะ/ แนวทาง

ท่ไี ด้รับการพัฒนา การนำหลักสูตรการ การอบรมไปใช้ ปัญหาอุปสรรค การแก้ไขปัญหา

อบรมไปใช้

6 การอบรมออนไลน์เชิง เขา้ รับการอบรม มีความรู้ ความ เกดิ ทกั ษะในการสร้าง ฝกึ ทำบอ่ ย ๆ เพอื่

ปฎิบัติการ เรื่อง การ สัมมนาทห่ี น่วยงานอ่นื เขา้ ใจ เกี่ยวกับ ใบงานและ ทำให้เกดิ ทักษะ

ออกแบบสื่อการสอนให้ เพื่อ สร้างใบงาน สรา้ งใบงาน แบบทดสอบอย่างคอ่ ย และศึกษาจาก

โดนใจดว้ ย Canva แบบทดสอบ การผลติ แบบทดสอบ การ เปน็ คอ่ ยไป แหลง่ อื่นเพิ่มเตมิ

สื่อ การนำเสนอสื่อ ผลติ สื่อ การนำเสนอ

การสอน มาจดั การ ส่อื การสอน เป็น

เรียนการสอนใน โปรแกรมทนี่ ักเรยี น

หอ้ งเรียนวชิ าที่ตนเอง และครสู ามารถ

รบั ผิดชอบ เขา้ ถึงสามารถสง่

ล้งิ ค์ใหน้ ักเรยี นโดยที่

นักเรยี นไมม่ ี

โปรแกรม canva

ในยคุ Covid -

2019 ได้เปน็ อยา่ งดี

7 การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร นำความรทู้ งั้ เน้ือหา นกั เรียนได้ทงั้ ความรู้ เคร่อื งมือในการ หาวสั ดุอปุ กรณ์

จัดการเรยี นรูว้ ชิ า ทง้ั เทคนคิ การทดลอง และในช่วงการ ทดลองบางอย่างไมม่ ี อยา่ งอนื่ ทดแทน

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาปรบั ประยกุ ต์ใช้ จัดการเรียนการ
(ฟสิ ิกส)์ ระดับ ตามบริบทในชว่ งการ สอนในชว่ ง
มธั ยมศึกษาตอนปลาย สอนออนไลน์ เรอื่ ง Covid -2019 ไดท้ ำ
แรงในธรรมชาติ และ การทดลองผา่ น

คล่ืนแม่เหล็กไฟฟฟ้า ห้องทดลองเสมือน

ลงสู่หอ้ งเรยี นใน จรงิ สอื่ ประเภท AR

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ สามมติ ิ ทำให้

กายภาพ (ฟิสิกส1์ ) นักเรยี นไดเ้ ห็นภาพ

รหสั วชิ า ว30103 ต่ืนตาตืน่ ใจ เข้าใจ

เน้อื หานำไปสู่พฒั นา

ผลสมั ฤทธิใ์ ห้ดยี ิง่ ขน้ึ

16

ที่ หลกั สตู ร รูปแบบ/วธิ ี ผลการนำหลกั สูตร ขอ้ เสนอแนะ/ แนวทาง
การแกไ้ ขปญั หา
ที่ไดร้ ับการพฒั นา การนำหลกั สตู รการ การอบรมไปใช้ ปญั หาอปุ สรรค ต้องฟงั หลาย ๆ
ครง้ั หรอื ถามผ้รู ู้
อบรมไปใช้
-
8 ก า ร อ บ ร ม อ อ น ไ ล น์ เขา้ รบั การอบรม มคี วามรู้ ความ บางเรอื่ งยงั ไม่เขา้ ใจ -

โ ค ร ง ก า ร พ ั ฒ น า สัมมนาที่หน่วยงานอ่นื เขา้ ใจ เกยี่ วกบั อย่างถอ่ งแท้

ข้าราชการครูและ วิธีการประเมนิ เกณฑ์ ว.9 ปรับให้
บุคลากรทางการศึกษา ตำแหนง่ การเล่ือน เข้ากบั บริบทงาน
ตามหลักเกณฑ์และ วิทยฐานะข้าราชการ ของตนเอง เพ่ือ
วิธีการประเมินตำแหน่ง และบุคลากร วางแผนใหเ้ ปน็ ตาม
การเลื่อนวิทยฐานะ การศึกษาตาม เกณฑ์ ของวทิ ย
ข้าราชการและบุคลากร ข้อตกลงในการพัฒนา ฐานะเกณฑ์ใหม่ ใน
มางการศึกษาตาม งาน ว9 ตำแหนง่ การส่งการประเมนิ
ข้อตกลงในการพัฒนา ครผู สู้ อน ในการเขยี น วทิ ยฐานะ
ง า น ( Performance ประเดน็ ทา้ ทายกบั
Agreement) “เรียนรู้ ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ใน
ห้องเรียน

PA สู่การปฎิบัติจริง ”

9 “การวัดและประเมนิ ผล นำวธิ ีการวดั และ นกั เรียนได้วิธกี ารใน -
-
การเรยี นรู้แนวใหม่และ ประเมินผลการเรยี นรู้ การตดั สนิ การเรยี น

สมรรถนะผเู้ รยี นในยุค ในยุค Covid ดว้ ย อยา่ งมีประสิทธิภาพ
COVID” วิธกี ารท่ีหลากหลาย และยตุ ิธรรม
ประเมินตามสภาพจรงิ

10 อบรมเชงิ ปฎิบัตกิ าร นำความรู้ความเขา้ ใจ ครไู ดม้ ีหลักสตู ร

ปรบั ปรงุ และพัฒนา เกยี่ วกับหลกั สตู รกลุ่ม ประจำวิชาท่ตี นเอง

หลักสตู รกลุ่มสาระการ สาระการเรยี นรู้ รับผิดชอบอยา่ ง
เรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปรับปรุง สมบูรณ์ นำไปใช้
ประจำปีการศกึ ษา และพฒั นา นำเข้าสู่ เพ่ือใหเ้ กิด
2564 ห้องเรียนของครผู สู้ อน ประสิทธภิ าพสงู สดุ

ของนกั เรียนเป็นการ

ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ

ให้ดขี น้ึ ถา้ ไมไ่ ดเ้ ปน็

อย่างทก่ี ำหนด

เป้าหมาย ก็ทบทวน

ปรับปรงุ และ

นำมาใช้

17

บทท่ี 3
แผนการพฒั นาตนเอง

แผนพัฒนาตนเองในปีการศกึ ษา 2565
ข้าพเจ้า ได้วางแผนการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี เพื่อนำความรไู้ ปใช้ในการเรยี นการสอนและการพัฒนางาน

ในปีการศึกษา 2565 ดงั นี้

ตารางท่ี 8 แสดง การวางแผนการอบรม พฒั นาตนเองและวิชาชีพ ปกี ารศึกษา 2565

ท่ี หลกั สตู รทตี่ ้องการ จดุ ประสงค์ วธิ กี าร ระยะเวลา หน่วยงานที่ ประโยชน์

พฒั นา รปู แบบ การ ทต่ี อ้ งการพัฒนา ตอ้ งการให้ ที่คาดวา่ จะ

พฒั นา เร่มิ ต้น สิ้นสดุ สนับสนนุ การ ได้รับ
พัฒนา

1 การสรา้ ง เวปไซตโ์ ดย เพ่อื สร้างเวป การอบรม ตลอดปี ตลอดปี Teachers ไดเ้ ป็น

ใช้ google site หรอื ไซต์ทำเป็น ออนไลน์ การศกึ ษา การศกึ ษา Club ห้องเรยี นใน

โปรแกรม การนำ หอ้ งเรียนวชิ า 2565 2565 และTeacher การจัดการ

เทคโนโลยีมาใช้ในการ วทิ ยาศาสตร์ Education เรยี นรูข้ องครู

จัดการเรยี นการสอน กายภาพ(ฟิสกิ ส์ Thailandหรอื และนกั เรยี น

1) รหัสวิชา หนว่ ยงาน ทั้งรปู แบบ

ว30103 และ ต่าง ๆ ท่ีจัดการ Online และ

วิทยาศาสตร์ อบรม OnSite

กายภาพ สามารถดซู ำ้ กี่

(ฟสิ ิกส์2) รหสั ครัง้ กไ็ ด้

วชิ า ว30104 ประยกุ ตก์ าร

หรอื โปรแกรม สรา้ งเวปไซต์

ต่าง ๆ ท่ีสะดวก ในการเก็บงาน

และง่ายในการ ของตนเองลด

ประยุกตใ์ ชใ้ น ภาระงาน

การจดั การเรยี น เอกสารในการ

การสอน ประเมนิ เพ่ือ

ขอมแี ละเลอื่ น

วทิ ยฐานะ

18

ท่ี หลักสตู รที่ตอ้ งการ จดุ ประสงค์ วธิ กี าร ระยะเวลา หน่วยงานที่ ประโยชน์

พัฒนา รปู แบบ การ ทีต่ อ้ งการพฒั นา ต้องการให้ ท่ีคาดว่าจะ

พัฒนา เร่มิ ตน้ สนิ้ สดุ สนบั สนนุ การ ไดร้ ับ
พฒั นา

2 หลกั เกณฑ์และวิธีการ เพ่อื รูห้ ลักเกณฑ์ การอบรม ตลอดปี ตลอดปี Teacher Club ได้วางแผน

ประเมนิ ตำแหนง่ การ ในการประเมนิ ออนไลน์ การศึกษา การศกึ ษา หรือหนว่ ยงาน บรหิ ารจดั การ

เลอ่ื นวทิ ยฐานะ ว9 ในการเขยี น 2565 2565 ตา่ ง ๆ ที่จัดการ นำตัวเองไปสู่

ข้าราชการครูและ ประเดน็ ทา้ ทาย อบรม งานต่าง ๆ ท่ี

บคุ ลากรทางการ และเกณฑ์ รับผดิ ชอบซึ่ง

ศึกษาตามข้อตกลงใน ตา่ ง ๆ ที่ เปน็ งาน

การพัฒนางาน เกยี่ วขอ้ งกบั ว9 เกีย่ วกบั

(Performance ดา้ นการ

Agreement) จดั การเรยี น

การสอน

ด้านการ

ส่งเสรมิ และ

สนับสนนุ การ

เรียนรู้

ด้านการ

พัฒนาตนเอง

และวชิ าชีพ

และงานอืน่ ๆ

ทไี่ ด้รบั

มอบหมาย

อยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

เปน็ ไปตาม

บริบทใหถ้ ึง

ตามเกณฑ์ที่

กคศ. กำหนด

เพ่อื ขอมแี ละ

ขอเลือ่ นวทิ ย

ฐานะ

19

บทท่ี 4
ผลการประเมินตนเอง

1. ผลการประเมนิ ตนเอง ด้านการจดั การเรียนการสอน

ขา้ พเจา้ ไดป้ ระเมนิ ตนเองในด้านความรคู้ วามสามารถในด้านการเรียนการสอน ปรากฏผลดังตารางน้ี

ตารางท่ี 9 แสดงผลการประเมนิ ตนเองด้านความรู้ความสามารถในดา้ นการเรยี นการสอน ปีการศึกษา 2564

ระดบั การประเมนิ

รายการประเมินตนเอง 321

(75% ขน้ึ ไป) (51-74%) (ต่ำกว่า 50%)

1. ความร้ใู นเน้อื หา ในรายวชิ า/กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทสี่ อน ✓

2. วิธีสอน ถา่ ยทอดความรู้เชงิ เน้ือหา กจิ กรรม บรบิ ท เปา้ หมายการเรียนรู้ ความรู้ ✓
พ้นื ฐาน การปรบั พ้ืนฐาน และอปุ สรรคการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน
3. หลกั การสอน และกระบวนการเรยี นรู้ ✓

4. หลกั สตู ร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมนิ และแนวทางการเรยี นรู้ในแตล่ ะเนอ้ื หา

5. พืน้ ฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรชั ญาการศกึ ษา จติ วิทยาสังคม นโยบาย ✓
การศึกษา จดุ มุง่ หมายการจัดการศกึ ษาตงั้ แต่ระดับชาติจนถงึ ระดบั หลกั สตู ร

6. การจัดการศกึ ษาแบบรวม และการตอบสนองต่อความหลากหลายของผูเ้ รยี น ✓

7. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ และจติ วิทยาการเรยี นรู้ ✓
8. การใชเ้ ทคโนโลยี และส่อื นวัตกรรมเพือ่ การเรยี นรู้
9. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ✓
10.การสร้างและหรอื พัฒนาหลักสตู ร ✓
11. การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ ✓
12. การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ ✓
13. กลยุทธ์ในการจดั การเรยี นรู้
14. การสรา้ งและการพฒั นาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษาและแหล่ง ✓
เรยี นรู้ ✓
15. การสอนในศตวรรษที่ 21
16. การแกปญหาใหผ้ เู้ รียน ✓
17. จติ วิทยาการแนะแนว/จิตวทิ ยาการจัดการเรียนรู้






20

รายการประเมนิ ตนเอง ระดับการประเมิน
321
18. การจดั การช้ันเรยี น (75% ขึ้นไป) (51-74%) (ตำ่ กวา่ 50%)
19. การวจิ ยั พฒั นาการเรยี นการสอน
20. ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู างวิชาชพี (PLC) ✓

รวมผลการประเมิน ✓
เฉล่ยี ระดบั การประเมนิ


51 8
2.85

จากตาราง อธิบายได้ว่า ผลการประเมินตนเอง ด้านการจัดการเรียนการสอน อันดับที่ 1 โดยมีหัวข้อ
ดังต่อไปนี้ 1.ความรู้ในเน้ือหา ในรายวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่สอน 2.วิธีสอน ถ่ายทอดความรู้เชิงเน้ือหา กิจกรรม
บริบท เป้าหมายการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การปรับพื้นฐาน และอุปสรรคการเรียนรู้ของผู้เรียน 3.หลักการสอน และ
กระบวนการเรียนรู้ หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมิน และแนวทางการเรียนรู้ในแต่ละเนื้อหา
4.หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมิน และแนวทางการเรยี นรู้ในแตล่ ะเนือ้ หา 5. พื้นฐานการศึกษา หลัก
การศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาสังคม นโยบายการศึกษา จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับชาติจนถึง
ระดับหลักสูตร 6.ทฤษฎีการเรียนรู้ และจิตวิทยาการเรียนรู้ 7.การใช้เทคโนโลยี และสื่อนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 9.การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร 10.การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
11. การสร้างและการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ 12.การสอนในศตวรรษที่ 21
13. การแกปญหาให้ผู้เรียน 14. จิตวิทยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้ 15.การจัดการชั้นเรียน 16. การ
วิจัยพัฒนาการเรียนการสอน 17. ชุมชนแห่งการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) คะแนนเฉลี่ย 3.00 ร้อยละ 100.00 ระดับ
คุณภาพดี

ระดับการประเมินตนเองอยู่ในระดับ อันดับที่ 2 โดยมีหัวข้อต่อไปนี้ 1.การจัดการศึกษาแบบรวม และการ
ตอบสนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน 2. การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 3. กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้
คะแนนเฉลีย่ 2.00 ร้อยละ 66.67 ระดบั คณุ ภาพปานกลาง

ระดับการประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดบั ดี คะแนนเฉลย่ี 2.85 ร้อยละ 95.00

21

2. ผลการประเมนิ ตนเอง ด้านการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี

ขา้ พเจา้ ได้ประเมินตนเองในด้านการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ ปรากฏผลดังตารางนี้

ตารางท่ี 10 แสดง ผลการประเมนิ ตนเองดา้ นการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ ปีการศึกษา 2564

รายการประเมินตนเอง ระดับการประเมิน

321
(75% ขน้ึ ไป) (51-74%) (ตำ่ กว่า 50%)

1. ความสอดคล้องของหลกั สูตรทอ่ี บรมกับการนำไปใช้ ✓
2. ความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั หลกั สูตรที่อบรม ✓
3. ความเหมาะสมของระยะในการอบรม ✓
4. หลกั สตู รทไี่ ดจ้ ากการอบรมช่วยเสริมการปฏิบัตงิ านในหนา้ ทีแ่ ละความ
รบั ผิดชอบ ✓
5. หลักสตู รทอี่ บรมตอบสนองสมรรถนะตามสายงาน
6. เป็นหลกั สตู รทสี่ ถาบันคุรพุ ัฒนารับรอง ✓
7. ชัว่ โมงการพัฒนาที่ได้รบั จากการอบรม ✓
8. หลกั สูตรทีอ่ บรมสอดคล้องกับวิธีหรือรปู แบบการนำไปใช้ ✓
9. หลกั สูตรทอ่ี บรมสามาถนำไปใชใ้ นด้านการเรยี นการสอน ✓
10. ท่านไดจ้ ัดทำรายงานการนำหลกั สตู รไปใชใ้ นด้านการเรยี นการสอน ✓

รวมผลการประเมิน
เฉลยี่ ระดบั การประเมิน 30
3.00

จากตาราง อธบิ ายไดว้ ่า ผลการประเมนิ ตนเอง ดา้ นการพฒั นาตนเองและวิชาชีพปีการศึกษา 2563 อันดับที่
1 โดยมีหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. ความสอดคล้องของหลักสูตรที่อบรมกับการนำไปใช้ 2. ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
หลักสูตรที่อบรม 3. ความเหมาะสมของระยะในการอบรม 4. หลักสูตรที่ได้จากการอบรมช่วยเสริมการปฏิบัติงานใน
หน้าที่และความรับผดิ ชอบ 5. หลักสูตรที่อบรมตอบสนองสมรรถนะตามสายงาน 6. เป็นหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนา
รับรอง 7. ชั่วโมงการพัฒนาที่ได้รับจากการอบรม 8. หลักสูตรที่อบรมสอดคล้องกับวิธีหรือรูปแบบการนำไปใช้
9. หลักสูตรที่อบรมสามารถนำไปใช้ในด้านการเรียนการสอน 10. ท่านได้จัดทำรายงานการนำหลักสูตรไปใช้ในด้าน
การเรียนการสอน คะแนนเฉลยี่ 3.00 ร้อยละ 100.00 ระดบั คณุ ภาพดี

ระดับความสามารถอยใู่ นระดบั ดใี นภาพรวม คะแนนเฉลี่ย 3.00 ร้อยละ 100

22

3. การประเมนิ ตนเอง ดา้ นความเปน็ ครู

ข้าพเจ้าไดป้ ระเมินตนเองในด้านความเปน็ ครู ปรากฏผลดงั ตารางน้ี

ตารางที่ 11 แสดง ผลการประเมนิ ตนเองด้านความเปน็ ครู ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดับความเป็นครู

รายการประเมินตนเอง 321

(75% ขน้ึ ไป) (51-74%) (ตำ่ กว่า 50%)

1. รักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใสช่ ่วยเหลอื สง่ เสรมิ ✓
ใหก้ ำลงั ใจในการศึกษาเล่าเรยี นแก่ศิษย์โดยเสมอหนา้

2. อบรม สงั่ สอน ฝึกฝน สรา้ งเสรมิ ความรู้ ทกั ษะและนสิ ยั ที่ถกู ตอ้ ง ✓
ดงี าม ใหเ้ กดิ แกศ่ ิษย์ อย่างเตม็ ความสามารถ ด้วยความบรสิ ุทธใ์ิ จ

3. ประพฤติ ปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งทด่ี แี ก่ศษิ ย์ทัง้ ทางกาย วาจา และจติ ใจ ✓

4. ไมก่ ระทำตนเป็นปฏปิ กั ษ์ตอ่ ความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ ✓
และสงั คมของศษิ ย์

5. ไม่แสวงหาประโยชน์อนั เปน็ อามสิ สินจา้ งจากศษิ ย์ ในการปฏิบตั หิ นา้ ที่

ตามปกติ และไมใ่ ชใ้ หศ้ ิษย์ กระทำการใด ๆ อนั เปน็ การหาผลประโยชน์ให้แก่ตน ✓
โดยมิชอบ

6. พฒั นาตนเองท้ังทางดา้ นวชิ าชีพ ดา้ นบุคลกิ ภาพและวสิ ัยทัศน์ใหท้ นั ต่อการ ✓
พัฒนาทาง วิทยาการ เศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งอยู่เสมอ

7. รักและศรัทธาในวิชาชีพครแู ละเป็นสมาชิกท่ดี ตี อ่ องคก์ รวิชาชีพครู ✓

8. ชว่ ยเหลือเก้ือกลู ครแู ละชุมชนในทางสรา้ งสรรค์ ✓

9. ประพฤติ ปฏบิ ตั ติ น เปน็ ผนู้ ำในการอนุรกั ษ์ และพัฒนาภูมปิ ญั ญา และ ✓
วฒั นธรรมไทย

รวมผลการประเมิน 27

เฉลีย่ ระดบั การประเมนิ 3.00

จากตาราง อธิบายได้ว่า ผลการประเมินตนเองด้านความเป็นครู ปีการศึกษา 2563 อันดับที่ 1 โดยมีหัวข้อ
ดังต่อไปนี้ 1. รักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใสช่ ่วยเหลือส่งเสริม ให้กำลังใจในการศกึ ษาเลา่ เรียนแกศ่ ิษย์โดย
เสมอหน้า 2. อบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัย ที่ถูกต้อง ดีงาม ให้เกิดแก่ศิษย์ อย่างเต็ม
ความสามารถ ดว้ ยความบริสุทธใ์ิ จ 3. ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจติ ใจ
4. ไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ 5. ไม่แสวงหา
ประโยชน์อนั เปน็ อามสิ สนิ จา้ งจากศิษย์ ในการปฏบิ ตั ิหน้าทีต่ ามปกติ และไมใ่ ชใ้ ห้ศษิ ย์ กระทำการใด ๆ อันเป็นการหา
ผลประโยชน์ให้แกต่ นโดยมิชอบ 6. พฒั นาตนเองท้ังทางดา้ นวิชาชพี ด้านบุคลกิ ภาพและวิสัยทศั นใ์ ห้ทนั ตอ่ การพัฒนา

23

ทาง วิทยาการ เศรษฐกิจสังคม และการเมืองอยู่เสมอ 7. รักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กร
วิชาชีพครู 8. หลักสูตรที่อบรมสอดคล้องกับวิธีหรือรูปแบบการนำไปใช้ 9. ประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการ
อนรุ กั ษ์ และพฒั นาภูมิปญั ญา และวัฒนธรรมไทย คะแนนเฉลย่ี 3.00 ร้อยละ 100.00 ระดบั คณุ ภาพดี

ระดับความสามารถอยูใ่ นระดับดใี นภาพรวม คะแนนเฉลยี่ 3.00 ร้อยละ 100.00

24

บทที่ 5
สรปุ ผล

1. ด้านการเรียนการสอน
ผลการดำเนนิ งาน ดา้ นความรู้ความสามารถในดา้ นการเรียนการสอน

1.1 การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร

ได้วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด จัดทำคำอธิบายรายวชิ า โครงสรา้ งรายวิชา หน่วยการ
เรียนรู้ รายวชิ า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟสิ ิกส์ 1) และ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟสิ ิกส์ 2) โดยครอบคลุมเนอ้ื หาของ
หลกั สูตร และนำไปใชก้ บั ผเู้ รียนและบรบิ ทของสถานศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม

- วิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- วเิ คราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชวี้ ดั รายวิชาทีส่ อน ได้แก่

วชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟิสกิ ส์ 1) ในภาคเรยี นท่ี 1 รหัสวชิ า ว30103 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5
วชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟิสกิ ส์ 2) ในภาคเรียนที่ 2 รหัสวชิ า ว30104 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5

- หน่วยการเรียนรูร้ ายวชิ าท่สี อน มีดงั น้ี
วชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟสิ ิกส์ 1) รหสั วชิ า ว31103 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/3, 4, 5,6,7,8 และ 10

1. หน่วยการเรยี นรู้ เรอื่ ง การเคลือ่ นทแ่ี ละแรง
2. หน่วยการเรียนรู้ เรอ่ื ง แรงในสนามไฟฟ้า
วิชาวิทยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟิสิกส์ 2) รหัสวิชา ว31104 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5/3, 4, 5,6,7,8 และ 10
1. หนว่ ยการเรยี นรู้ เรื่อง พลงั งาน
2. หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ปรากฎการณ์ของคล่นื กล
3. หนว่ ยการเรียนรู้ เรื่อง เสยี ง
4. หนว่ ยการเรยี นรู้ เรื่อง แสงสี
5. หน่วยการเรยี นรู้ เร่อื ง คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้
1.2 การจดั การเรียนรู้
การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้
การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ
( ฟิสิกส์ 1) รหัสวิชา ว31103 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ( ฟิสิกส์ 2) รหัสวิชา ว31104 ที่สอดคล้อง
กบั หนว่ ยการเรียนรู้และผู้เรียน โดยแผนการจดั การเรียนรู้มีองค์ประกอบครบถว้ นตามรูปแบบที่สถานศึกษา
กำหนดและสามารถนำไปจดั การเรยี นรู้ได้จรงิ กจิ กรรมการเรียนรดู้ ังกล่าวท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติของสาระ

25

การเรียนร้แู ละผเู้ รียน ตลอดจนทำการบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้และนำผลมาพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้
ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ

ทำการวเิ คราะหผ์ ้เู รยี น รายละเอียดดังต่อไปน้ี
- วิเคราะหผ์ ู้เรียนที่เปน็ นกั เรยี นที่ปรกึ ษาระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5/3 จำนวน 45 คน
- วเิ คราะห์ผูเ้ รียนในรายวิชาท่ีสอน วชิ าวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟสิ ิกส์ 1) รหสั วิชา ว31103

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/4, 5,6,7,8 และ 10 จำนวน 230 คน

แผนการจัดการเรยี นรู้
ไดจ้ ัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
วิชาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟิสิกส์ 1) รหัสวิชา ว31103 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
วชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ ( ฟิสกิ ส์ 2) รหัสวิชา ว31104 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5
บนั ทึกการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรแู้ ละบันทึกผลหลังสอน

1.2 การจดั การเรียนรู้
1.2.3 กลยุทธใ์ นการจัดการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะ ( 5E) การสอนแบบเพื่อนช่วยคิด การสอน

แบบจิ๊กซอว์ การสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน การสอนแบบเทคนิคการทำนาย สังเกต และอธิบาย ซึ่ง
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ัด และจุดประสงค์การเรียนรู้ มกี ารวัดผลและประเมินผลตามท่ี
กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนทำการประเมินผล โดยดูจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
ผเู้ รียน

สอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยีการจัดการเรยี นรูแ้ ละแหล่งเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี 1 วชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ฟิสกิ ส์1) รหัสวิชา ว30103 วดี ิโอ เรือ่ ง การเคล่ือนท่ีแบบ
วงกลม

ภาคเรียนที่ 2 วชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ (ฟิสิกส์2) รหสั วชิ า ว30104 พาวเวอร์พ้อยต์ เรือ่ ง การ
ผสมแสงสี และสือ่ AR เรอื่ งการผสมแสงสี

ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยใชก้ ลยทุ ธก์ ารจดั การเรยี นรู้ ดงั นี้

- แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟิสกิ ส์ 1) รหัสวิชา ว31103 ช้ัน
มธั ยมศึกษาปีที่ 5

 กลยุทธก์ ารจดั การเรียนรทู้ ใ่ี ช้ การสอนแบบสืบเสาะ ( 5E)
 กลยุทธก์ ารจัดการเรียนรู้ที่ใช้ เพ่อื นคู่คิด

26

 กลยุทธ์การจัดการเรยี นรู้ท่ใี ช้ การสอนแบบจ๊ิกซอว์
 กลยุทธก์ ารจดั การเรยี นรทู้ ใ่ี ช้ การสอนแบบเพือ่ นช่วยเพ่อื น

- แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ( ฟสิ ิกส์ 1) รหัสวิชา ว31103 ชน้ั
มัธยมศึกษาปีที่ 5

กลยทุ ธ์การจัดการเรยี นร้ทู ใ่ี ช้ การสอนแบบสบื เสาะ ( 5E)
 กลยุทธก์ ารจดั การเรียนร้ทู ใี่ ช้ การสอนแบบทำนาย สังเกต อธิบาย

1.2.4 คณุ ภาพผเู้ รยี น

1.2.4.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู้ รียน

การจัดการเรยี นรู้ในรายวิชาที่ได้รบั มอบหมาย สอนในภาคเรยี นที่ 1/2564 และภาคเรียนที่ 2/2564
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในภาคเรียนที่ 1/2564 ปีการศึกษา 2564 พบว่าคุณภาพผู้เรียน
ร้อยละของนักเรียนทไี่ ด้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.5 ขึ้นไป คอื ร้อยละ 97.86 สว่ นผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
ของผู้เรียนในภาคเรียนที่ 2/2564 ปีการศึกษา 2564 พบว่าคุณภาพผู้เรียน ร้อยละของนักเรียนที่ได้ผล
สมั ฤทธิ์ทางการเรียน 2.5 ขนึ้ ไป คือร้อยละ 95.87 ซง่ึ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผูเ้ รยี นตามค่าเป้าหมาย
ที่สถานศึกษากำหนด ซ่ึงสถานศึกษากำหนดร้อยละของนักเรียนท่ีไดร้ ับผลการเรยี น 2.5 ข้นึ ไป คือร้อยละ
65

1.2.4.2 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น

การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาท่ไี ด้รับมอบหมาย สอนในภาคเรยี นที่ 1/2564 และภาคเรยี นที่ 2/2564
จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนปีการศึกษา 2564 พบว่าคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้เรียนมี
คะแนนอยู่ในระดับดเี ยี่ยมในภาคเรยี นที่ 1 คือรอ้ ยละ 100 และผู้เรยี นมีคะแนนอยู่ในระดับดเี ยย่ี มในภาค
เรยี นที่ 2 คือร้อยละ 100 ในรายวชิ าท่ีปฏบิ ตั กิ ารสอน มคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์เป็นไปตามค่าเป้าหมาย
ท่สี ถานศึกษากำหนด ซง่ึ สถานศกึ ษากำหนดผู้เรยี นมคี ะแนนอยใู่ นระดบั ดี ( ระดับคะแนน 2) ข้ึนไป

1.2.4.3 การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน

การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่ได้รบั มอบหมาย สอนในภาคเรียนที่ 1/2564 และภาคเรียนท่ี 2/2564 จาก
การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของผ้เู รียนปีการศึกษา 2564 พบวา่ การอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น ภาคเรยี นที่
1 ผ้เู รยี นมีคะแนนอยใู่ นระดับดเี ย่ียม คือร้อยละ 99.52 ส่วนในภาคเรยี นที่ 2/2564 ผเู้ รยี นมคี ะแนนอยู่ในระดบั ดี
เยีย่ ม คือร้อยละ 100 รายวชิ าทป่ี ฏบิ ตั ิการสอน การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน เป็นไปตามค่าเปา้ หมายที่
สถานศึกษากำหนด ซึ่งสถานศึกษากำหนดผู้เรยี นมีคะแนนอยู่ในระดบั ดี ( ระดับคะแนน 2) ข้นึ ไป

27

1.2.4.4 ด้านสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

การจัดการเรียนรใู้ นรายวชิ าท่ีไดร้ บั มอบหมายสอนในภาคเรียนที่ 1/2564 และภาคเรยี นที่ 2/2564
จากดา้ นสมรรถนะของผู้เรียนปีการศึกษา 2564 พบวา่ ดา้ นสมรรถนะของผ้เู รยี น ภาคเรียนที่ 1และภาคเรยี นที่ 2
ผูเ้ รยี นมคี ะแนนอยใู่ นระดบั ดเี ยยี่ มรอ้ ยละ 100 ในรายวชิ าท่ีปฏิบัตกิ ารสอน มีตามค่าเป้าหมายทีส่ ถานศึกษากำหนด
ซงึ่ โรงเรยี นกำหนดผ้เู รียนมีคะแนนอยใู่ นระดบั ดี ( ระดบั คะแนน 2 ) ข้ึนไป

1.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

ไดก้ ำหนดเคร่อื งมือวดั ผลและประเมินผลทีส่ อดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ดั ตามรายวิชา
ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏบิ ัตกิ ารสอน โดยไดอ้ อกแบบเครื่องมือวดั ผลและประเมินผลตามสภาพจริง นำเครื่องวดั ผลและ
ประเมินผลไปใช้ตลอดจนทำการประเมินผลเคร่ืองมือวดั ผลและประเมนิ ผล และนำผลเครอ่ื งมือการวดั และประเมินผล
เคร่อื งมอื การวดั และประเมนิ ผลไปใช้ในการพัฒนาเครื่องมือและพฒั นาผู้เรียนโดยวิธกี ารวดั และประเมินผลท่ี
หลากหลาย

1.5 ศกึ ษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และหรือวิจัย เพื่อแก้ปัญหา หรอื พฒั นาการเรยี นร้ทู ่ีส่งผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน

ใบงาน Live Work Sheet เรอ่ื งการเคลื่อนท่แี บบวงกลม

1. การศกึ ษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ (ฟิสกิ ส์ 1) เรอ่ื ง การเคล่ือนทแี่ บบต่าง
ๆ โดยเทคนิคการสอน think – pair – share นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 พบวา่

ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน - หลังเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค
think pair share มีคะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ (X=13.22, S.D.=1.64) ตามลําดับ และ
หลังเรียนด้วย การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค think pair share มีคะแนนเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ (X=17.29, S.D=1.99) ตามลาํ ดบั

ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 45 คน จะเห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ มากขึ้น โดย พิจารณาจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรียน โดยใช้เทคนิคการสอน think pair share ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งมีนักเรียนผ่านเกณฑ์ จำนวน 45 คน คิดเป็น
ร้อยละ 100 จากจำนวนนักเรียนทั้งหมดไม่พบนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จะเห็นได้ว่าผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทุกคน
เพิ่มข้นึ อยา่ งเห็นได้ชัด ดงั น้นั การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิค think pair share สามารถชว่ ยเพิม่ ให้ นักเรียน
มีความรู้ ความเขา้ ใจและขึน้ ส่งผลใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นร้ขู องนกั เรียนนั้นเพ่ิมข้ึน

28

ผลการประเมินความพึงพอใจ
ผลความพงึ พอใจในระดับมากทส่ี ุดมีค่าเฉล่ยี รวม 4.25 โดยดใู นรายละเอียด พบวา่ ความพึงพอใจโดยรวมใน
การเรยี นการสอนแบบเพ่ือนคู่คดิ มคี วามพึงพอใจสูงทีส่ ุด มีค่า  เทา่ กบั 4.94 รองลงมา การคิดคู่ได้คิดและปฏิบัติ
เป็นขั้นตอน มีค่า  เท่ากับ 4.86 การคิดคู่ทำให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนมากขึ้น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
นักเรียนมีความสนุกสนานในการทำกิจกรรม เข้าใจในเนื้อหามากขึ้นมีค่า  เท่ากับ 4.86 รองลงมา การคิดคู่มี
ความสุขในการเรียนมากยิ่งขึ้น  เท่ากับ 4.64 รองลงมา การเรียนด้วยกิจกรรมเรียนรู้แบบคิดคู่ทำให้นักเรียนมี
ความสนใจในการเรียนมากขึ้น  เท่ากับ 4.56 รองลงมา การเรียนด้วยกิจกรรมการคิดคนเดียวทำให้นักเรียนมี
ความสนใจในการเรยี นมากขน้ึ มคี ่า  เทา่ กับ 3.91 รองลงมา การคิดคนเดียวได้คิดและปฏิบตั เิ ปน็ ขน้ั ตอน มีคา่ 
เท่ากับ 3.89 รองลงมา การคิดคนเดียวมีความสุขในการเรยี นมากยิ่งข้ึนมีค่า  เท่ากับ 3.70 รองลงมา การคิดคน
เดียวทำใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเนือ้ หาในบทเรยี นมากขน้ึ มคี า่  เทา่ กับ 3.57 ตามลำดับ

ส่อื การสอน AR และพาวเวอร์พ้อยท์ เรือ่ งการผสมแสงสี

2. การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ (ฟสิ ิกส์ 2) เรื่อง การผสมแสงสี โดยเทคนคิ
การสอน ทำนาย - สังเกต -อธบิ าย นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5

ผลสมั ฤทธกิ์ ่อนและหลงั การใช้สื่อ AR เรอื่ ง การผสมแสงสี ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 45 คน จะเหน็ ได้ว่ากลุ่ม
ตัวอย่างมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับเรื่อง เรื่อง การผสมแสงสีมากขึ้น โดย พิจารณาจากแบบทดสอบก่อนเรียนและ
หลังเรียน พบว่าผลคะแนนก่อนเรียน ผ่านเกณฑ์ 45 เปอร์เซ็นต์ หลังการเรยี น เรื่อง การผสมแสงสี ของกลุ่มตัวอย่าง
ซึง่ มนี กั เรยี นผ่านเกณฑ์ จำนวน 45 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 จากจำนวนนกั เรียนท้ังหมดไม่พบนกั เรยี นท่ีไม่ผ่านเกณฑ์
เรอื่ ง การผสมแสงสี จะเห็นไดว้ า่ ผลสัมฤทธข์ิ องนักเรียนทุกคนเพ่ิมขึ้นอยา่ งเหน็ ได้ชัด ดังนน้ั การจัดการเรียนการสอน
เรื่อง การผสมแสงสีโดยเทคนิคการสอน ทำนาย - สังเกต -อธิบาย จะสามารถช่วยเพิ่มให้ นักเรียนมีความรู้ ความ
เขา้ ใจและข้ึนส่งผลให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนรู้ของนักเรียนนั้นเพิ่มขึ้น

ผลการประเมินความพงึ พอใจ

ความพึงพอใจในระดับมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยรวม 4.58 โดยดูในรายละเอียด พบว่า เปิดโอกาสให้นักเรียนได้
เรียนรู้กระบวนการทำงานกลุ่ม มีความพึงพอใจสูงที่สดุ มีค่า  เท่ากับ 4.94 รองลงมา นักเรียนสนุกสนานกับการ
เรียนรู้และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ที่ในภาพรวม มีค่า  เท่ากับ 4.86 รองลงมา คือ ช่วยสร้าง
บรรยากาศในการเรียน  เท่ากับ 4.83 รองลงมา มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังจากใช้สื่อ AR  เท่ากับ 4.72 รองลงมา
รองลงมา ทำกจิ กรรมเปน็ ข้นั ตอนและไดร้ ับประสบการณ์โดยตรง มคี ่า  เทา่ กับ 4.64 รองลงมา แบบทดสอบก่อน
และหลังเรียนวัดระดับความรู้ของนักเรียน มีค่า  เท่ากับ 4.56 รองลงมา ช่วยให้ฝึกทักษะและทบทวนเนื้อหาได้ดี
มคี ่า  เทา่ กบั 4.52 และ เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นศึกษาดว้ ยตนเอง มีค่า  เทา่ กับ 4.33 ตามลำดับ

29

ปญั หา
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นั้นเป็นทำให้โรงเรียนต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีเรียน
เพื่อให้ นักเรียนยังสามารถเรียนรู้ได้ถึงแม้จะมีข้อจำกัดซึ่ง จำเป็นต้องหาแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยใช้วิธีการสอน
ดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอน On – line โดยนักเรียนอยู่บ้านเพื่อลดการแพร่เชื้อ 2. การจัดการเรียน แบ่ง
นักเรียนเลขที่คู่ และเลขที่คี่ กำหนดให้นักเรียนมาโรงเรียนในแต่ละสัปดาห์ ใช้การเรียนการสอนแบบ On-site
3. นักเรยี นสลบั กนั มาโรงเรียนในแตล่ ะดับชนั้ ท้ังเลขทีค่ ู่และเลขทีค่ ่ี วธิ กี ารเรียนการสอนใช้ แบบ On – line และ On-
site ควบคกู่ นั ไป ทำให้การเเรียนการสอนท้ังครูและนักเรยี นไม่ค่อยต่อเน่ืองบางครั้งเน้ือหาไม่ทันเน่ืองจากระยะเวลา
ไมเ่ ออื้ อำนวยกับเนือ้ หาท่จี ะสอน ทำใหแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ไมไ่ ดไ้ ปตามแผนที่กำหนดไว้

แนวทางการแก้ปญั หา
ตอ้ งปรับระบบการจัดการเรยี นการสอนอยู่ในยคุ Covid -2019 โดยการสอนออนไลน์ ปรบั การวัดประเมินผล
ใหห้ ลากหลายเปน็ ไปตามบริบทของโรงเรียน เพอ่ื ใหน้ กั เรียนบรรลวุ ัตถุประสงค์ของตัวช้วี ัด เพือ่ เพ่ิมผลสมั ฤทธ์ทิ ่ีสูงข้ึน
เปน็ การพลิกวิกฤตเปน็ โอกาส ใหค้ รูก้าวทนั เทคโนโลยแี ละกลยทุ ธก์ ารสอนให้หลากหลายมากข้นึ

2. ด้านการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ
ผลการดำเนินงาน ดา้ นการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
2.1 การพัฒนาตนเอง
มีแผนพฒั นาตนเองที่สอดคลอ้ งกบั ความรู้ ความสามารถ ทักษะและคณุ ลักษณะของตนเอง สอดคล้อง

สภาพปัญหาหรอื ความตอ้ งการจำเป็นการปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา สอดคล้องกับแผนกลุ ยทุ ธข์ องสถานศกึ ษา โดยมี
การพฒั นาตามแผนพัฒนาตนเอง นำความรู้ ทักษะท่ีไดจ้ ากการพัฒนาตนเองมาพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นร้ทู ่ี
ส่งผลตอ่ คณุ ภาพผู้เรียน ตลอดจนมกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี

ส่ิงท่ีแสดงถงึ การพฒั นาตนเองคือ
1. สรปุ การอบรมซึง่ ในปกี ารศกึ ษา 2564 อยู่ในรปู แบบ Online
2. แผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล (ID PLAN)

2.2 การพัฒนาวิชาชีพ
เขา้ รว่ มกลุม่ พฒั นาวิชาชพี ครู มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ จิ กรรมทางวิชาการในชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี

สร้างและพฒั นานวตั กรรมจากการเข้ารว่ มในชุมชนการเรยี นรู้ ตลอดจนนำนวตั กรรมจากการเข้ารว่ มในชมุ ชนการ
เรยี นร้มู าจดั การเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาผ้เู รยี น

เข้าร่วมกลุ่มพฒั นาวิชาชพี ครู มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ิจกรรมทางวชิ าการในชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ
ในปีการศึกษา 2564 ในภาคเรียนที่ 1 ได้เข้ารว่ มกลุม่ PLC กลุม่ กัลยาณมติ รวจิ ัย

30

จากการเข้ารว่ มกลมุ่ มีวธิ กี ารดงั นี้
1.จดั ตงั้ กลมุ่ PLC กลมุ่ กลั ยาณมติ รวิจัย โดยมคี รูในกล่มุ สาระต่อไปน้ี สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะและ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2. ประชมุ คณะครูในกลมุ่ PLC เพอ่ื แจ้งจดุ ประสงคใ์ นการจัดตั้งกลุ่ม
3. วิเคราะหก์ ารจัดการเรยี นการสอนท่ีมีปัญหา และสิง่ ท่ีตอ้ งการพฒั นาแก่นักเรยี น
4. นำเสนอ เพอ่ื แลกเปล่ียนเรยี นรทู้ ่ีมปี ัญหา และส่ิงที่ต้องการพฒั นาแกน่ กั เรยี น เพ่ือเข้าสขู่ ้ันตอนการออกแบบ
และจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ เทคนิคการสอน และผลิตนวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหาดงั กล่าว
5. นำเสนอ เพือ่ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และปรับปรุงแก้ไขการออกแบบและจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ เทคนิคการ
สอน และผลติ นวัตกรรมนำไปใช้ในหอ้ งเรียนเกิดประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลแก่นักเรียน
6. เมอ่ื แก้ไขในส่ิงท่แี นะนำจากกลุม่ PLC กลุ่มกัลยาณมิตรวจิ ัย ไปจัดการเรยี นการสอนลงสหู่ ้องเรียน คือการ
นเิ ทศการเรียนการสอน โดยมีสมาชกิ ในกลุ่ม PLC กลุ่มกลั ยาณมติ รวจิ ัย เขา้ รว่ มสงั เกตในการนเิ ทศ
7. ประเมินผล สะทอ้ นผลจากการเรียนการสอน เพอ่ื เป็นการปรับปรุง แก้ไข พฒั นาต่อยอด เป็นสิ่งทมี่ ีประโยชน์
ตอ่ ครผู ูส้ อนและผูเ้ รยี น
8. สรุปผลการจดั การ และทำให้เกดิ วิจัย 5 บท 1 เรื่องตอ่ ภาคเรียน

สรา้ งและพัฒนานวตั กรรมจากการเข้ารว่ มในชุมชนการเรยี นรู้ ตลอดจนนำนวัตกรรมจากการเขา้ ร่วมใน
ชมุ ชนการเรียนรู้มาจัดการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาผเู้ รยี น

เขา้ รว่ มกลุ่มพัฒนาวชิ าชพี ครู มีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้กิจกรรมทางวชิ าการในชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ
ในปกี ารศึกษา 2564 ในภาคเรยี นท่ี 2 ไดเ้ ขา้ รว่ มกล่มุ PLC กล่มุ Teaching Science

จากการเข้ารว่ มกลุ่ม มีวิธกี ารดงั น้ี
จดั ตงั้ กล่มุ PLC โดยทางกลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์ กลมุ่ Teaching Science โดยมขี ้ันตอนการ

ดำเนินการดังนี้
1) Plan (วางแผน) คอื นำไปสู่การนเิ ทศของครผู ้สู อนแตล่ ะคน นำเสนอแผนการสอนและวิพากษ์แผนการสอน

โดยผบู้ รหิ าร ผเู้ ช่ียวชาญ และสมาชิกในกลุ่ม ครผู ู้สอนนำแผนการสอนไปแก้ไข ปรับปรงุ พฒั นาเพ่ือนำไปสู่ห้องเรยี น
2) Observe (สงั เกตชัน้ เรียน) ครผู ูส้ อนเขา้ สอนโดยมีสมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมสงั เกตการณ์สอนในช้ันเรียน เพ่ือ

เกบ็ รายละเอียด จุดเดน่ จุดด้อย สง่ิ ที่ปรบั ปรุง พฒั นา ในการสอนของแต่ละคน
3) Reflect (การสะทอ้ นผล) ครผู ูส้ อนจะสะทอ้ นผลของตนองในการจดั การเรยี นการสอน ผู้บรหิ าร ผ้เู ชี่ยวชาญ

และสมาชกิ ในกล่มุ PLC สะท้อนผล เป็นการเติมเต็มของครูผ้สู อนแตล่ ะคน
4) Adjust (การปรบั ปรงุ การจัดการเรียนร้)ู ครูผสู้ อนนำผลจาการสะท้อนผล ปรับปรุงแกไ้ ขพฒั นา ลงไปสู่

หอ้ งเรยี นเพิ่มศักยภาพของตนเอง และนักเรยี นบรรลตุ ัวชีว้ ัด ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ อ่านคดิ วิเคราะห์
และเขยี นส่ือความ ในรายวชิ าท่ีครูผูส้ อนรับผดิ ชอบ

31

ปัญหา
เนื่องจากสมาชิกในกล่มุ PLC บางทา่ นมหี น้าท่ีและความรับผดิ ชอบจำนวนมาก ทำใหท้ ่มี ีกำหนดการในการ
ประชุม PLC ทำให้ไมส่ ามารถแลกเปลีย่ นเรียนร้กู บั สมาชกิ ในกลุ่มในบางคร้งั ตามตารางที่กำหนดได้

แนวทางการแก้ปัญหา
นัดหมายเวลาที่สมาชกิ ว่างตรงกันในชว่ งค่ำ ด้วยวิธีออนไลน์ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์การจัดตั้งกลุ่ม PLCและ
แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนของครู และส่งิ สำคัญคือนักเรียนให้มีประสิทธิภาพตามศักยภาพของนักเรียน ผ่านตัวช้ีวัด
และผลการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รข้ันพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560)

3. ด้านความเป็นครู
ผลการดำเนนิ งาน ดา้ นความเป็นครู
นักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลซึ่งครูต้องใช้วิธีการต่างๆ และปรับปรุงวิธีการสอนให้กับ

นักเรียนแต่ละบุคคล เพราะแต่ละคนมีความรู้พื้นฐานต่างกันคือ ต้องขยันหม่ัน และอุตสาหะพากเพียร ต้องเอื้อเฟ้อ
เผื่อแผ่ และเสียสละ หนักแน่นอดทนและอดกล้ัน ต้องรักษาวินัย สำรวมระวังความประพฤติของ ตนให้อยู่ในระเบยี บ
แบบแผนอันดีงาม สมควรแก่เกียรติภูมิของตน ต้องต้ังใจม่ันคงและแน่วแน่ ต้องซื่อสัตย์รักษาความจรงิ ใจ ต้องเมตตา
หวังดี ต้องวางใจเป็นกลางไม่ปล่อยไปตามอำนาจอคติตอ้งอบรมปัญญา เพิ่มพูนสมบูรณ์ข้ึน ท้ังในด้านการถ่ายทอด
เทคนิคการสอนและความฉลาดรอบรู้ในเหตุและผล สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนต่าง ๆ เพื่อจัดบรรยากาศ
การเรียนรู้ที่น่าสนใจและผู้เรียนเกิดความเขา้ใจในเนื้อหาวิชาที่เรียน ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงความรู้สู่การนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ หรือใช้ในการเรียนรู้ต่อไปสามารถอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี ศีลธรรม วัฒนธรรม
กิจนิสัย สุขนิสัย และอุปนิสัย รวมท้ังรักในความเป็นประชาธิปไตยเพื่อเป็นบรรทัดฐานในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมไดอ้ ย่างปกติสุขและ.สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนใฝ่รู้และกา้ วทัน เทคโนโลยี ตลอดจนสามารถใช้ภาษา ส่อื สารกันได้
เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ และสามารถใช้ เคร่อื งมอื ตา่ ง ๆ ในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
โดยนำเอาความรู้จากการเรยี นไปปรบั ปรงุ และใช้ในชีวติ ประจำวันให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ เป็นตวั อย่างใหด้ แี ก่ศิษย์ ท้ัง
ทางกาย วาจา และใจ

ปัญหา
เนือ่ งจาก โซเซียลในยุคปัจจบุ ันและอปุ กรณ์ ท้ังโทรศัพท์ Tablet กา้ วไกล ในการทจี่ ะกระทำการใด ๆ แม้วา่
ครูเจตนาจะดี ในการพดู จา หรือให้คำแนะนำ ตักเตือนส่ิงใด ระมัดระวงั ในการใช้คำพูด ใหพ้ อเหมาะพอควร

32

แนวทางการแก้ปัญหา
ปรบั ทศั นคติและความคดิ ของนกั เรียน เจตนาของครูนน้ั หวังดตี ่อนักเรยี นหวังให้นักเรียนเปน็ คนดีต่อสังคม
สามารถใชช้ วี ิตกับผู้อ่นื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ เปน็ การปรับลกั ษณะนสิ ยั ของนักเรียนใหด้ ี หล่อหลอมให้เปน็ บุคคลท่มี ี
คณุ ภาพ สามารถประกอบอาชีพใหต้ ัวเองได้ตามศกั ยภาพท่ีนกั เรยี นมอี ย่างมุง่ หวังตัง้ ใจ อยใู่ นสงั คมสามารถปรบั ตัวมี
ภมู ิคมุ้ กัน

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงชื่อ

(นางสาวกานต์ชนก หนพู ินจิ )
30/มิถุนายน/2565

ความเหน็ ของรองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารงานบคุ คล
……………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………
............................................................................................................................. ...........................................................

ลงชื่อ
(นายสมชติ บรรทิต)

รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน กล่มุ บรหิ ารงานบุคคล
……./…………./…………

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ
(นายกิตติ วชิ ยั ดิษฐ)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล
……./…………./…………

ภาคผนวก 33

1. สำเนาเกยี รตบิ ตั รการอบรมปีการศึกษา 2564 หนว่ ยงานทอ่ี บรม เอกสารเลขที่
--
2. ตาราง แสดง เล่มรายงานผลการอบรมฯ ปีการศึกษา 2564

ท่ี รายงานการอบรมเรื่อง วันทอ่ี บรม
-- -

3. สมรรถนะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (Teachers and personnels competency)

สมรรถนะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (Teachers and personnels competency)

สมรรถนะ หมายถึง พฤตกิ รรมซึง่ เกดิ จากการรวมความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) คณุ ลกั ษณะ
(Character) ทัศนคติ (Attitude) และแรงจงู ใจ (Motivation) ของบุคคล และส่งผลตอ่ ความสำเร็จในการปฏบิ ัติงาน
ตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งโดดเดน่ สมรรถนะ มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1. ความรู้ (Knowledge)
2. ทกั ษะ (Skills) 3. คณุ ลักษณะส่วนบุคคล (Attributes) มี 2 ประเภท ดงั ต่อไปนี้

1. สมรรถนะหลกั (Core Competency) คอื คุณลกั ษณะร่วมของข้าราชการครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาทุกตำแหนง่ เพ่ือหล่อหลอมคา่ นิยม และพฤติกรรมท่ีพึงประสงคร์ ่วมกัน มี 5 ประการ ไดแ้ ก่

- การมงุ่ ผลสัมฤทธ์ขิ องการปฏบิ ัติงาน
- การบริการท่ีดี
- การพัฒนาตนเอง
- การทำงานเปน็ ทีม
- จริยธรรมและจรรยาบรรณครู
2. สมรรถนะตามสายปฏบิ ตั ิงาน (Functional Competency) คือ สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับแต่
ละตำแหน่ง เพื่อสนบั สนุนให้บุคลากรที่ดำรงตำแหนง่ นัน้ แสดงพฤติกรรมท่เี หมาะสมกบั หน้าท่ี และสง่ เสรมิ ให้สามารถ
ปฏิบตั ิภารกจิ ในหนา้ ที่ได้ดียง่ิ ขน้ึ มี 6 ประการ ไดแ้ ก่
– การบรหิ ารหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรู้
– การพัฒนาผ้เู รียน
– การบรหิ ารจดั การช้ันเรียน
– การวิเคราะห์ สงั เคราะหแ์ ละวจิ ัยเพอื่ พฒั นาผูเ้ รยี น
– ภาวะผู้นำ
– การสร้างความสัมพันธ์ และความร่วมมอื กับชุมชน

สำเนาเกยี รติบัตรการอบรม
ปกี ารศึกษา 2564

35

เกียรตบิ ัตร อบรมประจำปีการศึกษา 2564
นางสาวกานตช์ นก หนูพนิ ิจ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

36

37

38

39

40

41

42

43

44


Click to View FlipBook Version