The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิราวรรณ ดีรบรัมย์, 2019-10-24 03:15:23

modern spaces-ผสาน (2)

modern spaces-ผสาน (2)

9ค8ูมอื การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนคูมฉอืบกับาพรกปพฐมาพยาบาลเบอื้ งตน ฉบับพก9พ8า

4. ผูชวยเหลือใหสัญญาณทําการยกผูปวยขึ้น
พรอ มๆกนั

วธิ ีท่ี 3 การพยงุ เดินโดยผูช ว ยเหลอื 2 คน
ใชใ นกรณีผูปวยรูสึกตัวดี ท่ีอาจมีบาดเจ็บเล็กนอย

บริเวณขาท่ีทําใหเดินไมสะดวก และตัวใหญ ไมสามารถ
เคล่อื นยายโดยคนเดยี วได

วิธีการ ผูชวยเหลือ 2 คน เขาประคองผูปวยคน
ละขาง และผูชวยเหลือแตละคน จับขอมือผูปวยคนละขาง
มาคลองคอตนเอง แลวคอยๆพยุงเดิน และบอกเลาทิศ
ทางการเดนิ กบั ผูป ว ยวาจะเดนิ ไปทางไหน

คคมู มู ือือกกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบ้ือื้องงตตน นฉฉบบับบั พพกกพพาา 99

การยกเคลื่อนยา ยโดยผูช วยเหลอื 3 คน
วิธีการ

1.ผูชวยเหลือผูปวยทั้ง 3 คน น่ังทาชันเขาขาง
เดียวกนั เรยี งแถวเดียวกันทางดานใดดา นหนึ่งของผปู ว ย

2. ใหผูชวยเหลือคนใดคนหน่ึงทําหนาที่เปน
หัวหนาทีม คอยส่ังการและใหจังหวะแกสมาชิกในทมี เพ่ือ
ความพรอ มเพียงในการยก

3. ใหผูชวยเหลือทั้ง 3 คนวางมือบนลําตัวผูปวย

โดยผูชวยคนท่ี 1 วางมือตรงตําแหนงหนาอกหรือลําตัวชวง
บน ผูชวยคนที่ 2 วางมือตรงตําแหนงสะโพกและตนขา

ค1ูม0ือ0การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน คฉูม บือับกพากรปพฐามพยาบาลเบ้ืองตน ฉบบั พ1ก0พ0า

ดานบน สวนผูชวยคนที่ 3 วางมือตรงตําแหนงตนขา
ดา นลา งและสว นปลายขา

4.ผูชวยเหลือทั้ง 3 คน สอดมือเขาใตลําตัวของ
ผปู ว ย ตรงตามตําแหนง ท่ไี ดว างมอื ไว โดยไมย กตวั ผปู วยสูง
จากพืน้ เกนิ 8 เซนตเิ มตร และตัวผูปว ยตอ งตรงตลอดเวลา

คคูมูม ืออื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบ้ือ้อื งงตตนนฉฉบบบั บั พพกกพพาา 101

5. หวั หนาทมี สง่ั การ
ใหจังหวะใหแกสมาชิกในทีม
ยกผูปวยขึ้นพรอมกัน วางบน
เขา ผูชวยเหลือขยับมือให
สามารถรับนํ้าหนักไดพอดี

6. หัวหนาทีมสั่งการใหสมาชิกในทีมยกผูปวยข้ึน
พรอมๆกนั และอยใู นทา ยนื พรอ มพบั ตวั ผูป ว ยพับเกบ็ เขาหา
ตัวผขู องชว ยเหลือทั้ง 3 คน

7. หวั หนาทีมส่ังการใหออกเดินไปดานซายหรือดานขวา ซึ่ง
จงั หวะในการเดินเปนไปในลักษณะกาวชิดกาว พรอมๆ กัน
ทั้ง 3 คน จนถึงท่หี มาย

ค1ูม 0ือ2การปฐมพยาบาลเบื้องตน คฉมู บือบั กพากรปพฐามพยาบาลเบ้ืองตน ฉบบั พ1ก0พ2า

8. เมื่อถึงที่หมาย จะวางตัวผูปวยลง ใหผู
ชวยเหลือทั้ง 3 คน นั่งในทาคุกเขาขางหน่ึงพรอมๆกัน โดย
ผปู วยอยูในทา เดียวกบั ชว งจงั หวะตอนยกขน้ึ

. หวั หนา้ ทีมสงั การใหว้ างผปู้ ่ วยลงพร้อมๆกนั
การยกและเคล่ือนยา ยโดยผูชว ยเหลอื 4 คน หรอื มากกวา
วธิ ีการ

1.ผูชวยเหลือ 3 คน นั่งในทาชันเขาขางใดดาน
หน่งึ (ควรเปนขางเดยี วกัน) อยูดานขางผปู วย

2.ผูชวยเหลือหนึ่งคนท่ีอยูในตําแหนงดานศีรษะ
ผูปวย เพือ่ ปองกันอนั ตรายบรเิ วณกระดูกตน คอ

คคมู ูมอื ือกกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบื้ออ้ื งงตตนนฉฉบบบั ับพพกกพพาา 103

3.ผูชวยเหลือท่ีอยูดานขางท้ัง 3 คน วางมือใน
ลักษณะแบมือบนลําตัวผูปวยเพื่อกําหนดตําแหนงในการ
วางมือในการยกผปู วย

4.เม่ือผูชวยเหลือทั้ง 4 คน วางมือในตําแหนงท่ี
ถูกตองแลว ใหหัวหนาทีมสั่งการใหจังหวะแกสมาชิกในทีม
สอดแขนเขา ใตลาํ ตวั ผปู วยพรอ มๆกัน

5.หัวหนาทีมสั่งการใหสมาชิกในทมี ยกตัวผูปวย
พรอ มๆกัน แลววางพักบนเขา

ค1มู 0อื 4การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน คฉูมบอื บั กพากรปพฐามพยาบาลเบื้องตน ฉบับพ1ก0พ4า

6.หัวหนาทีมสั่งการใหยกตัวผูปวยขึ้นอยางพรอม
เพรยี งกันในทายนื พรอมจะเดนิ

7.หวั หนา ทีมสง่ั การ ใหส มาชกิ เคล่ือนยายผูปวยไป
ยังจดุ หมาย โดยการออกเดนิ กาวไปในทางเดยี วกัน

8.เมือ่ ถงึ ท่หี มาย จะวางผปู วยลงใหผูชวยทั้ง 4 คน น่ัง
ในทาคุกเขาขางหนึ่งพรอมๆโดยอยูในทาเดียวกับชวงจังหวะใน
การยกขึ้น หวั หนาทมี ส่ังการใหวางผูปว ยพรอ มๆกนั

การเคลือ่ นยายแบบใชอุปกรณ

1.การใชแผนกระดานรองหลังยาว (Long spinal
board)

การเตรียมความพรอมของอุปกรณ การเตรียม
ความพรอมในการปฏิบัติงานผูปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องตน
ควรตองมีการตรวจสอบความพรอมใชของอุปกรณทุกวัน
และทกุ ครั้งหลงั ใชงาน เพอ่ื ใหมคี วามพรอ มสําหรับการใชใน
การปฏิบัติงานครั้งตอไป ชุดอุปกรณชุดแผนกระดานรอง
หลงั ยาว มดี ังนี้

(a) เปล (Long spinal board)
(b) ชดุ ยึดตรงึ ศีรษะ (Head immobilizer)
(c) สายรดั ตรึงตัวผูปวย (Belt)

คคมู มู ืออื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบ้ืออ้ื งงตตน นฉฉบบบั ับพพกกพพาา 105

วิธกี ารใช
1.จัดทาผูปวยใหอยูในทานอนหงายราบ (ถาหลังเกิดเหตุ
ผูปวยไมไดอยูในทานอนหงายราบใหผูชวยเหลืออยางนอย
2-3 พลกิ ตัวผปู ว ยแบบทอ นซงุ (Log roll) เพ่ือพลิกตวั ผปู ว ย
ใหอยูในทานอนหงาย พรอมกับใสอุปกรณดามคอ
(Cervical hard collar) กอนทําการเคล่ือนยายข้ึนบน
Long spinal board
การวดั ขนาดของเฝอ กดามคอ

ทานั่ง วัดจากแนวขนานปลายคางถึงความยาวชว งคอ
ทานอน วัดจากปุมขากรรไกรลางถึงความยาวชวง
คอ

การวดั ขนาดเฝื อกดามคอและการใส่ Hard Collar

ค1มู 0อื 6การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน คฉูมบอื บั กพากรปพฐามพยาบาลเบือ้ งตน ฉบบั พ1ก0พ6า

2. ผูชวยเหลือ 1 คน ใหทําหนาที่ประคองศีรษะผูปวยไว
ตลอดเวลา จนรดั ตรงึ ตวั ผูป ว ยเรียบรอยพรอมเคลอื่ นยาย

3. ผชู ว ยเหลอื ทเ่ี หลือ นง่ั คุกเขา ตรงตาํ แหนง บริเวณหนาอก
สะโพก และผูชวยเหลืออีกคนเตรียมกระดานรองหลังวาง
ใหพอดกี ับตวั ผปู วย

4. ผชู ว ยเหลอื ท้งั 3 คน ทาํ การพลิกตัวผูปวย เพื่อเตรียมขึน้ บน
แผน กระดานรองหลงั ยาว โดยผชู ว ยคนทที่ าํ หนา ทปี่ ระคอง
ศีรษะอยู ใหทําหนา ทตี่ อไป สว นผูชวยเหลอื อกี 2 คน ใหอยู

คคมู มู ืออื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบ้ือือ้ งงตตน นฉฉบบับับพพกกพพาา 107

ดานเดียวกัน หนง่ึ คนอยูตรงตาํ แหนง บรเิ วณหนา อกและ
สะโพก อีกคนอยูตรงตําแหนง สะโพก และขา 2 ขาง

5.ผูชวยเหลือคนใดคนหนึ่ง ควรเปนหัวหนาทีม ส่ังการให
สมาชิกในทีมพลิกตัวผูปวยเขาหาตัวพรอมกันและเอื้อม
มือขางหน่ึงไปขยับแผนกระดานลองหลังยาวเขามาประชิด
ตัวผูปวย (ถามีผูชวยเหลืออีก 1 คน (คนท่ี 4) อาจให
ผูชวยเหลือคนท่ี 4 เปนคนสอดแผนกระดานรองหลังยาวให)

6.คอ ยๆวางตัวผูปว ยลงบนแผนกระดานลองหลังยาว อยาง
พรอมเพยี งกันถาวางครงั้ แรกลําตวั ผปู วยกับขนาดความยาว
ของเปลไมไดขนาดกัน ใหทําการขยับตัวผูปวยในลักษณะ

การสไลดข้ึนหรือลง ใหไดระดับที่พอดี คือ ระดับที่ไหลของ
ผูปวยอยูตรงระดับขอบลางของแผนรองศีรษะของชุดยึด
ตรึงศีรษะ

ค1มู 0อื 8การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนคฉมู บอื บั กพากรปพฐามพยาบาลเบ้อื งตน ฉบับพ1ก0พ8า

7. ทาํ การรัดตรึงลําตัว ดวยสายรัดตรึง โดยสายรัดตรึงเสน
ที่ 1 รัดตรงตําแหนงหนาอก ออมใตรักแร เสนที่ 2 รัด
บรเิ วณสะโพก และเสน ที่ 3 รดั ตรึงตรงตาํ แหนงเขา และใน
กรณีตองเคลื่อนยายผูปวยแบบแนวดิ่ง หรือตะแคง การรัด
ตรึงสายรัดตัวเสนที่1 ควรเปนไปอยางเพียงพอ และควรมี
อีกเสน หรือขยับเสนท่ี3 มาใชสําหรับรัดขอเทาและยึดตรง
ฝา เทา ไว เพอื่ มไิ หผูปว ยไถลลงขณะเคลอ่ื นยาย

8. วางชุดประคองศีรษะผูปวย พรอมรัดตรึงศีรษะดวยสาย
รัดตรึงศีรษะ บริเวณหนาผาก และคาง (ควรยึดตรึงบริเวณ
ศีรษะทายสุดเพื่อจะไดไหผูชวยเหลือหนึ่งคนคอยประเมิน
ความรูสึก การหายใจและสังเกตการเปล่ียนแปลง
ตลอดเวลา)

คคูมูม ืออื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบื้อ้อื งงตตนนฉฉบบบั ับพพกกพพาา 109

9.พรอมยกและเคลื่อนยาย ซึ่งในการยกผูชวยเหลือ
ควรยกในลกั ษณะแขนตรงและตึง ไมค วรงอแขนขณะยก

ค1ูม1ือ0การปฐมพยาบาลเบื้องตนคฉูมบอื ับกพากรปพฐามพยาบาลเบื้องตน ฉบบั พ1ก1พ0า

การยกผปู วยมีสองวิธี
วธิ แี รก ยกแบบมือเดียว เหมาะสําหรับการยกและ

เดินในระยะไกลๆ โดยมีหัวหนาทีมซ่ึงจะอยูดานหนา คอย
ใหจังหวะในการยกและการเดิน ผูชวยเหลือจะน่ังคุกเขา
หน่ึงขางนั่งตัวตรง การจับเปลใชควํ่ามือลง การลุกยืนจะใช
แรงจากขาท้ังสองขา ง

การยกแบบผชู ว ยเหลอื 3 คน

การยกแบบผชู ว ยเหลอื 4 คน

คคมู มู ืออื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบื้อ้อื งงตตน น ฉฉบบบั บั พพกกพพาา 111

วิธีท่ีสอง ยกแบบสองมือ สําหรับการยกเดินท่ีไม
ไกลมากหรือยกแลวนําผูปวยวางบน Stretcher หรือขึ้น
รถพยาบาลโดยผูชวยเหลือจะน่ังชันเขาท้ังสองขาง จับเปล
ดวยมอื สองขางในทาหงายมือขึ้น หัวหนาทีมจะอยูดานหนา
จะเปนคนใหจังหวะในการลุกยืน จังหวะในการเดิน เปน
ลักษณะกาวชิดกา ว พรอ มๆกนั ทกุ คน

ค1ูม1อื 2การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน คฉมู บือับกพากรปพฐามพยาบาลเบื้องตน ฉบับพ1ก1พ2า

บทที่ 4

การคัดแยกกรณสี าธารณภัยหรอื อบุ ัตเิ หตุภัยหมู
ภัยพิบัติ (Major incident) หมายถึง เหตุการณ
ที่สรางความเสียหายทั้งในชีวิตและทรัพยสิน ท่ีเกินกําลัง
ของหนวยงานในโครงสรางพ้ืนฐานของชุมชนแหงน้ัน ณ
เวลาขณะนัน้ จะสามารถรบั มอื และแกไขสถานการณได
อุบัติเหตุหมู หรืออุบัติเหตุกลุมชน (Mass
casualty) หมายถึง การบาดเจ็บอุบัติเหตุคราวเดียวกัน
เปนจํานวนมากเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลที่จะ
ใหเกิดการรักษาตามปกติได ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากภัย
ธรรมชาติ นํ้าทวม พายุ ไฟไหม จากการกระทําของมนุษย
เชน ตึกถลม รถชน ฯลฯ

คคูมมู อื ือกกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบื้ออื้ งงตตน นฉฉบบับบั พพกกพพาา 113

แน ว คิ ด ใ นก า รป รั บ เ ป ล่ี ยน ใ ห ถู ก ต อ ง ใ น ก า ร
ปฏิบัติการดานการแพทย เพื่อควบคุมสถานการณดาน
สาธารณภยั

1. กูชีพทมี แรกตอ งไมดว นเขาชว ยผปู วย
2. จะตองกําหนดใหมีพ้ืนท่ีสําคัญเพ่ือปฏิบัติงานควบคุม
สถานการณ
3. ตอ งนาํ คนเจบ็ มารวมกนั ท่ีจดุ รกั ษาพยาบาล
4. ตองคดั แยกกอ นใหการชวยเหลือทจี่ ุดรกั ษาพยาบาล
5. ตอ งกาํ หนดใหม ผี ูท าํ หนาท่ี Field commander
6. ตอ งมขี อมลู เพ่อื การนําสงคนไขไปโรงพยาบาลเครอื ขายที่

เหมาะสม
7. ผูบริหารระดับสูงสามารถบัญชาการได โดยไมตองมา ณ
จดุ เกดิ เหตุ
8. ทีมงานทุกคนตอ งมคี วามปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน

ค1มู 1อื 4การปฐมพยาบาลเบื้องตนคฉมู บือับกพากรปพฐามพยาบาลเบอื้ งตน ฉบับพ1ก1พ4า

อุปกรณท่ีใชปองกันตวั เองจาดอันตรายตางๆ

อันตรายที่อาจเกดิ อุปกรณป องกันตวั เอง

อุบัติเหตจุ ราจร เสอื้ สะทอนแสง
ฝนหรอื ลม เสอ้ื กันฝน เสอ้ื คลมุ
การบาดเจบ็ ที่ศรี ษะ หมวกนริ ภัยทม่ี ีสายรัดคาง
การบาดเจ็บที่ตา และสเี ดนชัด
การบาดเจบ็ ทใี่ บหนา แวนตา
อันตรายจากเสยี ง กระบงั หนา
การบาดเจ็บท่มี ือ เครอื่ งปอ งกนั เสยี ง
เลอื ดหรอื สิ่งคัดหล่งั ถุงมือชนิดหนา
การบาดเจบ็ ทเ่ี ทา ถงุ มือทางการแพทย
รองเทา บูต

คคูมูมืออื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบื้อือ้ งงตตน น ฉฉบบบั ับพพกกพพาา 115

บทบาทของชดุ ปฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉนิ เบือ้ งตนชุดแรก
ทมี่ าถึงจดุ เกดิ เหตุ กรณีอุบัติภยั หมหู รือสาธารภยั

1. ชวยจัดเตรียมพื้นท่ีจุดตางๆตามการส่ังการของ
commander

2 . ปองกันตัวเอง และควบคุมสถานการณใหปลอดภัย
รวมกับทีมตํารวจ กูภยั ดับเพลิง ปภ.

3. สื่อสารขอมลู สถานการณไปยังศนู ยร ับแจงเหตุและสัง่ การ
4. ชวยประเมินสถานการณ
5. นําผูบาดเจ็บออกจากซากรถหรือซากปรักหักพัง
6. ชว ยคัดแยกผบู ากเจบ็ ณ จดุ เกิดเหตุ (Triage sieve)
7. ชวยเคล่ือนยายผูบาดเจ็บที่คัดแยกจากจุดเกิดเหตุแลว

มายังจุดรักษาพยาบาล
8. ชวยปฐมพยาบาล ณ จุดรกั ษาพยาบาล
9. ชวยเคลื่อนยายผูบาดเจ็บจากจุดรักษาพยาบาลข้ึน
รถพยาบาลฉุกเฉนิ และนาํ สง โรงพยาบาล

ค1ูม 1อื 6การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน คฉูมบอื ับกพากรปพฐามพยาบาลเบอื้ งตน ฉบบั พ1ก1พ6า

การกนั้ แบง พืน้ ท่ี
เปนการกําหนดความชัดเจนของแตละพ้ืนท่ี ซ่ึงอาจใช

แถบสีตางๆของตํารวจหรือวัสดุอยางอ่ืน เพ่ือกั้นแบงและ
เลือกจะใหใครเขาออกบริเวณตางๆโดยเขตควบคุมชั้นนอก
จะลอมรอบเหตกุ ารณท ัง้ หมดไว มกั ใชรถตํารวจ

เขตควบคมุ ชั้นใน เปน พนื้ ทีใ่ ชเพอ่ื คัดแยกผูปวย ณ จุด
เกิดเหตุ (Triage sieve) และเจาหนาที่และอาสาสมัครท่ี
ไดรับการฝกฝนมาอยางเหมาะสมแลวเทานั้น ท่ีสมควรจะ
ทาํ งานในพืน้ ท่ีได และตองรีบเขาและออกจากพื้นท่ีนี้ใหเร็ว
ทส่ี ุดเทาท่ีจาํ เปน

เขตควบคมุ ชั้นนอก เปนพ้ืนที่เพื่อใชคัดแยกผูปวยเปน
คร้ังท่ี 2 ทําการปฐมพยาบาล และเปนจุดรับผูปวยโดย
รถพยาบาล ภายใตก ารควบคุมการเขา ออกพื้นที่และจัดการ
จราจรโดยเครงครัด ตามหลักปฏิบัติ ผูบัญชาการเหตุการณ
จะทําหนาที่ควบคุมสั่งการจากพื้นที่น้ี และผูที่จะเขาพ้ืนที่
สว นน้ีได จะตองเปนผรู บั อนุญาตจากผูบัญชาการเหตุการณ
และควรมีเคร่ืองหมายหรือบัตรประจําตัวแสดงใหเห็นอยาง
ชดั เจน

คคูมมู ือือกกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบื้ออ้ื งงตตน นฉฉบบับบั พพกกพพาา 117

การคัดแยก (Triage)
เปนการจัดกลุมผูปวยตามระดับความรุนแรง

เพื่อใหผูปวยไดรับการชวยเหลืออยางรวดเร็วตามลําดับ
ความเรงดว นการเจ็บปวย ในกรณีท่ีมีผูเจ็บปวยหลายคนใน
เหตุการณเ ดยี วกนั

การคัดแยก สามารถใชไดตั้งแตกรณีอุบัติเหตุมี
ผูบาดเจ็บ 4-5 ราย ขณะที่มีผูชวยเหลือที่จุดเกิดเหตุ เพียง
1-2 คน จนถึงกรณีอุบัตเิ หตุกลุมชนขนาดใหญท่ีมีผูบาดเจ็บ
จํานวนมาก ทต่ี อ งใชชุดปฏิบัติการหลายๆทีม เขาชวยเหลือ

ค1ูม1ือ8การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนคฉูม บือับกพากรปพฐามพยาบาลเบอ้ื งตน ฉบบั พ1ก1พ8า

และบางสถานการณตอ งใชการตัดสนิ ใจและการประสานใน
ระดบั ชาติหรอื ระดับนานาชาติ

เวลาและตําแหนง ท่ีทําการคดั แยก
การคัดแยก เปนกระบวนการซึ่งตองทําอยาง

ตอเนอ่ื ง ไมใชทาํ ณ เวลาใดเวลาหน่งึ เทา นั้น ท้ังนี้เพราะอาการ
ของผูปวยอาจดีข้ึนหรือแยลงไดตลอดเวลา ดังนั้น การทํา
การคัดแยก จะตองกระทําหลายครั้งในระหวางกระบวนการ
ดูแลผูปวย โดยอาจทําท่ีจุดเกิดเหตุ ทํากอนการเคล่ือนยาย
ทําที่จุดรักษาพยาบาลทําเม่ือมาถึงโรงพยาบาล ทําระหวางให
การดูแลรักษาในหองฉุกเฉิน แตในทางปฏิบัติสวนใหญแลว
นิยมทําการคัดกรอง อยางนอย 2 ครั้ง (Triage sort) ณ
จดุ รักษาพยาบาล แตส ําหรับผูปฏิบัติการฉุกเฉินเบ้ืองตนใหทํา
การคัดแยกคร้ังเดียวคือ การทําการคัดแยก ณ จุดเกิดเหตุ
(Triage sieve) เทานนั้

วธิ ีปฏบิ ัตใิ นการทําการคัดแยก ณ จุดเกดิ เหตุ
(Triage sieve)

โดยทั่วไป ในการทําการคัดแยก ณ จุดเกิดเหตุ มัก
กระทําโดยมีบุคลากรท่ีไปกับรถพยาบาล เชน ผูปฏิบัติการ
ฉุกเฉินเบื้องตน (FR) เวชกรฉุกเฉินระดับตน (EMT-B)

คคูมูมือือกกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบ้ือ้อื งงตตนน ฉฉบบับับพพกกพพาา 119

หรือรถพยาบาล ซึ่งการกระทําคัดแยก ณ จุดเกิดเหตุ เปน
การตรวจอยางรวดเร็ว โอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนได
แตก ็สามารถปรบั แกไขในภายหลัง ซ่งึ หลักเกณฑในการคัดแยก
สามารถกระทาํ ไดโดยการพิจารณาจาก
1. ผูป วยเดินไดเองหรือไม ถาผูปวยเดินไดเอง ทุกคน ใหจัด

กลุมอยูในกลุมมีเขียว
2. ผูป วยเดินไมไ ด ตองประเมนิ ทางเดนิ หายใจ การหายใจ

และการไหลเวยี นอยา งรวดเรว็ ดงั นี้
2.1 ประเมินทางเดินหายใจ (Airway) ใหเปดทาง

เดนิ หายใจโดยวิธพี นื้ ฐาน คอื กดหนา ผาก และเชยคางขึ้น
(Head tilt-Chin lift)

: เปดทางเดินหายใจแลว พบวา ไมหายใจ ใหจัด
อยูใ นกลุมผเู สียชวี ิต

: เปดทางเดินหายใจแลว พบวา หายใจได ใหจัด
อยูในกลุมสีแดง และใหทําการเปดทางเดินหายใจไว
ตลอดเวลา โดยอาจหรือใหผูปวยท่ีมีอาการเบาชวย จนกวา
จะมีชุดปฏิบัติการอ่ืนมาชวย เพื่อใหผูที่ทําการคัดกรอง
สามารถทําการคดั กรองผูปว ยรายอื่นไดต อ

ค1ูม2ือ0การปฐมพยาบาลเบื้องตน คฉมู บือบั กพากรปพฐามพยาบาลเบอื้ งตน ฉบับพ1ก2พ0า

2.2 กลุมที่หายใจเองได ใหประเมินการหายใจ
(Breathing) ตอ โดยการตรวจอตั ราการหายใจ ดังน้ี

: อัตราการหายใจ 10ครั้ง/นาที หรือมากกวา 29
คร้ัง/นาที ใหจ ัดอยกู ลมุ สแี ดง

: อัตราการหายใจ 10-29 คร้ัง/นาที (ปกติ) ให
ประเมินการไหลเวียนตอ

2.3 กลุมท่ีอัตราการหายใจปกติ ให ประเมินการ
ไหลเวยี น (Circulation) ตอ โดยการจับชพี จร

: ชีพจร 120 คร้ัง/นาที ขึ้นไป ใหจัดอยูในกลุม
สีแดง

: ชพี จรนอยกวา 120 ครั้ง/นาที ใหจัดอยูในกลุม
สีเหลือง

คคมู ูมอื อื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบ้ืออ้ื งงตตนน ฉฉบบับบั พพกกพพาา 121

ปา ยคดั แยกผปู วย

ค1มู 2อื 2การปฐมพยาบาลเบื้องตน คฉูมบอื บั กพากรปพฐามพยาบาลเบื้องตน ฉบับพ1ก2พ2า

คคูม มู อื อื กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลลเเบบ้ือ้อื งงตตน นฉฉบบับับพพกกพพาา 123

เอกสารอางองิ

1. สถาบนั การแพทยฉุกเฉนิ แหง ชาติ คมู อื ปฏบิ ัติการแพทย
ฉุกเฉนิ สาํ หรับชดุ ปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉนิ เบอื้ งตน พ.ศ. 2554

2. สภากาชาดไทย คมู ือปฐมพยาบาล (First Aids
Manual) 2553

124 คูมือการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน ฉบับพกพา

พมิ พค รงั้ ท่ี 1 : พ.ศ. 2557 จํานวน 3,000 เลม
อาํ นวยการ : สมัคร ดอนนาป
บรรณาธกิ าร : วาทติ ย เจรญิ ศริ ิ
ทป่ี รึกษา : อนพุ ันธ ภูพ กุ ก
เรอ่ื ง : สุรพล รมโพธเิ์ ย็น

คณะผูจัดทํา รชั สติ จงจรสั พร
วนั จักร จันทรส วา ง
จัดพมิ พโ ดย
: ศิรศกั ด์ิ สงิ หโสภณ
พมิ พท ี่ จริยา สงิ หะ
โทร บณั ฑติ คาํ ยนต
ชตุ มิ า จันทรส วาง
ณรงคศกั ด์ิ ปโย
สันติ ใบบัว
บันเทิง ถวยทอง

: สวนจดั การการทอ งเทยี่ ว

: บริษัท สหมติ รพริน้ ตง้ิ แอนดพับลสิ ช่งิ จํากัด

: 0 2903 8258






Click to View FlipBook Version