The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by itchemrta, 2022-07-03 22:59:00

62-2

62-2

ISSN 0858-8333 ปท ี่ ๓๙ เลม ที่ ๒ เดือนกรกฎาคม - ธนั วาคม ๒๕๖๒

เพื่อชาติ ศาสน กษัตริย และประชาชน
For Country, Religions, Monarchy and People



กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 1

บทบรรณาธกิ าร

สวัสดีครับสมาชิกและท่านผู้อ่านวารสารวิทยาศาสตร์ทหาร
บกทุกท่าน ฉบับนเ้ี ปน็ วารสารฉบับที่ ๓๙ เลม่ ท่ี ๒ เดือนกรกฎาคม
- ธนั วาคม ซึง่ ในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ นี้ นอกจากพสกนิกรชาวไทย
จักได้เห็นพระราชพิธีส�ำคัญอย่างกระบวนพยุหยาตราสถลมารค
ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก อนั มคี วามงดงามยงิ่ ใหญส่ มพระเกยี รติ
แล้ว อีกงานพระราชพิธีท่ีงดงามเสมอเหมือนกัน น้ันคือ กระบวน
พยุหยาตราทางชลมารค ซึ่งเป็นคร้ังแรกบนแผ่นดินรัชกาลที่ ๑๐
โดยเป็นกระบวนเสด็จพระราชด�ำเนินทางน้�ำเลียบพระนคร โดยมี
ประชาชนรอรบั เสด็จเนอื งแน่นตลอดเสน้ ทาง
วารสารวิทยาศาสตร์ทหารบกฉบับนี้ ยังคงน�ำเสนอบทความท่ีน่าสนใจอย่างต่อเน่ือง บทความทางวิชาการ
รวมถึงบทความท่ีน่าสนใจในปัจจุบันเริ่มด้วยบทความตอนจบ “ฝนเหลือง สารสีส้มกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก” โดย
พลเอก หม่อมเจา้ เฉลิมศึก ยุคล บทความทีแ่ สดงถงึ ศักยภาพของก�ำลังพล วศ.ทบ. ระดบั นานาชาติ ในการเข้ารว่ มประชมุ
และร่วมฝึกทาง คชรน. เช่น “การประชุมผู้บังคับหน่วย เคมี ชีวะ รังสี นิวเคลียร์ นานาชาติ ครั้งท่ี ๑๔” และ
“การฝึกร่วม SMEE CBRN Eastern Endeavor 2019 (EE19)” ณ เมืองปูซาน สาธารณรัฐเกาหลี รวมถึง
บทความ “หนว่ ยผลติ นำ้� ประปากองทัพบก และความเกย่ี วข้องของกรมวิทยาศาสตรท์ หารบก” ซงึ่ วศ.ทบ. รับผดิ ชอบ
ในการฝึกอบรม และให้ค�ำแนะน�ำการใช้สารเคมีในการผลิตน�้ำประปา กับหน่วยผลิตน้�ำประปากองทัพบกในประเทศ
กวา่ ๑๐๐ หนว่ ย และบทความท่ีกำ� ลงั เป็นท่ีสนใจในปจั จุบนั เช่น “Microplastic ปัญหาทม่ี ากกวา่ เศษขยะ” ท�ำให้เรา
ตระหนักว่า ไมโครพลาสติก มีผลกระทบต่อมนุษย์มากเพียงใด รวมถึงการจัดการปัญหาไมโครพลาสติกและบทความ
“เม่ือคนใกล้ตัวเป็นโรคซึมเศร้า เราควรท�ำตัวอย่างไร” ท�ำให้เราทราบวิธีปฏิบัติตัว เมื่อคนใกล้ตัวเป็นโรคซึมเศร้า
ซ่ึงในปจั จบุ ันมีผูเ้ ปน็ โรคซมึ เศรา้ มากข้นึ
สุดท้ายน้ีขอขอบคุณสมาชิกและผู้อ่านทุกท่านท่ีได้ติดตามมาโดยตลอด หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็น
โปรดแจ้งคณะผู้จัดท�ำหรือบรรณาธิการ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาในโอกาสต่อไป จักขอบพระคุณอย่างสูง พบกันใหม่
ฉบับหน้า สวสั ดีครบั

2 วารสารวทิ ยาศาสตรท์ หารบก

สารอวยพรปใี หม่พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓

พลตรี เกษมศิริ มีความดี

เจา้ กรมวิทยาศาสตรท์ หารบก

เนอ่ื งในศภุ วารดถิ ขี นึ้ ปใี หม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ผมขอสง่ ความสขุ ความปรารถนาดอี กี ทงั้ ความระลกึ ถงึ
มายงั สมาชกิ และผรู้ บั วารสารวทิ ยาศาสตรท์ หารบกทกุ ทา่ น ในรอบปที ผ่ี า่ นมากำ� ลงั พลกรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก
ทกุ ทา่ น ไดป้ ฏบิ ตั งิ านดว้ ยความตง้ั ใจ รว่ มมอื รว่ มใจกนั สง่ ผลใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านบรรลผุ ลเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์
ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ เป็นปแี หง่ ความช่นื ชมโสมนัสของพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหลา่ “พระราชพิธบี รม
ราชาภิเษก” ในเดือนพฤษภาคมท่ีผ่านมา ถือเป็นงานพระราชพิธีคร้ังส�ำคัญทางประวัติศาสตร์อีกคร้ังหน่ึงของ
ประเทศไทย มขี นึ้ ครง้ั แรกในรอบ ๗๐ ปี และเปน็ พระราชพธิ ี ครง้ั ที่ ๑๒ นบั ตง้ั แตม่ กี ารสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์
มา ๒๓๗ ปี มลี �ำดับขั้นตอนพิธีตา่ งๆอันทรงคุณค่า ย่ิงใหญ่และสมพระเกียรติ สรา้ งความปลืม้ ปิตใิ ห้ประชาชน
ชาวไทยท้ังแผ่นดนิ
สำ� หรบั ปี ๒๕๖๓ น้ี ผมขอเปน็ ก�ำลังใจใหท้ กุ คน จงอดทนมงุ่ ม่ัน ตัง้ ใจ เสยี สละ ส�ำนกึ ในหน้าท่ีความ
รับผิดชอบในส่วนของตัวเองและที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเทศชาติ ช่วยกันปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถ
เพอื่ ใหเ้ หน็ ผลทเ่ี ปน็ รปู ธรรมและหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ กรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก จะเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการสรา้ งความ
มั่นคงและความเจรญิ ก้าวหนา้ ทง้ั ของกองทัพและประเทศชาตสิ บื ไป ณ โอกาสนี้ ผมขอขอบคุณทุกท่านทีใ่ หก้ าร
สนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของกรมวิทยาศาสตรท์ หารบกด้วยดีมาโดยตลอด
ในวาระอันเป็นศุภมงคลนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และอ�ำนาจส่ิงศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายท่ีทุก
ทา่ นเคารพนบั ถอื อกี ทง้ั เดชะพระบารมอี นั แผไ่ พศาลแหง่ องคส์ มเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯโปรดดลบนั ดาลพระราชทาน
พรให้สมาชิกและผู้อ่านวารสารวิทยาศาสตร์ทหารบกทุกท่าน พร้อมทั้งครอบครัว จงประสบแต่ความสุขด้วย
จตุรพิธพรชัย สมบูรณ์พร้อมด้วยก�ำลังกาย ก�ำลังใจและก�ำลังสติปัญญา สัมฤทธ์ิผลในส่ิงอันพึงปรารถนาทุก
ประการ

พลตรี
(เกษมศิร ิ มคี วามด)ี
เจา้ กรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 3

ปีที่ ๓๙ เลม่ ที่ ๒ เดอื นกรกฎาคม - ธนั วาคม ๒๕๖๒

ทีป่ รึกษากติ ติมศกั ด์ิ แมน่ ศรแผลง ผอู้ �ำนวยการ มีความดี
วงศ์อาจ
พล.อ. วนิ ัย กลอ่ มศิริ พล.ต. เกษมศริ ิ
พล.ท. ประจวบ ศรเี พญ็
พล.ท. สรวุฒิ เทวพิทกั ษ์ รองผูอ้ �ำนวยการ ศรีศริ ิ
พล.ท. ชูศกั ดิ์ หิรัญรศั มี แก่นก�ำจร
พล.ท. ปรชี า คล้ายใยทอง พ.อ. สมภพ ศริ ิโสภณ
พล.ต. ปยิ ะ เครือเชา้
พล.ท. จริ เดช ใจม่ัน พ.อ. เรอื งศกั ดิ์
พล.ท. นพดล อินทโุ ศภน
พล.ท. เจดจ็ ศิลาอาศน์ พ.อ. เศรษฐส์ รรค์
พล.อ. วีรชัย กล่�ำสมบัติ
พล.อ. วิโรจน์ ผชู้ ว่ ยผอู้ �ำนวยการ ชมภจู ันทร์
พล.ท. พรประสิทธ์ิ วงศ์หาริมาตย์
พ.อ. สุรฤทธ์ิ

พ.อ. อัครฉันท์

เลขานกุ าร พ่ึงพินจิ

พ.อ. ปวีน

ทป่ี รกึ ษา มรรคยาธร บรรณาธกิ าร เศรษฐบุตร
ภักดีอทุ ธรณ์
พ.อ.หญิง เมทนิ ี คนคลอ่ ง พ.อ. พรชยั
พ.อ. กฤษฎา พุ่มศรีนลิ
พ.อ. สมพงษ์ ประจ�ำกองบรรณาธิการ
พ.อ. อโณทัย
พ.อ.หญิง จรุ ีพร อมั ราลขิ ิต

พ.อ. ปฏวิ ัติ มลุ าลินน์

พ.อ.หญิง อมุ าภรณ์ เพง่ ผล

พ.ท. ศิริศักด์ิ สสี าเอย่ี ม

ร.ท.หญงิ อญั ภัทร ศรีวเิ ศษ

ร.ท.หญิง ลัดดาวลั ย์ อรุณเลศิ

ร.ต.หญิง กาญจนา เชยชนื่ กลิน่

ร.ต. รงั สรรค์ ฐิตธรรมโม

ร.ต.หญิง ณุพร โกไศยกานนท์

ว่าที่ ร.ต. ภัทรพล อิ่มสมบัติ

ฝ่ายจดั หารายได้ เบามะเริง

พ.อ. ชชั วาลย์รุง่ โรจน์

นายทะเบียน ทรพั ย์สกลุ

พ.ท.หญิง จฑุ าณฐั

ทป่ี รกึ ษาทางกฎหมาย

พ.ต. ธนันท์รฐั นาคะชาต

เหรญั ญกิ ยาคมุ้ ภัย

พ.ท. เจษฎา

4 วารสารวทิ ยาศาสตรท์ หารบก

ปีที่ ๓๙ เลม่ ที่ ๒ เดอื นกรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒

๖ ๑๓ ๑๖ ๑๘

๒๒ ๒๔ ๒๖ ๒๘ ๓๒

๓๕ ๓๘ ๔๑ ๔๓

ฝนเหลือง สารสีสม้ กรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก ๖
ตอนท่ี ๒ (ตอนจบ): สารสีสม้ กับกรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก
การประชุมผบู้ ังคับหน่วย เคมี ชีวะ รงั สี นวิ เคลยี ร์ นานาชาติ ครงั้ ท่ี ๑๔ ๑๓
(The 14th international CBRN Commandants and Commanders Conference : ICCC)
๑๖ - ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ค่ายนีซนู ประเทศสิงคโ์ ปร์ ๑๖
การฝึกรว่ ม SMEE CBRN Eastern Endeavor 2019 (EE19) ๑๘
หน่วยผลติ น�้ำประปากองทัพบก และความเกยี่ วขอ้ งของกรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก ๒๒
การฝึกดำ� เนนิ กลยุทธใ์ นสนาม กรมวิทยาศาสตรท์ หารบก ๒๔
สิง่ ประดษิ ฐท์ างทหาร เกราะปอ้ งกนั สะเกด็ ระเบดิ
ตดิ บริเวณ แขน ขา หวั เข่า และปอ้ งกันกระสนุ ปืน Level -3A ๒๖
สารเคมรี ะเบดิ แหลมฉบัง ความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ หรือความมักงา่ ย ๒๘
เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยทางรังสี (RSO) ๓๒
เมอื่ คนใกลต้ ัวเป็นโรคซมึ เศรา้ เราควรทำ� ตวั อย่างไร ๓๕
ส�ำเร็จไดม้ ากกว่า...เมอ่ื ต้ังเปา้ หมายไดฉ้ ลาดกว่า... ๓๘
Microplastic ปัญหาท่ีมากกวา่ แค่เศษขยะ ๔๑
บัตรพลังงาน ความลวงโลกท่สี ือ่ ถงึ ปัญหามากกวา่ ท่ีคดิ ๔๓
จติ อาสา “เราท�ำความดเี พือ่ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์”

ข้อคดิ เหน็ และบทความทนี่ ำ� ลงในวารสารวิทยาศาสตร์ทหารบกเป็นของผเู้ ขยี น มิใช่ขอ้ คดิ เหน็ หรอื นโยบายของหน่วยงานรัฐ และมิไดผ้ กู พันต่อทางราชการแตอ่ ย่างใด
กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ถนนพหลโยธนิ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๗๙ ๑๕๕๔, ๐ ๒๕๗๙ ๑๕๖๑ http://chemical.rta.mi.th/index_main.html
พมิ พท์ ี่ : บรษิ ทั ไทภูมิ พบั ลชิ ชงิ่ จำ� กัด เลขที่ ๒๔/๖-๗ หมู่ ๗ ต.คลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี ๑๑๑๒๐ โทร. ๐๒-๙๒๖-๑๒๖๑-๒ สายด่วน ๐๘๑-๘๑๗-๐๙๐๑
แฟก็ ซ.์ ๐๒-๙๒๖-๑๒๖๓ E- mail : [email protected] www.thaiphumpublishing.com

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 5

ฝนเหลือง สารสสี ้ม กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก

ตอนที่ ๒ (ตอนจบ): สารสสี ้มกบั กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก

พล.อ.หมอ่ มเจ้าเฉลมิ ศึก ยุคล
[email protected]

สารเคมที างการเกษตรที่ใชก้ �ำจัดวชั พชื สารตามความต้องการ โดยการฆ่า ท�ำลาย ยับยั้งหรือ

วัชพืช (weed) หมายถึง พชื ชนดิ ใดกต็ ามทีข่ น้ึ ผดิ ท่ี บังคับการเจริญงอกงามของพืช ในขณะท่ีพืชงอกแล้วหรือ
หรือในท่ีซึ่งไม่ต้องการให้ขึ้น หรือ พืชท่ีไม่มีประโยชน์หรือ ยังไมง่ อกจากเมล็ดหรอื ส่วนขยายพนั ธ์ุ เชน่ หัว เหงา้ ไหล
ไม่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะพืชท่ีแย่งอาหารพืชที่ สารเคมีก�ำจัดวัชพืชมีจ�ำหน่ายท่ัวไปในท้องตลาด
เพาะปลกู ในเรอื กสวนไรน่ า เกษตรกรอาจกำ� จดั วชั พชื โดยใช้ ใช้เพื่อก�ำจัดวัชพืชหรือป้องกันไม่ให้วัชพืชงอกในพ้ืนที่ใช้
เคร่ืองมือท�ำสวนซ่ึงต้องอาศัยแรงงาน หรืออาจทุ่นแรงด้วย ประโยชน์ อาทิ ไร่ นา สวน พื้นที่ของโรงงานหรอื คลัง และ
การใช้เครื่องมือกล หรือใช้สารเคมีท�ำลายวัชพืช ซึ่งท�ำลาย สองข้างถนน การใช้ในลักษณะนี้ไม่ว่าจะโดยผู้ใด พลเรือน
ท้ังวัชพืชและสิ่งแวดล้อม เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ หรอื ทหาร และไมว่ า่ จะใชใ้ นพนื้ ทข่ี องพลเรอื นหรอื พน้ื ทข่ี อง
เกษตรกรไทยนยิ มเรยี กกนั วา่ “ยาฆา่ หญา้ หรอื ยาปราบหญา้ ” หนว่ ยทหาร ไม่ถือเปน็ การใช้อาวธุ เคมี เพราะมเี จตนาใช้ใน
แต่ทางราชการบัญญัติศัพท์ไว้ว่า สารเคมีก�ำจัดวัชพืช ทางสนั ติ แตถ่ า้ ผใู้ ดนำ� สารเคมกี ำ� จดั วชั พชื ไปใชเ้ ปน็ วธิ หี นงึ่
(herbicides) แต่ในความเป็นจริงสารเคมีก�ำจัดวัชพืช ในการท�ำสงครามแล้ว จะถือว่าเป็นการใช้อาวุธเคมี
สามารถท�ำอันตรายพืชได้หลายประเภท ท้ังพืชยืนต้น อันเป็นการกระท�ำที่ละเมิดบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาห้าม
(perennial plant) และพืชล้มลกุ (annual plant) ทง้ั พชื อาวธุ เคมี พ.ศ.๒๕๓๖ (Chemical Weapons Convention
ใบแคบหรือพืชใบเล้ียงเด่ียว (narrow leaf plant หรือ 1993) ในการนำ� ไปใช้เชน่ น้ี ทหารไม่ไดค้ ดิ คน้ หรือผลติ สาร
monocotyledon) และพชื ใบกวา้ งหรอื พชื ใบเลยี้ งคู่ (broad กำ� จัดวัชพชื ข้นึ ใชเ้ อง แตน่ ำ� สารเคมีกำ� จดั วชั พชื ท่มี ีจ�ำหน่าย
leaf plant หรอื dicotyledon) แล้วแต่จะเลอื กชนดิ ของ อยู่แลว้ ไปใช้ทางยุทธวธิ ี

6 วารสารวทิ ยาศาสตรท์ หารบก

การจำ�แนกสารเคมกี ำ�จัดวชั พืช

มีวิธจี ำ� แนกสารเคมีก�ำจดั วัชพชื หลายวิธี อาทิ
๑. จ�ำแนกตามชนิดของพืชเป้าหมาย (on the basis of targeted plants)
❧ สารท่ที ำ� อนั ตรายพชื เฉพาะชนิด (Selective Chemicals) ท�ำอนั ตรายพืชบางชนดิ แต่ไม่ทำ� อนั ตรายหรอื

มผี ลเล็กนอ้ ยกับพืชชนิดอ่ืนท่ขี ้นึ อย่ดู ว้ ยกัน เชน่ ฆ่าหญา้ แตไ่ มท่ �ำอันตรายพชื ยืนต้น
❧ สารที่ทำ� อันตรายพืชทกุ ชนิด (Non-selective Chemicals) ทำ� อันตรายพชื ทุกชนิด แตก่ ม็ ีพืชบางชนิดท่ี

ทนได้ดีหรอื รอดพ้นจากการทำ� อันตรายได้ ในกรณหี ลงั ไดแ้ ก่พชื ล้มลกุ ท่มี ีหัวหรือเหงา้ อยูใ่ ต้ดนิ
๒. จำ� แนกตามลกั ษณะวธิ ที ำ� อนั ตราย (on the basis of mode of action)
❧ สารท่ีท�ำอันตรายเมื่อสัมผัส (Contact Chemicals) ท�ำอันตรายพืชเฉพาะส่วนที่สัมผัสกับสารเท่านั้น

จะไม่หรือเกือบจะไม่ซึมซาบและเคลื่อนไปยังส่วนอื่นของพืชเลย ส่วนของพืชที่ยังไม่สัมผัสกับสาร
จะมีการเจริญเติบโตต่อไป หรือท�ำอันตรายส่วนของพืชที่เป็นสีเขียว เช่น ยอด และใบ แสดงผลเร็ว
ภายใน ๒-๓ ชั่วโมง หรือ ๒-๓ วันหลังการสัมผัส พืชจะตายหรือสามารถฟื้นตัวได้ในภายหลังขึ้นอยู่
กับเน้ือที่ที่สัมผัสกับสารหรือมีส่วนที่จะงอกได้ในภายหลังได้รับการป้องกันไว้ เช่น พืชล้มลุกท่ีมีหัวหรือ
เหง้าอยู่ใตด้ นิ จะงอกใหมไ่ ดอ้ ีก
❧ สารท่ีท�ำอนั ตรายหลังการดูดซมึ (Systemic หรอื Translocated Chemicals) เมือ่ สมั ผัสกับพืชแลว้ สาร
พวกนจ้ี ะซึมเข้าทางใบ ก่งิ กา้ น ลำ� ต้น หรือราก แล้วถกู เคล่อื นย้ายไปยงั สว่ นอืน่ ของพืช โดยจะไปทำ� ลาย
ระบบการสง่ นำ้� และระบบสง่ อาหารของพชื แต่จะแสดงผลชา้ กวา่ สารท่ที ำ� อนั ตรายเมอื่ สัมผัส พชื จะตาย
ทั้งต้นในท่ีสดุ ถา้ ไดร้ บั สารในปริมาณมาก แต่ถา้ ใช้เจอื จางไปพชื อาจกลับฟื้นเป็นปกตบิ างส่วนหรอื ท้งั ตน้
❧ สารทที่ �ำให้ดนิ เสอื่ ม (Soil-residual Chemicals หรือ Soil Sterilants) เปน็ สารทใ่ี ช้พน่ หรอื ราดลงดิน
มผี ลอนั ตรายตอ่ เมลด็ หรอื สว่ นทข่ี ยายพนั ธไ์ุ ดข้ องพชื ทอี่ ยใู่ นดนิ สารพวกนมี้ ผี ลตกคา้ งในดนิ คอ่ นขา้ งนาน
โดยทวั่ ไปตง้ั แต่ ๔ สัปดาหข์ นึ้ ไปจนถึงเปน็ ปี ถา้ ดินมีสารตกค้างเกินกว่า ๒ วนั แตไ่ ม่เกนิ ๔ เดอื น ถอื เป็น
การเสอื่ มชั่วคราว ถ้าเกิน ๔ เดอื นแต่ไม่เกนิ ๒ ปี ถือเป็นการเสอ่ื มกึ่งถาวร ถา้ เกินกวา่ ๒ ปขี ึน้ ไปถอื เปน็
การเสื่อมถาวร ระยะเวลาการตกค้างในดินข้ึนอยู่กับอัตราการเส่ือมของสาร การถูกน�้ำชะละลาย
การท�ำปฏิกิริยากับสารเคมีในเน้ือดิน และความถ่ีในการใช้ พืชต่างชนิดมีความทนทานต่อสารท�ำให้
ดนิ เส่อื มไม่เท่ากนั (เกษตรกรเรียกสารพวกนี้วา่ “ยาคมุ ”)
๓. จ�ำแนกตามผลอันตรายท่ีเกิด (on the basis of toxic effects)
❧ สารบังคับการเจริญเติบโต (Plant Growth Regulators) ภายหลังการดูดซึมจะส่งเสริม ยับย้ังหรือ
เปลีย่ นแปลงกระบวนการทางสรีรวิทยาของพชื จนบางครง้ั ทำ� ใหพ้ ชื ตายได้ มชี อ่ื เรยี กอีกหลายอยา่ ง เช่น
Growth Modifiers และ Growth Substances สารพวกนจี้ ะท�ำปฏกิ ริ ิยาเลยี นแบบฮอร์โมนควบคมุ การ
เจรญิ เติบโตของพืช และทำ� อันตรายส่วนของพืชที่ก�ำลังเจริญงอกงาม เช่น ตา ยอดอ่อน ก่งิ และกา้ น
❧ สารทำ� ให้ใบรว่ ง (Defoliants) ทำ� ใหใ้ บพืชร่วงก่อนกำ� หนดหรอื กอ่ นถงึ ฤดูกาล
❧ สารท�ำให้พืชเห่ียวแห้ง (Desiccants) ท�ำให้ก่ิงก้านและใบพืชเหี่ยว โดยไม่จ�ำเป็นต้องหลุดร่วงเสมอไป
สารพวกนต้ี ามปกตไิ มท่ ำ� ให้พืชตาย เว้นแตจ่ ะใช้ในปริมาณมากเกินไปหรือใชต้ ิดต่อกนั หลายครง้ั

การใช้สารเคมีกำ�จดั วัชพชื ในปฏิบัติการทางทหาร

ทหารบญั ญตั ศิ พั ทเ์ รยี กสารเคมกี ำ� จดั วชั พชื ทใี่ ชใ้ นการปฏบิ ตั กิ ารทางทหารวา่ “สารทำ� ลายพชื ” (Antiplant Agents)
ซึ่งหมายถึง สารเคมีซึ่งใช้ในปฏิบัติการทางทหาร เจตนาเพื่อท�ำอันตรายพืช ทหารใช้สารท�ำลายพืชเพื่อท�ำลายพืชในป่าท่ี
ข้าศึกใช้เป็นท่ีหลบซ่อนซ่องสุมก�ำลัง ท�ำลายพืชท่ีข้ึนสองฝั่งถนนหรือล�ำน้�ำท่ีข้าศึกใช้เป็นที่ก�ำบังซุ่มโจมตี ท�ำลายพืชท่ีขึ้น
หนาทึบรอบฐานที่ม่ันเพ่ือป้องกันไม่ให้ข้าศึกใช้เป็นที่ก�ำบังเข้าโจมตี และท�ำลายพืชที่ฝ่ายข้าศึกเพาะปลูกไว้เป็นอาหาร
นอกจากนีใ้ นบางครัง้ ยงั หวงั ผลให้เกิดอันตรายตอ่ ก�ำลงั พลฝ่ายขา้ ศกึ ท่สี ัมผัสกบั สารท�ำลายพชื

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 7

ตัวอยา่ งสารทำ�ลายพชื และการใช้

 2, 4-D (2, 4-dichlorophenoxy acetic acid)
 2, 4, 5-T (2, 4, 5-trichlorophenoxy acetic acid)
 กรดคาโคดิลิก (Cacodylic Acid)
 พคิ ลอแรม (Picloram)
 โบรมาซิล (Bromcil)
 สารสีส้ม (Agent Orange)
 สารสีชมพู (Agent Pink)
 สารสีม่วง (Agent Purple)
 สารสนี �้ำเงิน (Agent Blue)
 สารสีเขยี ว (Agent Green)
 สารสขี าว (Agent White)
สารท�ำลายพืชอาจเป็นผงหรือเป็นของเหลว บางชนิดละลายน้�ำได้ บางชนิดละลายน�้ำไม่ได้แต่ละลายน�้ำมันได้
ทั้งน้ีเวลาใช้งานจะต้องให้อยู่ในสภาวะเป็นของเหลว โดยท่ัวไปใช้ผสมกันตั้งแต่ ๒ ชนิดข้ึนไป หรือผสมกับสารอื่น เช่น
น�้ำมันดเี ซล น�้ำมนั ก๊าด หรอื น้ำ� และสารลดความตงึ ระหว่างผวิ (surface active agents หรอื surfactants) เพือ่ ชว่ ยใหซ้ ึม
เกาะติด หรือแผก่ ระจายท่ัวผวิ ของพืชไดด้ ยี ่งิ ขึน้ การใช้ทางยทุ ธวธิ ใี ช้ในความเขม้ ขน้ สูงกวา่ ท่ีพลเรือนใช้กันตามปกติ

ประวตั ิการใชส้ ารทำ�ลายพืช

ในสมยั ทีม่ าเลเซียยงั เป็นอาณานคิ มขององั กฤษ องั กฤษใช้สาร 2, 4, 5-T ซึง่ เป็นหน่งึ ในสารท�ำลายพืชสามชนิดท่ี
สหรฐั ฯ คดั เลือกเอาไว้ใช้ พน่ ใสพ่ ืชไร่และพน่ ใส่ปา่ ท่ีหลบซ่อนส้องสุมกำ� ลังของโจรคอมมูนิสตม์ ลายา (Communist Party
of Malaya)

ในสงครามเวียดนาม สหรฐั ฯ ประสบอุปสรรคและความสญู เสียสูงในการรบในป่าเชน่ เดยี วกบั องั กฤษ จงึ ตัดสนิ ใจ
ใชส้ ารทำ� ลายพชื ทำ� ลายปา่ ทท่ี หารเวยี ดกงใชเ้ ปน็ ทห่ี ลบซอ่ น ในปี ๒๕๐๔ สหรฐั ฯ และเวยี ดนามใตร้ ว่ มโครงการทดลองทำ� ให้
ใบไมร้ ่วงเพ่ือหาสารเคมแี ละเครอ่ื งมอื ท่ีเหมาะสม เมื่อเลอื กสารเคมแี ละทดลองหาวิธพี ่นละอองทเ่ี หมาะสมไดแ้ ล้ว ในเดือน
พฤศจิกายนปีนั้นกองทัพอากาศสหรัฐฯ จึงส่งเครื่องบินล�ำเลียงแบบ ซี-๑๒๓ ท่ีได้ดัดแปลงติดต้ังถังบรรจุสารเคมีขนาด
๔,๐๐๐ ลติ ร พรอ้ มทอ่ และหวั พน่ ละออง และสามารถพน่ ละอองสารทำ� ลายพชื จนหมดถงั ภายในเวลาเพยี ง ๕ นาที (กำ� หนด
แบบของเครื่องบนิ เปน็ ยูซี-๑๒๓) จ�ำนวน ๓ ล�ำ (เอกสารบางฉบับวา่ ๔ ลำ� บางฉบบั วา่ ๖ ล�ำ) จากฐานทัพอากาศคล้าก
ในฟิลิปปินส์ เป็นหน่วยส่วนแยกไปประจ�ำในเวียดนามใต้ เรียกชื่อว่า “ส่วนแยกลูกมือคอกปศุสัตว์” (Ranch Hand
Detachment) เพ่ือเริ่มปฏิบัติการภายใต้แผนยุทธการช่ือเดียวกันในปี ๒๕๐๕ โดยมีค�ำขวัญอย่างไม่เป็นทางการว่า
“เราเท่านั้นที่หยุดย้ังป่าได้” เพ่ือท�ำลายป่าบริเวณใกล้กับเขตปลอดทหาร (Demilitarized Zone, DMZ) ซ่ึงกั้นระหว่าง
8 วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

เวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ และเร่ิมท�ำลายพืชไร่ พืชสวน และข้าวของฝ่ายตรงข้ามในปี ๒๕๐๗ ตามค�ำร้องขอของ
กองทพั เวยี ดนามใต้ และตงั้ แตป่ ลายปี ๒๕๐๘ ไดข้ ยายปฏบิ ตั กิ ารเขา้ ไปในลาวตามเสน้ ทางโฮจมิ นิ ห์ ซง่ึ เปน็ เสน้ ทางแทรกซมึ
และส่งก�ำลังของทหารเวียดนามเหนือ นอกจากเคร่ืองบินแบบ ยูซี-๑๒๓ แล้วสหรัฐฯ ยังใช้เครื่องบินแบบ ซี-๔๗
และ ฮ.ท่ีประจ�ำการในเวียดนามใต้และใช้เครื่องบินของกองทัพอากาศเวียดนามใต้ร่วมปฏิบัติการด้วย อีกท้ังเพิ่มการพ่น
ละอองทางบกจากรถยนตบ์ รรทุกและรถสายพานล�ำเลียงพล และทางน้�ำจากเรอื ปฏิบตั ิการตามล�ำนำ�้ การใชส้ ารท�ำลายพืช
ยุติลงในปี ๒๕๑๓ เม่ือมีการร้องเรียนว่าสารสีส้มเป็นตัวการท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยและท�ำลายส่ิงแวดล้อมอย่างรุนแรง
จนไม่สามารถฟ้นื ตัวได้ในระยะสน้ั

จนถงึ ปี ๒๕๑๐ ประมาณวา่ มปี า่ ในเวยี ดนามใตถ้ กู ทำ� ลายไปเปน็ เนอื้ ทถ่ี งึ ๖,๐๐๐ ตารางกโิ ลเมตร หรอื คดิ เปน็ ระยะ
ทางยาวเท่ากับเส้นพรมแดนระหว่างสหรัฐฯ กับแคนนาดา และมีไร่นาถูกท�ำลายไปอีกประมาณ ๙๐๐ ตารางกิโลเมตร
คิดเป็นเงินค่าใช้จ่ายตามแผนยุทธการนี้ประมาณ ๔๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในสมัยนั้น ผลอันตรายไม่ได้เกิดกับพืชเท่าน้ัน
แต่มนุษย์ สัตว์ ดิน และระบบนิเวศน์ยังได้รับอันตรายจนกระทั่งทุกวันน้ี ท�ำให้รัฐบาลสหรัฐฯ และบริษัทผู้ผลิตสารเคม ี
ถกู ทหารผ่านศกึ เวียดนามและครอบครวั ฟอ้ งเรียกคา่ เสยี หายเป็นเงินให้หลายรอ้ ยลา้ นเหรยี ญ

ข้อมูลทั่วไปเกยี่ วกับการทำ�อันตรายรา่ งกาย

สารเคมีก�ำจัดวัชพืชท่ีบริสุทธิ์ส่วนใหญ่มีพิษปานกลางต่อสัตว์เลือดอุ่น แต่กรรมวิธีผลิตในโรงงานท�ำให้เกิดสารปน
เป้อื นท่ีมีพิษร้ายแรง เช่น สารไดออกซนิ (Dioxin หรอื TCDD คอื 2, 3, 7, 8-tetrachloro-dibenzo-para-dioxin) ซ่งึ มี
พษิ ระดบั เดยี วกบั สารประสาทแตม่ อี นั ตรายแบบหนว่ งเวลา กลา่ วคอื ทำ� ใหเ้ กดิ โรคมะเรง็ ทำ� ใหท้ ารกในครรภม์ รี า่ งกายพกิ าร

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 9

และท�ำให้เกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม จึงท�ำให้สารเคมีก�ำจัดวัชพืชบางชนิดมีพิษร้ายแรง ประกอบกับการน�ำสารเคมี
ก�ำจัดวัชพืชไปใช้เป็นสารท�ำลายพืชเป็นการใช้ทางยุทธวิธี ซ่ึงใช้ในความเข้มข้นสูงกว่าท่ีใช้กันตามปกติและในปริมาณมาก
ท�ำใหม้ ีอนั ตรายตกคา้ งจากสารปนเปือ้ น

สารเคมีกำ�จัดวัชพชื ท่ีสหรัฐฯ ใช้ในสงครามเวียดนาม

สารท�ำลายพืชที่ทหารสหรัฐฯ ใช้ในสงครามเวียดนามมีหลายชนิดและหลายสูตร บางสูตรเป็นสารเคมีชนิดเดียว
บางสูตรเป็นสารเคมีหลายชนิดผสมกัน สารท�ำลายพืชท่ีส่งมาจากสหรัฐฯ บรรจุอยู่ในถังเหล็กทรงกระบอกขนาดความจุ
๒๐๐ ลิตร แต่ละสตู รมีช่ือเรียกเป็นรหสั ตามแถบสที ีท่ าถงั บรรจุ (ไมใ่ ชส่ ขี องสารเคมีตามท่ีเขา้ ใจผดิ กนั ) ได้แก่ สารสมี ่วง
สารสีขาว สารสนี ้�ำเงิน สารสเี ขยี ว สารสีชมพู และสารสีสม้ นอกจากน้ยี งั ใช้สารท�ำใหด้ นิ เสอ่ื มดว้ ย สารสสี ม้ เปน็ สารท่ถี ูกนำ�
ไปใช้บ่อยครัง้ ท่ีสดุ ในปริมาณมากทสี่ ุด และในระยะหลงั มีการปรบั ปรงุ สูตรเป็นสารสสี ม้ -2 และซปุ เปอรส์ ารสีส้ม สารสสี ้ม
และสารสขี าวเป็นสารทใี่ ชเ้ ปน็ หลกั ในการท�ำลายปา่ สารสีน้ำ� เงนิ เป็นสารที่ใช้เปน็ หลกั ในการทำ� ลายพชื ผล

สารสสี ้มเป็นสารผสมระหวา่ งสาร 2, 4-D กบั สาร 2, 4, 5-T ในอตั ราส่วน ๕๐ : ๕๐ เป็นของเหลวสีน้�ำตาลอมแดง
ละลายได้ในน้ำ� มันดีเซลแตไ่ ม่ละลายนำ้� กอ่ นนำ� ไปใชจ้ ะผสมกบั นำ้� มนั ดเี ซลในอัตราสว่ นสารสีส้ม ๙๕% ตอ่ น้ำ� มนั ๕% แต่
บางครั้งอาจใชส้ ารสีส้มล้วน ๆ เปน็ สารบังคบั การเจริญเตบิ โตและท�ำใหใ้ บรว่ ง ท�ำอันตรายหลังการดูดซมึ ท�ำอนั ตรายได้ท้งั
พืชใบกว้าง (ใบเลีย้ งคู)่ และพืชใบแคบ (ใบเลย้ี งเดยี่ ว) ใบไผแ่ ละใบหญ้าคาเปล่ียนเป็นสีน้ำ� ตาลในตอนแรกและยอดบางส่วน
อาจตาย แต่ต่อมาอาจงอกงามเป็นปกติ ส่วนพืชยืนต้นใบกว้างจะค่อย ๆ เกิดผลอันตรายเป็นขั้น รุนแรงข้ึนตามล�ำดับ
เป็นสารท่ีถูกใช้ในปริมาณมากที่สุดและในพ้ืนท่ีกว้างขวางท่ีสุดในเวียดนาม ใช้ทั้งในการท�ำให้ใบไม้ในป่าร่วงหล่นและ
ใช้ท�ำลายพืชไร่และพืชสวน ผลอันตรายระยะยาวต่อมนุษย์ท�ำให้เกิดโรคมะเร็ง ให้ก�ำเนิดทารกท่ีมีร่างกายพิการ เช่น
ปากแหว่ง เพดานปากโหว่ กระดูกผิดปกติ แขนขาพิการ อวัยวะภายในผิดปกติ เป็นต้น และท�ำให้เกิดความผิดปกติ
ทางพนั ธุกรรมถ่ายทอดสชู่ ว่ั คนต่อ ๆ ไปได้
10 วารสารวิทยาศาสตรท์ หารบก

การใช้สารทำ�ลายพชื ในไทยและความเก่ยี วข้องกบั วศ.ทบ.

ระหวา่ งเดอื นเมษายน ๒๕๐๗ - เมษายน ๒๕๐๘ สหรฐั ฯ หนว่ ยงานวจิ ยั ขน้ั สงู ของโครงการทดลองใชส้ ารทำ� ใหใ้ บไม้
รว่ ง (Advanced Research Agency for Defoliant Test) ไดเ้ ขา้ มาด�ำเนินงานในประเทศไทย เพ่อื หาสตู รทเี่ หมาะสมกอ่ น
นำ� ไปใชป้ ฏบิ ตั ิการจรงิ ในเวียดนามและลาว โดยใช้สนามบินบ่อฝา้ ย อ.หวั หิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ เป็นทเ่ี ติมสารเคมีใส่ถงั พ่น
ละอองของเครอ่ื งบิน และบินขนึ้ ไปพน่ ละอองใส่พืน้ ที่ของศูนยฝ์ กึ ก�ำลังทดแทน อ.ปราณบุรี ในส่วนทเ่ี ปน็ ป่าและยงั ไม่มีการ
ใช้ประโยชน์ ซงึ่ ปัจจบุ ันคือบริเวณทา่ เสด็จของสนามฝึกทางยุทธวธิ ี ศนู ย์การทหารราบ คา่ ยธนะรัชต์ ถังบรรจแุ ละสารเคมี
ทำ� ลายวัชพชื ทั้งทีเ่ ป็นของเหลวและเป็นผงซง่ึ เหลอื จากการทดลองแตล่ ะสูตร จะถกู เจา้ หน้าท่สี หรฐั ฯ ขนออกไปจากสนาม
บนิ บ่อฝา้ ยจนหมด แล้วน�ำสารเคมีชนิดใหม่มาเปลยี่ นให้ ยกเวน้ คร้ังสดุ ทา้ ยของโครงการทดลองที่ลูกจ้างคนไทยไดร้ บั ค�ำสัง่
ใหน้ ำ� ถงั บรรจสุ ารเคมที เี่ หลอื ใชท้ งิ้ ลงในบอ่ ภายในสนามบนิ และฝงั กลบ จนกระทง่ั เมอื่ มกี ารกอ่ สรา้ งเพอ่ื ขยายทา่ อากาศยาน
หวั หนิ (บอ่ ฝ้าย) จงึ ถูกขุดพบในปี ๒๕๔๒ แต่ไม่ปรากฏว่าก่อใหเ้ กิดอันตรายต่อผ้ใู ด เวน้ แต่มกี ลนิ่ เหมน็ รบกวน เหตุการณ์
ในครงั้ นก้ี อ่ ใหเ้ กดิ ขา่ วครกึ โครมในเวลาตอ่ มา เนอ่ื งจากนกั เรยี นการบนิ ของศนู ยฝ์ กึ การบนิ สถาบนั การบนิ พลเรอื น ซง่ึ ตงั้ อยู่

ทนี่ ่ัน ทนสูดดมกล่ินไม่ไหว จงึ ไปร้องเรียนผูบ้ งั คับบัญชา แตผ่ บู้ ริหารท่าอากาศยานหัวหนิ ก็ยังไม่ด�ำเนนิ การใด นักเรยี นไป
พดู คยุ บน่ กนั ในตวั เมอื งหวั หนิ จนความไดย้ นิ ถงึ ผสู้ อื่ ขา่ วหนงั สอื พมิ พท์ อ้ งถนิ่ ซงึ่ เปน็ สายขา่ วภมู ภิ าคของหนงั สอื พมิ พส์ ว่ นกลาง
ในกรงุ เทพฯ จึงไดไ้ ปขอค�ำชีแ้ จงจากผูอ้ ำ� นวยการท่าอากาศยานเพื่อเขยี นข่าวและขออนุญาตถา่ ยภาพถงั บรรจุสารเคมที ่ขี ุด
พบ แตถ่ ูกปฏิเสธ ทำ� ให้น�ำไปส่กู ารขดุ ค้ยุ เรอ่ื งราวเก่ียวกบั สารเคมีที่ร่�ำลอื กนั ว่าอาจเปน็ สารท�ำลายพืชของสหรฐั ฯ ไดข้ อ้ มูล
เกี่ยวกับสารสีสม้ และผลอนั ตรายท่ีเกิดในเวียดนาม หนังสอื พิมพส์ ว่ นกลางน�ำไปขยายความเขียนเป็นข่าวสำ� คญั จนลุกลาม
ไปท�ำเกิดการประท้วงของประชาชนใน อ.หัวหิน รัฐบาลส่งข้าราชการผู้ใหญ่จากกรุงเทพฯ ไปดูแลและระงับเหตุ โดยนัก
วทิ ยาศาสตรแ์ นะนำ� ใหน้ ำ� ไปฝงั กลบอกี ครง้ั หนงึ่ หลงั ทราบผลการตรวจตวั อยา่ งทสี่ ง่ ตรวจหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแลว้ กรมวทิ ยาศาสตร์
ทหารบกได้รับมอบหมายจากกองทัพบกให้ตรวจสอบเร่ืองนี้ เน่ืองจากเป็นสารเคมีท่ีรับผิดชอบ ผู้เขียนเดินทางไปหัวหิน
ตดิ ตอ่ หาตวั ผ้ทู เ่ี คยทำ� งานใหส้ หรฐั ฯ ไดพ้ บและสมั ภาษณ์ ๒ คน กบั ชา่ งภาพทเี่ คยไดร้ บั การวา่ จา้ งใหถ้ า่ ยภาพ โดยเฉพาะทกุ
ครั้งหลังการพ่นละอองท่ีค่ายธนะรัชต์ เพ่ือใช้ประกอบรายงานการประเมินผล ท�ำให้ได้รับข้อมูลของโครงการทดลองของ
สหรัฐฯ เพิม่ เตมิ จากทไี่ ด้รับจากผูท้ เ่ี คยท�ำงานในโครงการนีท้ ส่ี นามบินบ่อฝ้าย สรปุ ใจความได้ตามทเ่ี ขียนข้างต้น และได้ชดุ
ภาพถา่ ยเปน็ ของกำ� นลั มาจากหวั หนิ ดว้ ย นา่ เสยี ดายทภ่ี าพขนาดใหญข่ องนกั วทิ ยาศาสตรห์ วั หนา้ โครงการทไ่ี ดถ้ า่ ยไวใ้ นหอ้ ง
ภาพได้รับความเสยี หายเมอ่ื คราวน้�ำทว่ มใหญ่กรงุ เทพฯ
นอกจากโครงการทดลองหาสตู รสารทำ� ลายพชื ทเี่ หมาะสม
แล้ว สหรัฐฯ ยังใช้เคร่ืองบินจากฐานทัพอากาศในไทยบินไปพ่น
ละอองสารท�ำลายพชื ในลาว ภายใตแ้ ผนยทุ ธการ Ranch Hand ท่ี
มกี ารพน่ ละอองสารทำ� ลายพชื อยแู่ ลว้ ในเวยี ดนาม สหรฐั ฯ ใชเ้ ครอื่ ง
บินจากฐานทัพอากาศตาคลี โคราช อุดรธานี อุบลราชธานี และ
นครพนม บนิ ไปพน่ ละอองใสเ่ สน้ ทางโฮจมิ นิ ในลาว นอกจากนยี้ งั ใช้
พน่ ทำ� ลายพืชบรเิ วณรอบรวั้ ฐานบนิ ต่าง ๆ ในไทย เพื่อไมใ่ หห้ นว่ ย

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 11

กลา้ ตายแซปเปอรข์ องเวยี ดนามเหนอื ทเ่ี ลด็ ลอดเขา้ มาโจมตฐี านบนิ เหลา่ นใ้ี ชเ้ ปน็ ทซ่ี อ่ นพราง (มบี นั ทกึ วา่ ฐานบนิ ทอ่ี ดุ รธานี
อุบลราชธานี และอู่ตะเภา เคยถูกโจมตีแต่ไม่ไดส้ รา้ งความเสยี หายมากนัก)
ในห้วงเวลาที่มีการปราบปรามกลุ่มผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (ผกค.) ซึ่งเป็นส่วนกองก�ำลังติดอาวุธของพรรค
คอมมวิ นสิ ตไ์ ทย ตงั้ แตป่ ี ๒๕๑๗ กองทพั บกใชส้ ารทำ� ลายพชื เพอ่ื สนบั สนนุ การปราบปรามในบางพน้ื ที่ โดยมกี รมวทิ ยาศาสตร์
เปน็ หนว่ ยสนบั สนนุ การปฏบิ ตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี ไมป่ รากฏหลกั ฐานวา่ ใชส้ ารอะไร (สารเคมกี ำ� จดั วชั พชื หาซอ้ื ในทอ้ งตลาดหรอื
สารทท่ี หารอเมรกิ นั ใหก้ ารสนบั สนนุ ) แตม่ กี ารทดลองใชเ้ พอื่ ประเมนิ ประสทิ ธผิ ลภายในกรมวทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ จงึ ตกลงตดั สนิ
ใจเลือกชนดิ ของสาร หรือสูตรทจ่ี ะนำ� ไปใช้ เป้าหมายคอื พืชไรท่ ป่ี ลูกในพนื้ ทีอ่ ิทธพิ ลของ ผกค. แต่ไดป้ ฏิบัติการท�ำลายพืช
(ทลพ.) เพียงไม่กีค่ ร้ังก็ยุติ เปน็ เพราะพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ ๙ ทรงมีพระราชกระแสปรารภวา่ ทรงหว่ งใย
ว่าสารเคมีที่ตกค้างอาจจะถูกน�้ำฝนชะล้างไหลไปท�ำอันตรายพืชที่ราษฎรปลูกในพ้ืนที่ใกล้เคียงหรือพื้นท่ีต�่ำกว่า นับเป็น
พระเมตตาและพระมหากรณุ าธคิ ุณต่อราษฎรเป็นท่ยี ิง่ ด้วยทรงหว่ งใยถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ ของเกษตรกร

ผูเ้ ขยี น ได้รบั มอบหมายจากกรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบกและกองทัพบกใหค้ น้ หาความจริง (ขา่ วกรองทางเทคนิค)
เกยี่ วกบั ฝนเหลอื ง เพ่ือประโยชน์ในการปอ้ งกนั ประเทศ ไดป้ ฏบิ ัตงิ านนี้
ทงั้ ในและนอกประเทศเป็นเวลานานประมาณเจ็ดปี

12 วารสารวทิ ยาศาสตรท์ หารบก

การประชมุ ผูบ้ งั คับหน่วย เคมี ชีวะ รงั สี นวิ เคลียร์ นานาชาติ คร้งั ที่ ๑๔

(The 14th international CBRN Commandants and Commanders Conference : ICCC)
๑๖ - ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ คา่ ยนซี ูน ประเทศสงิ ค์โปร์

ร.ต.หญงิ สวุ รี ยา ลิมปนวสั ส์

กรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก ไดส้ ง่ กำ� ลงั พลเขา้ รว่ มการ ในการประชุม ประเทศเจ้าภาพได้น�ำเสนอภัย
ประชุมผู้บังคับหน่วย เคมี ชีวะ รังสี นิวเคลียร์ นานาชาติ คุกคามการก่อการร้ายด้าน คชรน. ในภูมิภาคเอเชีย
ครง้ั ท่ี ๑๔ (The 14th international CBRN Commandants ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เรอื่ งความรว่ มมอื ในการขา่ วและการตรวจ
and Commanders Conference : ICCC) เมือ่ ๑๖ - ๒๐ พิสูจน์ทราบ ซึ่งในปัจจุบันการก่อการร้ายมีรูปแบบท่ี
กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ คา่ ยนซี นู ประเทศสงิ คโ์ ปร์ โดยถอื เปน็ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปจากอดีต ดังน้ันความร่วมมือ
คร้ังที่ ๓ ที่ วศ.ทบ. ได้ส่งก�ำลังพลเข้าร่วมการประชุมน้ี ในการปอ้ งกนั คชรน. จงึ มคี วามสำ� คัญและควรมกี ารพัฒนา
โดยสองครงั้ ทผี่ า่ นมานั้น ไดส้ ง่ กำ� ลงั พลเขา้ รว่ มการประชมุ ฯ
ครั้งที่ ๑๒ จัดขนึ้ ในปี ๒๕๖๐ ณ ค่ายโอมิยะ เมืองไซตามะ
ประเทศญีป่ ุ่น และครั้งท่ี ๑๓ จดั ข้ึนในปี ๒๕๖๑ ณ กองบิน
๓ เมืองเวโรนา ประเทศอิตาลี
การประชุมน้ี จัดขึ้นเพ่ือเสริมสร้างเครือข่ายผู้
เชี่ยวชาญทาง เคมี ชีวะ รงั สี นิวเคลียร์ (คชรน.) แลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารด้านภัยคุกคามทาง คชรน. แลกเปล่ียนองค์
ความรู้ด้านการป้องกัน คชรน. และพัฒนาศักยภาพด้าน
การป้องกัน คชรน. ระหว่างประเทศ โดยผู้เข้าร่วมประชุม
เปน็ ผแู้ ทนจากกองทพั ของหนว่ ยทรี่ บั ผดิ ชอบการปฏบิ ตั กิ าร
ดา้ นการปอ้ งกนั คชรน. และหนว่ ยทรี่ บั ผดิ ชอบการฝกึ ศกึ ษา
ดา้ นการปอ้ งกนั คชรน. ของแตล่ ะประเทศ ทงั้ นี้ การประชมุ
ครง้ั ท่ี ๑๔ ท่ผี า่ นมา มปี ระเทศเข้าร่วมทงั้ สิ้น ๑๓ ประเทศ
ประกอบด้วยประเทศออสเตรเลีย ออสเตรีย เบลเยียม
ฝร่ังเศส เยอรมัน ญ่ีปุ่น เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์
สงิ คโปร์ สวเี ดน อเมริกา และประเทศไทย

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 13

เพื่อให้ทัดเทียมและมีประสิทธิภาพตามรูปแบบการก่อการ ด้วยความรวดเร็ว มีความช�ำนาญ และมีล�ำดับข้ันตอนการ
รา้ ยทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลง ทปี่ ระชมุ ไดร้ ว่ มแลกเปลย่ี นแนวคดิ ปฏิบัติที่ชัดเจน ภายหลังการสาธิตมีการจัดแสดงเคร่ืองมือ
และแนวทางการปฏิบัติในหัวข้อการจัดการภัยคุกคามด้าน อปุ กรณ์ และยุทโธปกรณท์ างดา้ นการปอ้ งกัน เคมี ชวี ะ รังสี
คชรน. ความรว่ มมอื ในการจดั การภยั คกุ คาม คชรน. ระหวา่ ง วตั ถรุ ะเบดิ ของประเทศเจา้ ภาพ โดยบางสว่ นเปน็ ผลงานวจิ ยั
หน่วยงานภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงการ ภายในประเทศ เชน่ ชดุ เครอ่ื งแตง่ กายปอ้ งกนั เคม-ี ชวี ะ และ
พฒั นาดา้ นการป้องกัน คชรน. ในอนาคตของแตล่ ะประเทศ น้�ำยาท�ำลายลา้ งพษิ รวมเคม-ี ชวี ะ เป็นต้น
ผู้เข้าร่วมการประชุม มีโอกาสได้เข้าชมอาคารฝึก พรอ้ มกนั นผ้ี เู้ ขา้ รว่ มประชมุ ไดร้ บั โอกาสในการเยยี่ ม
ปฏบิ ตั ิการด้านการจัดการภยั ทางด้าน เคมี ชวี ะ รงั สี วัตถุ ชมองค์กรวิทยาศาสตร์ด้านการป้องกันประเทศ (Defence
ระเบิด ภายในประกอบด้วยห้องจ�ำลองสถานการณ์ซึ่ง Science Organisation : DSO) เป็นองค์กรทางด้าน
เป็นการจ�ำลองสถานการณ์ในอาคาร เช่น ห้องปฏิบัติการ วิทยาศาสตร์ เน้นการวิจัยในด้านการต่อต้านภัยจาก เคม ี
วิทยาศาสตร์ ห้องส�ำนักงาน ห้องจัดเลี้ยง ห้องผู้โดยสาร ชวี ะ รังสี เพ่ือการปอ้ งกนั ประเทศ ภายในมหี อ้ งปฏบิ ัตกิ าร
เคร่ืองบิน ในแต่ละห้องมีการฝกึ ปฏบิ ตั ดิ ้านการปอ้ งกนั เคมี ทางด้านเคมี ซึ่งได้รับการรับรองโดยองค์การห้ามอาวุธเคมี
ชวี ะ รังสี วัตถรุ ะเบิด เพ่อื เพม่ิ พนู ความช�ำนาญ และความ (Organisation for the Prohibition of Chemical
สามารถในการปฏบิ ตั งิ าน นอกจากนี้ ยังไดช้ มการสาธติ การ
ปฏิบัติการแก้ไขสถานการณ์ภัยคุกคามจาก เคมี ชีวะ รังสี
วตั ถรุ ะเบดิ การสาธิตประกอบไปดว้ ย การใช้หุ่นยนต์ในการ
ตรวจวตั ถตุ อ้ งสงสยั การปฏบิ ตั งิ านดา้ นการเกบ็ ตวั อยา่ งสาร
และวตั ถตุ อ้ งสงสยั ซงึ่ เปน็ การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ระหวา่ งเจา้
หน้าที่ด้านการป้องกันเคมี ชีวะ รังสี วัตถรุ ะเบดิ การสาธิต
ล�ำเลยี งและเคล่อื นย้ายผู้บาดเจ็บ รวมถึงการทำ� ลายลา้ งพษิ
ผูท้ ไี่ ด้รบั บาดเจ็บ การสาธิตการปฏิบตั ขิ องเจา้ หนา้ ท่เี ป็นไป
14 วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

Weapons : OPCW) สามารถตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างและ การพัฒนาเคร่ืองมือและอุปกรณ์ควบคุมระยะไกลในการ
ผลติ งานวจิ ยั ทใ่ี ชอ้ าวธุ เคมใี นการทดสอบได้ งานวจิ ยั ทางดา้ น ตรวจสารเคมีและรังสี อีกท้ังมีการวิจัยเพ่ือผลิตนวัตกรรม
อาวธุ เคมเี ปน็ การทดสอบคณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมของสาร ในการตรวจสารประสาท (Nerve agent) และสารพิษไรซิน
ภายใตส้ ภาวะรอ้ นชน้ื ในแถบภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Ricin) จากร่างกายมนุษย์
มีนวัตกรรมโปรแกรมติดตามการรั่วไหลและพยากรณ์ การเข้าร่วมการประชุมในคร้งั นี้ ถือเปน็ การเพม่ิ พูน
พฤติกรรมของสารเคมีภายในและภายนอกอาคารใน ความรู้ใหแ้ กก่ ำ� ลังพลของ วศ.ทบ. ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อกี ทั้งยังได้
ภูมิประเทศของสิงคโปร์ ห้องปฏิบัติการทางด้านรังสีม ี รบั ทราบแนวความคดิ แนวทางการปฏบิ ตั ดิ า้ นปอ้ งกนั คชรน.
การตรวจวิเคราะห์และพิสูจน์ทราบสารรังสี ผลิตงานวิจัยที่ ของประเทศต่าง ๆ สามารถน�ำมาเปน็ แนวทางในการพฒั นา
ศึกษาผลกระทบของรังสีต่อสารพันธุกรรมในระดับเซลล์ ปรับปรุงหลักการปฏิบัติด้านการป้องกัน คชรน. รวมถึง
เพื่อประโยชน์ทางด้านการแพทย์ ห้องปฏิบัติการด้าน หลกั สูตรการเรียนการสอนและการฝกึ ศกึ ษาตอ่ ไป

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 15

การฝกึ ร่วม

SMEE CBRN Eastern Endeavor 2019 (EE19)
ร.ท. สิทธชิ ัย ศิลปพงศ์วรากร

ปจั จบุ นั การฝกึ รว่ มระหวา่ งประเทศภายใตห้ วั ขอ้ เคมี มปี ระเทศทเี่ ขา้ ร่วมการฝกึ ทง้ั ส้ิน ๖ ประเทศ ประกอบด้วย
ชีวะ รังสี นิวเคลียร์ (คชรน, CBRN) นั้นมีเป็นจ�ำนวนมาก สาธารณรัฐเกาหลี ญ่ีปนุ่ มาเลเซยี ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมรกิ า
เนื่องจากสถานการณ์การใช้อาวุธเคมีนั้นยังคงมีมาอย่างต่อ และประเทศไทย ทง้ั นปี้ ระเทศไทยสง่ ตวั แทนเขา้ รว่ มการฝกึ
เนื่องตั้งแต่สงครามโลกคร้ังท่ี ๑ แม้ว่าการใช้อาวุธเคมีใน จำ� นวน ๖ นาย จากกรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก กรมวทิ ยาศาสตร์
เหตกุ ารณส์ ว่ นใหญภ่ ายหลงั สงครามโลกครงั้ ที่ ๑ จะไมใ่ ชก่ าร ทหารเรอื และส�ำนักงานปรมาณเู พอ่ื สันติ
ใชใ้ นสงคราม แตก่ ส็ ง่ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ ของผคู้ นจำ� นวนมาก ในการฝึกนน้ั แบง่ การฝกึ เปน็ ๒ ส่วน ได้แกก่ ารฝกึ
รวมถงึ สรา้ งความตนื่ ตระหนกแกส่ งั คมในวงกวา้ ง ดงั เชน่ การ การแก้ปัญหาบนโต๊ะ (Table Top Exercise, TTX) และ
ลอบสังหารนายคิม จอง นัม (พ่ีชายต่างมารดาของผู้น�ำ การฝึกปฏิบัติ (Field Training Exercise, FTX) โดย
เกาหลเี หนอื คนปจั จบุ นั ) ทป่ี ระเทศมาเลเซยี ปี พ.ศ. ๒๕๖๐, กรมวิทยาศาสตร์ทหารบกได้เข้าร่วมการฝึกในส่วนของการ
การโจมตพี ลเรอื นโดยใชอ้ าวธุ เคมีในประเทศซีเรีย และการ ฝึกปฏบิ ัติ ซ่งึ ทางสหรัฐอเมริกาเปน็ ผู้น�ำในการฝึกดว้ ยก�ำลงั
ลอบสังหารอดีตสายลับรัสเซียในประเทศอังกฤษ ปี พ.ศ. พลทมี่ คี วามชำ� นาญในการปฏิบัติงานดา้ น คชรน. การฝกึ ใน
๒๕๖๑ นอกจากนก้ี ารใชอ้ าวธุ ชวี ะ และรงั สเี องกม็ เี หตกุ ารณ์ ครั้งน้ีประกอบด้วย การฝึกสวมถอดยุทธภัณฑ์ป้องกันตน,
เกดิ ขึน้ หลายครัง้ เช่นกัน การฝกึ การเกบ็ ตวั อยา่ งวตั ถตุ อ้ งสงสยั , การสง่ ตอ่ และจดั การ
ซึ่งจากเหตุการณ์ที่กล่าวมา ท�ำให้เกิดความต่ืนตัว กับตัวอย่าง และการจัดตั้งสถานีท�ำลายล้างพิษบุคคลแบบ
ของนานาประเทศในการหาแนวทางป้องกันและแก้ไข เร่งด่วน โดยการจัดต้ังสถานีท�ำลายล้างพิษในการฝึกคร้ังนี้
สถานการณ์ภายใตส้ ถานการณก์ ารใชอ้ าวธุ คชรน. โดยเกิด เป็นตัวอย่างการจัดตั้งสถานีที่เน้นการใช้สารท�ำลายล้างพิษ
เปน็ การฝึกร่วมในหลายประเทศ และในการฝกึ ร่วม SMEE ที่เป็นของเหลวให้น้อยท่ีสุด เพ่ือให้จัดการกับของเสียที่เกิด
CBRN Eastern Endeavor 2019 นี้ ไดจ้ ัดขนึ้ ที่เมืองปซู าน ขึ้นได้โดยง่าย
ประเทศสาธารณรฐั เกาหลี ห้วงวันท่ี ๗ - ๑๒ ก.ค. ๒๕๖๒

16 วารสารวิทยาศาสตรท์ หารบก

ระหว่างการฝกึ ในเรอื่ งต่าง ๆ ทีไ่ ดก้ ลา่ วมาแล้วนนั้ กับนานาประเทศ และการจ�ำลองสถานการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึน
ยังได้มีการจัดให้มีการบรรยายโครงสร้างและหน้าท่ีของ ได้เพือ่ สรา้ งความพรอ้ มในการรับมือหากเกดิ เหตกุ ารณจ์ ริง
หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ น คชรน. ของประเทศทเี่ ขา้ รว่ มการ ซึ่งจากการเข้าร่วมการฝึกคร้ังน้ีท�ำให้ได้เห็นถึง
ฝึกดว้ ย (ยกเว้นประเทศมาเลเซีย ซ่ึงเข้าร่วมการฝึกในฐานะ การให้ความส�ำคัญต่อสถานการณ์ทางด้าน คชรน. ของ
ผสู้ งั เกตการณ)์ ซง่ึ การจดั หนว่ ยมคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมาก นานาประเทศ ดังจะพบได้ว่าการฝึกร่วมภายใต้หัวข้อน้ีมี
ในแตล่ ะประเทศ ดงั เชน่ ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ทมี่ อบหมายงาน จ�ำนวนมากขึ้นในทุกปี และมีประเทศท่ีเข้าร่วมการฝึกมาก
รบั ผิดชอบด้าน คชรน. ให้กบั หน่วยตำ� รวจดับเพลิง ซึง่ เป็น ข้ึนเช่นกัน เน่ืองจากแนวโน้มการก่อเหตุทางด้าน คชรน.
หน่วยงานทีม่ ขี นาดใหญ่ และมหี นา้ ที่รบั ผดิ ชอบเป็นจ�ำนวน นั้น ไม่ได้จ�ำกัดแค่การใช้ในสงครามเพียงอย่างเดียว แต่ยัง
มาก แต่ส่ิงหนึ่งท่ีเหมือนกันในแตล่ ะประเทศคือ ทุกประเทศ รวมถึงการก่อการร้าย และรวมถึงอุบัติภัยทางสารเคมี
ไดใ้ หค้ วามส�ำคัญตอ่ สถานการณ์ทางด้าน คชรน. ในปัจจบุ ัน อีกด้วย ดังน้ันการท่ีประเทศไทยจะต้องเตรียมความพร้อม
ซ่ึงยังคงมีเหตุการณ์เกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง แม้หลายประเทศ ทางด้าน คชรน. จึงเป็นส่ิงท่ีมีความส�ำคัญยิ่ง เพราะหากมี
ที่เขา้ รว่ มการฝึกจะไม่เคยเกดิ เหตกุ ารณ์ดา้ น คชรน. มากอ่ น เหตุการณด์ ้าน คชรน. เกิดขนึ้ จะได้ลดความสูญเสยี ไดอ้ ย่าง
แตก่ ม็ กี ารฝกึ รบั มอื สถานการณอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทง้ั การฝกึ รว่ ม มีประสทิ ธิภาพ

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 17

หน่วยผลิตน�ำ้ ประปากองทพั บก

และความเกี่ยวข้องของกรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก
แผนกตรวจทดลอง

กองทัพบกเป็นหน่วยท่ีให้ความส�ำคัญต่อก�ำลังพลและครอบครัว โดยเฉพาะสวัสดิการด้านท่ีพักอาศัย จึงจ�ำเป็นต้องดูแลด้าน
สาธารณปู โภคของหนว่ ยและพ้ืนทบ่ี ้านพกั ของก�ำลังพล เชน่ ไฟฟ้า ประปา เปน็ ต้น โดยเฉพาะการผลิตและบรกิ ารน้ำ� ประปาภายในหนว่ ยนนั้
แมว้ า่ ในปจั จบุ นั ไดม้ กี ารโอนงานผลติ และบรกิ ารนำ�้ ประปาใหภ้ าครฐั หรอื องคก์ ารบรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ รบั ไปดำ� เนนิ การเปน็ บางสว่ นแลว้ กต็ าม
แตใ่ นปจั จบุ นั ยงั คงมหี นว่ ยผลติ นำ�้ ประปากองทพั บก ทผี่ ลติ และใหบ้ รกิ ารนำ้� ประปาใหก้ บั กำ� ลงั พล รวมถงึ หนว่ ยขา้ งเคยี งรวม ๖๐ หนว่ ยผลติ
ด้วยอตั ราการผลิตปรมิ าณรวมประมาณ ๒๐ ลา้ นลกู บาศก์เมตรต่อปี
ความรบั ผดิ ชอบในการผลิตน้ำ� ประปา ประกอบด้วยหนว่ ยหลัก ๓ หนว่ ย คือ หนว่ ยผลติ , กรมยุทธโยธาทหารบก (ยย.ทบ.) และกรม
วทิ ยาศาสตรท์ หารบก (วศ.ทบ.) สำ� หรบั วศ.ทบ. น้ัน รบั ผดิ ชอบในการสนบั สนุนสารเคมีผลิตนำ้� ประปาตามความต้องการ สนบั สนนุ ข้อมลู วธิ ี
การใช้ การจดั เตรยี มสารเคมี และการตรวจสอบคณุ ภาพนำ้� ทง้ั กอ่ น ระหวา่ ง และหลงั การผลติ โดยขนั้ กอ่ นผลติ เพอื่ ใหท้ ราบขอ้ มลู การใชส้ าร
เคมใี ห้เหมาะสมกับสภาพน้ำ� ดบิ ขณะนัน้ และความเหมาะสมของน�้ำดบิ ต่อการนำ� มาผลิตเป็นน้�ำเพ่ือการอุปโภคบรโิ ภค ข้นั ตอนระหวา่ งการ
ผลติ เพอื่ ปรบั อตั ราจา่ ยสารเคมขี องชดุ ผลติ นำ้� ประปา หรอื ปรมิ าณการใชส้ ารเคมใี หส้ อดคลอ้ งกนั กบั สภาวะแวดลอ้ มของนำ้� ดบิ และหลงั การ
ผลติ เพอ่ื ตรวจสอบความขนุ่ สี ความเปน็ กรด-ดา่ ง คา่ คลอรนี ตกคา้ งใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานการผลติ นำ�้ ประปา เปน็ การตรวจและยนื ยนั
วา่ กระบวนการผลิตมคี วามสมบูรณ์
กระบวนการผลิตน�้ำประปา มขี ้นั ตอนดังน้ี
๑. แหลง่ นำ�้ ดบิ ไดม้ าจากแมน่ ำ้� ลำ� คลอง อา่ งเกบ็ นำ้� หนอง บงึ ทม่ี คี ณุ ภาพนำ�้ ทางกายภาพ และทางเคมี สารเปน็ พษิ และแบคทเี รยี
ไม่เกนิ คา่ มาตรฐานท่ีก�ำหนด โดยติดต้ังเครอ่ื งสูบน�ำ้ ดบิ ไว้ใกล้กบั แหล่งน�ำ้ ในโรงสูบนำ�้ แรงต่�ำ เพอ่ื สบู นำ�้ ดบิ ไปผลติ เปน็ น�้ำประปา
๒. การปรบั สภาพนำ้� ดบิ โดยเตมิ สารเคมี ไดแ้ ก่ สารสม้ โซดาแอช ในอตั ราสว่ นทเี่ หมาะสมกบั คณุ ภาพนำ�้ ดบิ ในแตล่ ะฤดกู าล เพอ่ื
ชว่ ยในการตกตะกอน และปรับคา่ pH ของนำ�้ ดิบในถังกวน ให้อยใู่ นชว่ งทเ่ี หมาะสม
๓. การตกตะกอน เมือ่ ใส่สารเคมแี ลว้ นำ�้ ดบิ จะไหลเขา้ ยงั ถังตกตะกอน โดยผ่านระบบการกวนน้ำ� เพื่อให้สารเคมีไดส้ ัมผสั และทำ�
ปฏกิ ริ ยิ ากับตะกอน หรือความขุ่นทอ่ี ยู่ในนำ�้ รวมตวั จับกันเป็นก้อนเลก็ ๆ แลว้ ค่อยมีขนาดโตข้ึน ตกลงส่กู ้นถงั เหลอื แต่น�้ำใสไหลไปยังถงั กรอง
นำ�้ ความขุน่ ของน้ำ� ที่ออกจากถงั ตกตะกอน มคี า่ ต่ำ� กว่า ๕-๑๐ หนว่ ย หรอื สีต�่ำกวา่ ๑๐-๒๐ หนว่ ย และค่าความเป็นกรด-ดา่ ง (pH) อยใู่ น
ช่วง ๖-๗.๕
๔. การกรองนำ้� นำ้� ทผ่ี า่ นการตกตะกอนจะไหลเขา้ มายงั ถงั กรองนำ้� เพอ่ื กรองเอาตะกอนทลี่ ะเอยี ดออกอกี ครงั้ นำ้� ทผ่ี า่ นการกรอง
จะใสมาก มีความขนุ่ ไมเ่ กิน ๕ หนว่ ย ถังกรองจะต้องมีการล้างทรายกรองอยู่เสมอ
๕. การฆา่ เชื้อโรค เตมิ แคลเซียมไฮโปคลอไรต์ (คลอรนี ) ลงในนำ้� ท่ีผ่านการกรอง ในอตั ราส่วนทพ่ี อเหมาะ เพอื่ ฆา่ เชอ้ื โรคแตไ่ ม่ก่อ
ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อร่างกาย แล้วนำ� ไปเกบ็ ในถงั นำ้� ใสเพ่อื รอการสูบจ่าย
๖. ถังนำ�้ ใส เปน็ ถงั ส�ำหรบั เก็บน้ำ� สะอาดทผ่ี า่ นการกรองแล้ว เรียกวา่ น�ำ้ ประปา เพอื่ รอจา่ ยใหผ้ ใู้ ชน้ �ำ้
๗. หอถงั สงู เป็นทเ่ี ก็บนำ้� ท่สี ูบข้นึ มาจากถงั น้�ำใส เพื่อใหเ้ กิดแรงดันน้ำ� ในการจา่ ยใหบ้ ริการไปตามทอ่
18 วารสารวทิ ยาศาสตรท์ หารบก

เครอื่ งมอื ตรวจวัดคณุ ภาพน�้ำในการผลติ น�้ำประปา มดี ังนี้

๑. เคร่อื งมือทดสอบการตกตะกอนในนำ�้ (จารเ์ ทสต)์ เพือ่ ทดสอบหา
อัตราส่วนของสารเคมี (สารส้ม และโซดาแอช) ที่เหมาะสมในการ
ผลิตน้�ำประปา

๒. เคร่ืองมือวัดความเป็นกรด-ด่าง (pH Meter) ๓. ชดุ ตรวจวดั คา่ สี มาตรฐานนำ�้ ดม่ื
แบบพกพามาตรฐานน�้ำด่ืม เกณฑ์ก�ำหนดสูงสุด เกณฑ์ก�ำหนดสูงสุดอยู่ท่ี ๕
ความเป็นกรด-ด่าง คือ ๖.๕-๘.๕ Platinum cobalt เกณฑ์
ก�ำหนดอณโุ ลมใหส้ ูงสุดอยู่ท่ี ๑๕
Platinum cobalt

๔. เครอื่ งมอื วัดความขนุ่ แบบพกพา (Por- ๕. ชุดทดสอบคลอรีนส�ำเร็จรูป
table Turbidimeter) มคี ่าอยู่ในชว่ ง ๐ - (Test kit) เพอ่ื ตรวจหาปรมิ าณ
๑๐๐๐ NTU มาตรฐานนำ้� ดม่ื เกณฑก์ ำ� หนด คลอรีนอิสระคงเหลือในน้�ำมี
สูงสดุ มคี า่ อยใู่ นช่วง ๕ NTU เกณฑก์ ำ� หนด ค่าปริมาณคลอรีนไม่ต่�ำกว่า
อณุโลมใหส้ ูงสดุ อย่ทู ่ี ๒๐ NTU ๐.๒ พีพีเอ็มตามมาตรฐานของการประปานครหลวงมี
ค่าปริมาณคลอรนี ในช่วง ๐.๒-๐.๕ ppm.

สารเคมแี ละคุณสมบตั ิของสารเคมีทีใ่ ชผ้ ลติ น้ำ� ประปา ในระบบการผลติ ของกองทัพบก ท่ีสำ� คัญมดี ังนี้
● สารสม้ (Aluminum Sulfate) (Al2(SO4)3xH2O) ใชเ้ ป็นสารหลักในการตกตะกอนน�ำ้ ดิบ ท�ำหน้าทเี่ กาะหรือยึดตดิ กบั สารแขวนลอยในนำ้�

เพือ่ รวมสารแขวนลอยใหเ้ ปน็ กลมุ่ กอ้ น มนี ้�ำหนกั มากขึ้น จนมีน้�ำหนกั พอทีจ่ ะตกตะกอนสารแขวนลอยได้ ท�ำใหค้ วามขนุ่ สีของน้�ำ รวมทง้ั
แบคทเี รยี ในน้ำ� ลดลง มีความเปน็ กรด มีฤทธ์ิกัดกรอ่ น ละลายได้ดใี นนำ้� สามารถตกตะกอนได้ดใี นชว่ ง pH ๕.๕ - ๘.๐
● โซดาแอซ (Na2CO3) เปน็ สารชว่ ยปรบั ความเปน็ ดา่ ง เพอ่ื ชว่ ยเสรมิ ปฏกิ ริ ยิ าของสารสม้ ใหเ้ กดิ ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ โดยชว่ ยเพม่ิ คา่ ความเปน็ กรด-ดา่ ง
ของน้�ำดบิ ใหอ้ ยู่ในชว่ งที่เหมาะสม เมอื่ สารส้มท�ำปฏิกริ ยิ ากับน�ำ้ และไม่ทำ� ให้น�้ำมีฤทธ์กิ ัดกรอ่ น เม่อื ผา่ นระบบกรองออกไป ละลายได้ดใี น
น�ำ้ มีฤทธ์เิ ป็นด่าง ท�ำใหค้ ่า pH ของนำ้� สงู ข้นึ
● แคลเซยี มไฮโปคลอไรต์ (Ca(OCl)2) เป็นสารเคมีท่ีใช้ในการฆ่าเชอื้ โรค เพอื่ ก�ำจดั บักเตรีท่ที �ำใหเ้ กดิ โรคในระบบทางเดนิ อาหาร สามารถ
กำ� จดั เหลก็ แมงกานสี สารอนิ ทรยี ใ์ นนำ้� ได้ สามารถใชเ้ ตมิ ลงในนำ้� กอ่ นผา่ นขบวนการผลติ เพอื่ ควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของบกั เตรี สาหรา่ ย
ก�ำจดั สี กลิน่ และส่งิ มีชีวติ อน่ื ๆ ในนำ�้ ท�ำให้ประสทิ ธภิ าพการกรองดีขนึ้ ใช้ฆา่ เชือ้ โรคในกรณที น่ี ำ้� ดิบมีการปนเป้ือนมากๆ

การเกบ็ รักษาสารเคมีท�ำน�้ำประปา สารสม้ โซดาแอช
➣ เกบ็ รักษาสารเคมใี นท่ีแห้ง ปอ้ งกันไม่ให้สารเคมีถกู ความช้ืน
➣ ควรเกบ็ ในหอ้ งต่างหาก หรือวางให้ห่างจากบริเวณที่ผสมสารละลาย
➣ ควรยกระดบั พนื้ ขึน้ มา ไมค่ วรวางไว้กบั พน้ื ปูนเนอ่ื งจากมีความช้นื และเพอ่ื ป้องกนั ไม่ให้น้ำ� ซมึ เขา้ ภายในถุงบรรจุ
➣ ควรวางสารสม้ ซอ้ นกันเปน็ แถว แล้วแยกใช้ทลี ะแถว จนหมด จงึ ขึ้นแถวใหม่
➣ สารส้มทไี่ ด้รบั มาใหม่ ควรแยกเป็นแถวใหม่ไม่ควร นำ� ไปวางซ้อนกันกบั ของเกา่ และใชส้ ารส้มให้หมดเปน็ รุ่นๆ ไป
➣ ถุงท่ีแตกหรือช�ำรุดระหว่างขนส่งควรรีบน�ำไปใช้ก่อนแคลเซียมไฮโปคลอไรต์ บรรจุไว้ในภาชนะที่ปิดได้สนิทและเก็บไว้ในท่ีร่มเย็น

ต้องระมดั ระวงั เม่อื เปิดภาชนะบรรจุ เพราะสารประกอบอาจฟุ้งกระจาย หรอื ได้รบั อนั ตรายจากกา๊ ซพษิ

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 19

การตรวจสอบคณุ ภาพน้ำ�
การตรวจสอบคณุ ภาพนำ้� ดบิ และนำ้� ประปา ทำ� ใหท้ ราบคณุ สมบตั ขิ องนำ�้ ทง้ั ปรมิ าณและชนดิ ของสารตา่ งๆ ทเ่ี จอื ปนในนำ้� โดยการ
เปรียบเทียบกบั คา่ มาตรฐานคณุ ภาพน�ำ้ ซง่ึ เปน็ เกณฑก์ �ำหนดเพ่ือความปลอดภัยในการใช้น�้ำ ในการอุปโภคและบรโิ ภค วา่ มคี วามเหมาะสม
เพยี งใด และเพอ่ื ชว่ ยในการแกไ้ ขปญั หาคณุ ภาพน�้ำ คณุ สมบตั ิของนำ้� สามารถแบง่ ออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ๓ ประเภท คอื
๑. คณุ สมบตั ิทางฟสิ ิกสห์ รอื ทางกายภาพ เป็น คุณสมบัตทิ ่ีเกย่ี วกับ สี กลนิ่ และความข่นุ ของนำ�้
๒. คณุ สมบัตทิ างเคมี เปน็ คณุ สมบัติท่เี ก่ยี วกับแรธ่ าตุ และสารต่างๆ ทล่ี ะลายในน�้ำ
๓. คณุ สมบัติทางบกั เตรี เปน็ คณุ สมบัตทิ ่ีเกย่ี วกับเชอ้ื บกั เตรี และจลุ ินทรยี ์ตา่ งๆ ทีม่ องไมเ่ ห็นด้วยตาเปลา่
วศ.ทบ.ยึดถอื มาตรฐานน�้ำดบิ สำ� หรบั ใช้ในการผลิตนำ้� ประปาตามตารางท่ี ๑ และมาตรฐานน้�ำประปาตามตารางท่ี ๒ เปน็ เกณฑ์ใน
การตรวจสอบคณุ ภาพน�ำ้ และหน่วยสามารถส่งน�ำ้ ให้ วศ.ทบ. ตรวจได้โดยไมม่ คี ่าใชจ้ า่ ย

ตารางท่ี ๑ มาตรฐานน�้ำดิบ เกณฑ์ทกี่ ำ� หนดสูงสดุ ตารางที่ ๒ มาตรฐานน�ำ้ ประปา

รายการ รายการ เกณฑท์ ี่ก�ำหนด เกณฑ์ท่ีกำ� หนด
สงู สุด อนโุ ลมสูงสดุ
๑. คณุ ลกั ษณะทางกายภาพ
- สี (Colour), Pt-Co unit ๓๐๐
๒. คุณลักษณะทางเคมี (มลิ ลกิ รมั /ลิตร) - สี (Colour), Pt-Co unit ๕ ๑๕
- ปริมาณสารละลายทัง้ หมด - ความขุ่น (Turbidity), NTU ๕ ๒๐
(Total Dissolved Solids) ๑,๕๐๐ - ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) ๖.๕ - ๘.๕ ไม่เกนิ ๙.๒
- เหลก็ (Fe) ๕๐ - ปริมาณมวลสารท้ังหมด (Total Solids) ๑,๕๐๐
- มังกานสี (Mn) ๕ - เหลก็ (Fe) ๐.๕ ๑.๐
- ทองแดง (Cu) ๑.๕ - แมงกานีส (Mn) ๐.๓ ๐.๕

๓. คณุ ลักษณะทางสารเป็นพิษ (มลิ ลกิ รมั /ลติ ร) ๐.๐๐๒ ท้ังนก้ี ารประปาสว่ นภมู ิภาค มีหลักเกณฑ์การใหบ้ ริการทดสอบตัวอยา่ งน�้ำ สาร
- ฟโิ นลิก ซบั แสตนซ ์ เคมี สารกรองและท่อน�ำ้ โดยคิดคา่ ใช้จา่ ยในการทดสอบ ตามค�ำสง่ั การประปา
- อารเ์ ซนกิ (As) ๐.๐๕ สว่ นภูมภิ าค ท่ี 777/2561 ลง 8 ต.ค. 2561

การหาปรมิ าณสารเคมที เี่ หมาะสม สำ� หรบั ระบบประปาโดยวธิ ที างเคม ี ถอื วา่ มคี วาม
จำ� เปน็ มาก ท้ังน้ีเพ่อื ใหใ้ ชส้ ารเคมีปรมิ าณนอ้ ยทสี่ ดุ ในระบบ และสามารถก�ำจดั มลสารไดม้ าก
ที่สุด เป็นขั้นตอนที่ต้องใช้เวลา ท�ำได้โดยการใช้เคร่ืองมือทดสอบการตกตะกอนในน้�ำ
(จารเ์ ทสต)์ และตอ้ งมกี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื ตรวจคณุ ภาพนำ้� รว่ มดว้ ย คอื เมอื่ กวนนำ�้ ตามปรมิ าณสาร
เคมีที่ใช้ตามเวลาท่ีก�ำหนดแล้ว จะเข้าสู่ข้ันตอนการตรวจวัดคุณภาพน้�ำ โดยต้องตรวจวัดค่า
ความขุ่น สี และค่าความเปน็ กรด-ด่าง ของน�้ำ หากไม่ผ่านเกณฑ์ตอ้ งเริ่มกระบวนการใหม่แต่
แรก และปรับเปลย่ี นสัดสว่ นสารเคมที ่ใี ช้ เพอ่ื ใหไ้ ดป้ ริมาณสารเคมีที่เหมาะสมอกี คร้งั
จาร์เทสต์ (Jar Test) เป็นวิธีทดสอบหาปริมาณสารเคมี ท่ีท�ำให้เกิดการตกตะกอนของสารแขวนลอยในน�้ำดิบเพื่อลดความขุ่น
ใหไ้ ด้ปรมิ าณสารทีเ่ หมาะสมและประหยดั ท่ีสุดสำ� หรบั คุณภาพน�้ำตามมาตรฐาน การทำ� จารเ์ ทสต์ ควรท�ำอย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ ๑ คร้งั และ
เมอื่ คณุ ภาพนำ�้ ดบิ เปลยี่ นแปลง ผลทไ่ี ดส้ ามารถนำ� มาคำ� นวณหาปรมิ าณสารเคมที จ่ี ะใชเ้ ตมิ ลงในนำ�้ ดบิ โดยมอี งคป์ ระกอบอน่ื เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง
ดว้ ย ไดแ้ ก่ อัตราการสบู น�ำ้ ดิบ อตั ราการสูบจ่ายสารละลายสงู สดุ ของเคร่อื งจา่ ย ขนาดหรือปรมิ าตรของถงั จา่ ยสารละลายเคมี และความเขม้
ข้นของสารละลายเคมใี นถังจา่ ย เป็นต้น
ข้นั ตอนการท�ำจาร์เทสต์ เพือ่ หาปรมิ าณสารเคมีผลติ น�้ำประปา
๑. วัดค่าความขุ่น ความเป็นกรด-ดา่ ง (pH) และคา่ สขี องน้�ำดิบ
๒. ตวงน�ำ้ ดบิ ด้วยกระบอกตวง เทใส่ในบกี เกอร์ (ใบละ ๑ ลิตร)
๓. เปดิ เครอื่ งกวนดว้ ยความเรว็ ๑๐๐ รอบตอ่ นาที พรอ้ มกบั เตมิ สารละลายสารสม้ ๑% ลงในแตล่ ะบกี เกอรต์ ามอตั ราสว่ นทก่ี ำ� หนด

ไว้ (โดยบีกเกอร์แรกไม่ต้องเติมสารสม้ บกี เกอรท์ ี่ ๒-๖ เตมิ ๑, ๑.๕, ๒, ๒.๕, ๓ มล. ตามล�ำดบั ) กวนเป็นเวลา ๓๐ วนิ าที
๔. หลังจากนัน้ ลดความเรว็ ใบพัดใหเ้ หลือ ๓๐ รอบต่อนาที และกวนตอ่ ไปอกี ๑๕ นาที
๕. หยุดเคร่ืองกวน ยกใบพัดขึ้น ต้งั ทิ้งไว้ใหต้ กตะกอน ๓๐ นาที
๖. คอ่ ยๆ รนิ น�้ำใสดา้ นบนออกมา ทำ� การวดั คา่ ความขนุ่ ค่าความเป็นกรด-ด่าง และค่าสี บนั ทึกคา่ ทว่ี ัดได้
๗. น�ำน�้ำใสอีกส่วนท่ีได้จากข้อ ๖ ไปผ่านกระดาษกรองเบอร์ ๑ หลังจากน้ัน ท�ำการวัดค่าความขุ่น ค่าความเป็น กรด-ด่าง

และสอี กี ครัง้ บนั ทกึ คา่ ทวี่ ัดได้
20 วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

การเลอื กปรมิ าณสารเคมที เี่ หมาะสม เลอื กปรมิ าณสารเคมที นี่ อ้ ยทสี่ ดุ ท่ี
ท�ำให้เกิดการตกตะกอนดีที่สุด หรือเลือกน�้ำท่ีผ่านการเติมสารเคมี มีค่าความขุ่น
๕-๑๐ หน่วย ค่าสีต่ำ� กว่า ๑๐-๒๐ หนว่ ย และค่า pH ๖.๐-๗.๐ ส�ำหรับการตรวจ
ปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือในน้�ำนั้น จะท�ำเมื่อมีการใส่คลอรีนลงในถังน้�ำใสแล้ว
คอื ทำ� การตรวจเฉพาะตวั อยา่ งนำ�้ ประปาเทา่ นนั้ ทำ� การตรวจโดยใชช้ ดุ วดั คลอรนี วดั
ปรมิ าณคลอรนี ภายหลงั การเตมิ คลอรนี ประมาณ ๒๐-๓๐ นาที คลอรนี อสิ ระทม่ี เี หลอื
อยู่ในน�้ำประปาควรอยู่ในช่วง ๐.๒-๐.๕ มก./ล.เพ่ือประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโรค
ตามเสน้ ทอ่ จา่ ยนำ้� ไปยงั ผใู้ ชน้ ำ�้ ทอ่ี ยปู่ ลายสาย หากคา่ ทวี่ ดั ไดต้ ำ่� กวา่ ๐.๒ มก./ล. ควร
เพ่ิมปริมาณคลอรีนที่ใช้ แต่หากค่าที่วัดได้สูงกว่า ๐.๕ มก./ล. จะต้องลดปริมาณ
คลอรีนทีใ่ ช้ลง เพอ่ื ความปลอดภัยของผูใ้ ช้นำ้�
เพอื่ ให้หนว่ ยผลติ น�ำ้ ประปาทม่ี ีคณุ ภาพ บรกิ ารใหแ้ กก่ �ำลังพลและครอบครัว วศ.ทบ.ได้พจิ ารณาหนว่ ยในพืน้ ทที่ ้งั ๔ กองทัพภาค
ให้สามารถท�ำการตรวจคุณภาพน้�ำ ท้ังก่อน ระหว่าง และหลังการผลิต สามารถก�ำหนดเกณฑ์การใช้สารเคมีท่ีเหมาะสมในการท�ำให้น้�ำตก
ตะกอนตามสภาพนำ้� เพอื่ นำ� ไปปรบั ใช้ในระบบผลิตไดต้ ลอดเวลา ท�ำใหไ้ ด้น้ำ� ประปาท่ีมคี ุณภาพ ซ่ึงจะช่วยประหยดั งบประมาณ โดย วศ.ทบ.
ได้แจกจา่ ยเครอื่ งจารเ์ ทสต์ จ�ำนวน ๑๗ เคร่อื ง พรอ้ ม สป.ท่ใี ช้ในการทดสอบการตกตะกอนของน�้ำใหแ้ กห่ น่วยต้งั แตป่ ี ๒๕๕๕ โดยพิจารณา
หนว่ ยผลติ ทม่ี นี ำ�้ ดบิ มปี ญั หาสภาพนำ้� เปลยี่ นแปลงตลอดเวลา มปี รมิ าณการผลติ มาก และมปี ระสทิ ธภิ าพทจี่ ะสามารถทำ� หนา้ ทต่ี รวจคณุ ภาพ
น�้ำให้กับหนว่ ยผลติ เอง และหน่วยผลติ ในพนื้ ที่ใกล้เคยี ง ปจั จบุ นั มบี างหนว่ ยเข้าส่รู ะบบประปาภาครัฐ คงเหลือหนว่ ยที่มเี ครอื่ งจารเ์ ทสต์ ๑๒
หน่วย ได้แก่ มทบ.๑๓, ศร., พล.ช., ศสร. (ก.จ.), มทบ.๒๒, มทบ.๒๗, ผ.๕ คส.สพ.ทบ., บชร.๓, มทบ.๓๕, มทบ.๓๖, มทบ.๔๖, ช.พัน.๔๐๑
และเครอื่ งจารเ์ ทสต์ท่เี หลือ อยรู่ ะหว่างพจิ ารณาแจกจ่ายให้หนว่ ยผลติ อนื่ ตอ่ ไป
เกณฑก์ ารคำ� นวณความตอ้ งการสารเคมผี ลติ น�ำ้ ประปาแจกจ่ายหน่วย
ใชเ้ กณฑก์ ารคดิ ค�ำนวณตามหนังสอื กบ.ทบ.ท่ี กห. ๐๔๐๔/๓๒๘๓ วันที่ ๒๖ ต.ค. ๔๙ เรอ่ื ง ขออนุมัติทดลองใช้เกณฑ์การคิดคิด
ค�ำนวณความต้องการสารเคมีทำ� น้�ำประปา
สรปุ ทา้ ยบท ผลกระทบจากการใช้สารเคมีผลิตน้ำ� ประปาทไ่ี ม่ได้สดั ส่วน

การใช้สารสม้ ในปรมิ าณที่ไมเ่ หมาะสม

น้อยเกินไป มากเกนิ ไป วศ.ทบ.รับผิดชอบในการฝึก
อบรม ให้ค�ำแนะน�ำการผลิตน�้ำประปา
- การตกตะกอนของนำ้� ดิบจะเกดิ ข้ึนไมส่ มบรู ณ์ - สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายและแรงงาน ซง่ึ ขนั้ ตอนจะถกู กำ� หนดโดยคณุ ภาพของ
- น�้ำก่อนกรองมีความขุ่นสูง จึงท�ำให้ถังกรองอุด - การตกตะกอนไมด่ ี เนอ่ื งจากสภาวะเปน็ กรดมาก น�้ำดิบในแต่ละพื้นท่ี เพ่ือให้หน่วยผลิต
ตนั เรว็ เกนิ ไป น้�ำจะขนุ่ มัว สามารถน�ำน้�ำดิบมาผ่านกระบวนการ
- สิน้ เปลืองนำ�้ ในการล้างถงั กรอง - pH ของนำ้� จะตำ่� ทำ� ใหเ้ กดิ การกดั กรอ่ นทอ่ ประปา ผลติ จนไดน้ ำ้� ประปาตามมาตรฐาน ทม่ี คี า่
- อาจทำ� ใหน้ �้ำประปามคี วามขุน่ เกนิ มาตรฐาน - มีสารส้มหลงเหลืออยู่ในนำ�้ ประปามากเกิน ความขุน่ สี และความเป็นกรด-ดา่ ง อยู่
มาตรฐาน เม่ือน�ำมาดม่ื ทำ� ให้เกดิ โรค ในเกณฑท์ ย่ี อมรบั การฆา่ เชอื้ จลุ นิ ทรยี ใ์ น
นำ�้ ดว้ ยคลอรนี เปน็ ไปอยา่ งเหมาะสม ไมม่ ี
การใชโ้ ซดาแอซในปรมิ าณทไี่ มเ่ หมาะสม สารคลอรีนตกค้างก่อให้เกิดอันตรายได้
และ วศ.ทบ.ยังทำ� หน้าทีเ่ ป็นหนว่ ยตรวจ
นอ้ ยเกนิ ไป มากเกินไป วเิ คราะหค์ ณุ ภาพนำ้� ในภาพรวมของ ทบ.
ตลอดจนวางระบบการรายงานผลการ
- ไมเ่ พยี งพอท่ีจะเพม่ิ ความเป็นด่าง pH ของนำ้� ก็ - สนิ้ เปลืองคา่ ใชจ้ ่าย ตรวจ ในกรณีหน่วยมีปัญหาต้องการรับ
จะต่�ำไป - การตกตะกอนไม่ดี เนื่องจากสภาวะเปน็ ดา่ งมาก การสนับสนุนเพ่ิมเติม วศ.ทบ. สามารถ
เกนิ ไป นำ้� จะข่นุ มัว จัดชุดตรวจคุณภาพน�้ำเข้าด�ำเนินการใน
- มีการตกตะกอนไม่ดี - pH ของน�ำ้ จะสูงเกินมาตรฐานน�ำ้ บรโิ ภค พื้นท่ีทันที หากหน่วยใดมีข้อสงสัย
- เกิดการกดั กร่อนในท่อประปา สามารถติดต่อสอบถามได้ท่ี ผตท.กวก.
วศ.ทบ.หมายเลข ทบ. ๙๙๘๕๘ หรือ
การใช้คลอรีนในปรมิ าณท่ไี ม่เหมาะสม ๐๒-๕๗๙-๙๕๑๘, ๐๒-๕๗๙-๐๕๕๘

นอ้ ยเกินไป มากเกินไป

- ไมเ่ พยี งพอตอ่ การฆา่ เชอื้ โรคในนำ�้ นำ�้ ประปาจะ - สิน้ เปลืองคา่ ใชจ้ า่ ย
มีเชื้อโรค ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ และไม่ได้ - น�ำ้ ประปามกี ลน่ิ ฉุน
มาตรฐานน�้ำบรโิ ภค - ถ้าใช้ปนู คลอรนี pH ของนำ้� ประปาจะสูงขึ้น
- ไมม่ คี ลอรนี เหลอื ในการฆา่ เชอ้ื โรค กรณมี ที อ่ แตก อาจท�ำให้ไม่ไดม้ าตรฐานน้ำ� บริโภค
ท่อร่ัว

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 21

การฝกึ ดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ในสนาม กรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก
ร.ต.หญงิ กาญจนา เชยชืน่ กล่นิ

การฝึกทางทหารมแี บบการฝกึ หลายรูปแบบ โดยผ้บู งั คับบัญชาจะดำ� เนนิ การฝึก ก�ำหนดแบบการฝกึ การวางแผน
ระยะยาว ผบู้ งั คบั บญั ชา/ฝา่ ยอำ� นวยการ จะประเมนิ คา่ เกย่ี วกบั จำ� นวน ประเภท และหว้ งการฝกึ ทตี่ อ้ งฝกึ ตามคมู่ อื ราชการ
สนาม (รส.) เหตุการณ์/ภาพการฝกึ ทรพั ยากร และค�ำแนะนำ� ในการประสานการปฏบิ ัติ แบบการฝึกหลกั จะเป็นตวั สร้าง
ความช�ำนาญ และสนับสนุนความต้องการในการฝึกท่ีเก่ียวข้องกับแผนการฝึกในระยะยาว แบบการฝึกหลักจะก�ำหนดรูป
แบบในการปฏิบัติ และจัดสรรทรัพยากรการฝึก และงบประมาณในการประกอบการฝึก ให้สมจริงมากที่สุด เป็นการฝึก
สมมุติก�ำลังฝา่ ยเรา ปัญหา และบง่ การปฏิบตั ิ รวมถึงผูส้ งั เกตการณ์การฝึก ผ้ปู ระเมนิ ผลการฝึก เพื่อให้ผลของการฝึกออก
มาเต็มรูปแบบและให้สมจรงิ เพ่ือประโยชน์ทจ่ี ะน�ำไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ ต่อไป

แบบการฝกึ จะแสดงในรูป

การฝกึ รบร่วม (JTX) การฝกึ ใช้กำ� ลงั (DEPEX)
การฝึกรบผสม (CTX) การฝกึ แกป้ ัญหาในภมู ิประเทศโดยไมใ่ ช้
การฝึกดำ� เนนิ กลยุทธใ์ นสนาม (FTX) หน่วยทหาร (TEWT)
การฝึกผสมเหลา่ โดยใช้กระสุน (CALFEX) การฝึกปัญหา ทก. (CPX)
การฝึกดำ� เนนิ กลยุทธโ์ ดยใช้กระสนุ จริง (LFX)
การฝึกประสานการยงิ (FCX) การฝึกตามสถานการณ์ (STX)
การฝกึ บงั คบั บญั ชาในสนาม (CFX) การฝึกแกป้ ัญหาบนแผนที่ (MAPEX)

การฝึกสง่ กำ� ลังบำ� รงุ (LOGEX)

กรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก (วศ.ทบ.) ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการฝกึ ดำ� เนนิ กลยทุ ธใ์ นสนาม (Field Training Exercise: FTX)
เป็นการฝึกซ้อมเต็มรูปแบบ สามารถทดสอบการตอบโต้ และบรรเทาเหตุฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับด้านเคมี ชีวะ รังสี
นวิ เคลยี ร์ (คชรน.) โดยมงุ่ เนน้ การปฏบิ ตั ติ ามแผน ขน้ั ตอนกระบวนการ ทพ่ี ฒั นาหรอื กำ� หนดขนึ้ จากการฝกึ ซอ้ มแผนบนโตะ๊
(Table Top Exercise : TTX) หรือ การฝึกปัญหาที่บังคบั การ (Command Post Exercise : CPX) เหตกุ ารณ์ต่างๆ โดย
ใชบ้ ทสถานการณส์ มมตุ ใิ นการฝกึ ซอ้ ม (Script Exercise Scenario) นอกจากนใ้ี นการจัดการฝกึ FTX น้ันจะก�ำหนดเวลา
จรงิ (Real Time) และอยภู่ ายใตส้ ภาวะแวดล้อมที่กดดนั เสมือนเหตกุ ารณ์จรงิ

22 วารสารวิทยาศาสตร์ทหารบก

เมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณส์ มมตุ ติ ามบง่ การทเี่ กย่ี วกบั คชรน.
เจ้าหน้าท่ีและทรัพยากรจะต้องมีการเคลื่อนย้ายไปยังพื้นท่ี
เกิดเหตุการณ์ซ่ึงจัดไว้ส�ำหรับปฏิบัติการ ด้วยเหตุนี้ FTX
จงึ เปน็ การฝกึ ซอ้ มทใี่ ชใ้ นการประเมนิ แผน ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ
รวมทง้ั การประสานการปฏบิ ตั ิในการตอบโตเ้ หตกุ ารณ์ ภาย
ใตเ้ งอ่ื นไขภาวะวิกฤติ เปน็ การฝกึ ปฏบิ ัติงาน ณ พน้ื ทกี่ ารฝกึ
เพอ่ื ทดสอบการปฏบิ ตั ติ ามการสงั่ การบรหิ ารวกิ ฤติ และสรปุ
บทเรยี นเบอ้ื งตน้ หลงั การฝกึ ฯ ในเรอื่ งทที่ าํ การฝกึ ภาคสนาม
การเตรยี มตวั เตรยี มความพรอ้ มของบคุ ลากร เครอ่ื งมอื และ
การปฏิบัติงาน นับเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญในการเผชิญกับ
เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ ทางนวิ เคลยี รแ์ ละรังสี

รูปภาพ แสดงการฝกึ ซอ้ มแผนฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรงั สี วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๒
ณ สถาบันเทคโนโลยนี วิ เคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

วศ.ทบ. เป็นหน่วยท่ีรับผิดชอบการป้องกันและปฏิบัติการด้าน คชรน. จากองค์ความรู้ ขีดความสามารถ และ
ประสบการณ์ ตลอดจนการสร้างเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องด้านอุบัติภัย จึงมีความพร้อมระดับหนึ่ง สามารถ
พฒั นาขดี ความสามารถดา้ นการปฏบิ ตั กิ ารกภู้ ยั สารเคมไี ดท้ นั ที เพอ่ื มงุ่ สกู่ ารเตรยี มความพรอ้ มดา้ นการชว่ ยเหลอื ประชาชน
ตลอดจนองค์กรภาครัฐ และเอกชน ในการเข้าสนับสนุนการปฏิบัติการกู้ภัยสารเคมีภายในประเทศ และเพื่อเตรียมความ
พร้อมในการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน ในความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงภาคอุตสาหกรรม ท่ีมีแนวโน้ม
การใชส้ ารเคมใี นการผลิตมากข้ึน

คมู่ อื ราชการสนาม การฝกึ ก�ำลังทหาร (รส. ๒๕-๑๐๐) ข้อมูลอา้ งองิ
http://chemical.rta.mi.th
https://www.๗๗jowo.com/contents/900

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 23

ส่ิงประดิษฐ์ทางทหาร
เกราะป้องกนั สะเกด็ ระเบดิ

ตดิ บริเวณ แขน ขา หัวเขา่ และปอ้ งกันกระสนุ ปนื Level -3A

พ.ท. พรชัย คล้ายยา
ในการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางทหาร จาก พลเอก ณัฐพล นาคพาณิชย์ รองผบู้ ัญชาการทหารบก
ประจ�ำปี ๒๕๖๒ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ได้รับโล่ ในงานวันภูมิปัญญานักรบไทย ๕ กันยายน ๒๕๖๒
เกียรติยศ ผลงานส่ิงประดิษฐ์ทางทหาร ด้านยุทโธปกรณ์ ณ หอประชุมกิตติขจร ภายในกองบัญชาการกองทัพบก
ประจ�ำปี ๒๕๖๒ รางวัลชมเชย โดย พลตรี เกษมศิร ิ นับว่าเป็นเกียรติและความภาคภูมิใจของหน่วยและ
มีความดี เจ้ากรมวิทยาศาสตร์ทหารบก รับโล่เกียรติยศ ผู้ประดิษฐผ์ ลงานอย่างยงิ่
และ พนั โท พรชยั คล้ายยา นักประดิษฐ์ รบั ประกาศนยี บตั ร

24 วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

เกราะปอ้ งกนั สะเกด็ ระเบดิ
ตดิ บริเวณ แขน ขา หวั เขา่
และปอ้ งกนั กระสุนปนื Level -3A

คณุ โฆษิต บญุ เรือง ประธานสายธรุ กิจซื้อขายหลกั ทรพั ย์
หยวนต้า (ประเทศไทย) จ�ำ กดั สนบั สนุนทุนในการท�ำ
เกราะปอ้ งกนั ฯ มอบให้กับชดุ EOD ของ ฉก.ยะลา หวั กระสนุ หนกั ๑๒๔ เกรนและมี
จ�ำ นวน ๒ ชุด โดยมี พ.อ.ชลชั ศรวี ิเชยี ร รอง ผบ.ฉก. ความเร็วไม่เกิน ๑,๔๐๐ ฟุต/
วินาที และกระสุนในขนาด .๔๔
ยะลา เปน็ ผู้แทนรบั มอบ เมอื่ ๒๗ ก.ย.๖๒ แม็กนัม่ ทีม่ หี ัวกระสนุ หนัก ๒๔๐

เกรน และมีความเร็วไม่เกิน
แนวความคิด เนื่องจากในปี ๒๕๕๐ ผมต้องลงไป ๑,๔๓๐ ฟุต/วนิ าที และกระสุนทม่ี คี วามเร็วและหัวกระสนุ
ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทหี่ มบู่ า้ นปยู ู ตำ� บลเกาะสะทอ้ น อำ� เภอตากใบ ตำ�่ กวา่ นี้ คอื กนั กระสนุ ปนื สน้ั ไดท้ กุ ชนดิ และปอ้ งกนั สะเกด็
จงั หวดั นราธิวาส เสอ้ื เกราะท่ีน�ำลงไปใชม้ สี ภาพเก่า ไมเ่ พียง ระเบดิ แสวงเคร่ือง
พอกบั จำ� นวนกำ� ลังพลทล่ี งไปปฏบิ ตั ิงาน และมีน�้ำหนกั มาก ผลท่ีคาดว่าจะน�ำไปใช้งานของกองทัพบกและ
หลงั จากกลบั มาหนว่ ย จงึ ไดค้ ดิ ประดษิ ฐเ์ สอื้ เกราะกนั กระสนุ เหล่าทพั
แบบใยแก้วกันกระสุน และได้รับรองมาตรฐานจากคณะ ๑. น�ำไปเสริมให้กับชุด EOD เน่ืองจากชุดบอมบ์
กรรมการก�ำหนดมาตรฐานยุทโธปกรณ์กระทรวงกลาโหม สูท มีจำ� นวนจ�ำกดั และราคาแพง เจา้ หน้าท่ที ต่ี ิดตามไปไม่มี
(กมย.กห.) เมอื่ ปี ๒๕๕๓ ปจั จุบนั กำ� ลงั พลมีเส้ือเกราะที่ทาง อะไรปอ้ งกนั จงึ เหน็ ควรน�ำไปใชเ้ สริม
ราชการแจกจ่าย ซึ่งกันกระสุนได้เฉพาะล�ำตัว บริเวณแขน ๒. ทหาร ตำ� รวจ ทป่ี ฏบิ ตั ภิ ารกจิ ใน ๓ จชต. ทอี่ อก
ขา หัวเข่า และบริเวณใต้เข็มขัด ยังไม่มีวัสดุกันบริเวณ ปฏบิ ัตภิ ารกิจลาดตระเวน ปิดลอ้ มตรวจคน้
ดังกล่าว จึงเป็นอันตรายเมื่อถูกสะเก็ดระเบิดแสวงเครื่อง ๓. ทหาร ต�ำรวจ ทกุ เหล่าทัพ ควรจะมีประจ�ำกาย
หรือถูกยิงจากปืนสั้น จะท�ำให้เส้นเลือดใหญ่ขาด หรือ เชน่ เดยี วกบั เสื้อเกราะกนั กระสนุ
บาดแผลจากสะเก็ดระเบิด อาจท�ำให้ต้องตัดแขน ขา ได้ ๔. ทหาร ต�ำรวจ ท่ีปฏิบัติงานในการปิดล้อม
ซ่งึ ปจั จบุ ันทหาร ตำ� รวจ และอาสาสมัครทหารพราน อาสา ตรวจคน้ จับกุม ในเมือง
สมัครรักษาดินแดน ก็ยังไม่มีใช้ในกองทัพ และกระทรวง บทสรุป ส่ิงประดิษฐ์น้ีเป็นนวัตกรรมใหม่ ท่ีคิด
มหาดไทย และตามท่ีผมได้ติดตามข้อมูลด้านการทหาร มี ประดษิ ฐจ์ ากประสบการณ์ เพอื่ ชว่ ยลดการสญู เสยี ของกำ� ลงั
บางประเทศที่มีใช้ แต่มีเพียงใตเ้ ข็มขดั ทกี่ ันกระสนุ ส่วนหัว พลที่ปฏิบัติหน้าที่ใน ๓ จชต. และในพ้ืนที่ท่ีเจ้าหน้าท่ีต้อง
เขา่ ใสแ่ กก้ นั กระแทกเทา่ นน้ั จงึ ถอื ไดว้ า่ เกราะปอ้ งกนั สะเกด็ ปฏิบตั งิ านทเ่ี ส่ยี ง เช่น การปดิ ล้อมตรวจคน้ การเขา้ ไปเก็บ
ระเบิดติดบริเวณแขน ขา หวั เขา่ ฯ นี้ เป็นนวัตกรรมทส่ี ำ� คัญ กู้วัตถุระเบิด การปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าท่ี และ
มคี วามออ่ นตัวเข้ากับผสู้ วมใส่ และมนี �้ำหนกั เบา การปฏบิ ตั กิ ารในสงคราม ทม่ี คี วามเสย่ี ง ผมรสู้ กึ ดใี จและภาค
ผลงานประดิษฐ์นี้ ได้น�ำไปทดสอบและผ่านการ ภมู ิใจ ท่ีผลงานส่ิงประดษิ ฐ์น้ี ได้น�ำไปสกู่ ารใชง้ านจรงิ และ
ทดสอบการป้องกันกระสุนระดับ 3A กองสรรพาวุธ เป็นประโยชน์ต่อก�ำลังพลท่ีปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงอันตรายต่อ
สำ� นกั งานสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ แผน่ เกราะ ชวี ติ ไดเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ในการปกปอ้ งชวี ติ ของกำ� ลงั พล และจะ
สามารถป้องกนั กระสนุ ขนาด ๙ มม. พาราฯ แบบ FMJ ที่มี เป็นกำ� ลังใจในการคิดประดษิ ฐค์ ดิ ค้นส่งิ ใหมๆ่ ต่อไป

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 25

สารเคมีระเบดิ แหลมฉบัง

ความรเู้ ทา่ ไม่ถึงการณ์ หรือความมกั ง่าย

สายลม พลัดถิ่น

เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ พ.ค. ๒๕๖๒ เกดิ เหตุระเบิดและเพลงิ โดยในกรณที แี่ หลมฉบงั แคลเซยี มไฮโปคลอไรต์ ซง่ึ
ไหมท้ ต่ี คู้ อนเทนเนอรบ์ รรทกุ สารเคมบี นเรอื ณ ทา่ เรอื แหลม เป็นสารออกซิไดส์ จะท�ำหน้าท่ีเป็นสารให้ออกซิเจน ส่วน
ฉบัง ซ่ึงส่งผลให้เกิดการกระจายของสารเคมีไปตามลม คลอริเนเตทพาราฟิน แวกซ์ จะเป็นเช้ือเพลิง ดังนั้นเมื่อมี
ทำ� ความระคายเคอื งตอ่ ผวิ หนงั และระบบทางเดนิ หายใจกบั ความร้อนเกิดข้ึนจึงท�ำให้ครบองค์ประกอบของไฟ จนเกิด
ผคู้ นในพนื้ ทจ่ี ำ� นวนมาก แตไ่ มม่ ใี ครไดร้ บั บาดเจบ็ สาหสั หรอื การระเบดิ และเพลงิ ไหมด้ งั กลา่ ว
เสียชีวิต สารเคมีดังกล่าวคืออะไร และเหตุใดถึงเกิดการ แคลเซยี มไฮโปคลอไรท์ (Calcium hypochlorite)
ระเบิดข้นึ มาได้ เปน็ สารทมี่ กั ใชก้ ารฆา่ เชอ้ื โรคตา่ ง ๆ ทงั้ ทผ่ี สมเปน็ สารละลาย
จากการตรวจสอบเบอื้ งตน้ พบวา่ สารเคมที เี่ กดิ เหตุ ทค่ี นุ้ เคยกันดีอย่างไฮเตอร์ หรอื คลอรอกซ์ ในการเพาะเลี้ยง
มี ๒ ชนิด ไดแ้ ก่ ผงแคลเซยี มไฮโปคลอไรท์ และสารคลอรเิ น สัตว์น�้ำอาจมีการใส่ในปริมาณที่เหมาะสมเพ่ือก�ำจัดปรสิต
เตทพาราฟนิ แวกซ์ ซึ่งตามปกตแิ ล้วสารท้ัง ๒ ชนิด ไมค่ วร ส�ำหรับสัตว์น�้ำท่ีท�ำการเพาะนั้น ๆ แต่แคลเซียมไฮโปคลอ
เก็บไว้ใกล้กัน เนื่องจากจะท�ำให้ครบองค์ประกอบของการ ไรท์เองก็มีอันตรายรุนแรงหากใช้ผิดวิธี หรือใช้ในปริมาณท่ี
ติดไฟดงั แสดงในภาพดา้ นลา่ ง ไม่เหมาะสม ไดแ้ ก่ การกัดกรอ่ นเนื้อเย่ือบริเวณทีส่ ัมผสั ไม่
องค์ประกอบของไฟมี ๓ อยา่ ง ประกอบด้วย ว่าจะผิวหนัง ทางเดินหายใจ หรอื ทางเดินอาหาร ดังนั้นหาก
๑. ออกซิเจน ทำ� งานเกย่ี วขอ้ งกบั สารชนดิ นจี้ งึ ตอ้ งมกี ารใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั
๒. เชอื้ เพลิง ทเ่ี หมาะสม โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กรณที เ่ี ปน็ ผงเนอ่ื งจากมคี วาม
๓. ความรอ้ น เข้มขน้ สูงกวา่ แบบท่เี ปน็ ผลิตภัณฑท์ ำ� ความสะอาด

26 วารสารวิทยาศาสตรท์ หารบก

คลอรเิ นเตทพาราฟนิ แวกซ์ ปกติใชเ้ ป็นสาร plas-
ticizer ซึง่ จะใสล่ งในการผลติ โพลีเมอร์ (เชน่ พลาสติก) โดย
จะท�ำให้โพลีเมอร์นั้นมีความยืดหยุ่นมากข้ึน โดยปกติแล้ว
คลอริเนเตทพาราฟนิ แวกซ์ ไมไ่ ดต้ ดิ ไฟงา่ ย แต่ในกรณนี ี้อยู่
รวมกบั สารออกซิไดส์ จงึ ท�ำให้ตดิ ไฟจนระเบิดในทสี่ ดุ
ขอ้ สรปุ ของเหตกุ ารณด์ งั กลา่ วคอื เจา้ ของสารเคมไี ด้
ทำ� การลักลอบขนส่งเขา้ มา โดยไม่แจ้งรายละเอยี ด และเหน็
ไดว้ า่ ขาดความรใู้ นการจดั เกบ็ สารเคมี จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ เหตกุ ารณ์
ดังกล่าวข้ึน ดังนั้นในกระบวนการขนส่งสารเคมีน้ัน ผู้ที่
เกี่ยวข้องไม่ควรมักง่าย แต่ควรเรียนรู้และปฏิบัติตาม
มาตรการความปลอดภัยอย่างเครง่ ครัด ควรศกึ ษาใหแ้ นช่ ัด
ว่าสารชนิดท่ีเก็บรวมกันได้หรือไม่ได้ เพื่อไม่ให้เกิดเหตุดัง
กล่าวข้ึนอีกในอนาคต เพราะคงไม่มีใครรับประกันได้ว่าใน
ครงั้ ตอ่ ไปจะไมม่ ีผเู้ สยี ชีวติ

ข้อมูลอ้างอิง 27

https://news.thaipbs.or.th/content/280350
http://www.chemtrack.org/Chem-Detail.asp?ID=00432
https://hmroyal.com/blog/6-benefits-of-using-chlorinated-paraffin-in-your-formulation

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒

พ.ท.หญิง กัญฑมิ า นเิ วศวรรณ

ตามพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ ผู้ได้รับใบรับรองให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี
พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๙๖บัญญัติว่า “ผู้รับใบอนุญาตผลิต ตามพระราชบญั ญตั ิพลังงานปรมาณเู พ่ือสนั ติ พ.ศ. ๒๕๐๔
มีไว้ในครอบครอง หรือใช้วัสดุกัมมันตรังสี และผู้รับใบ ท่ีใบรับรองยังไม่สิ้นอายุหลังจากวันที่พระราชบัญญัติ
อนญุ าตมีไวใ้ น ครอบครอง หรือใชเ้ ครือ่ งก�ำเนิดรังสี ต้องจดั พลงั งานนวิ เคลยี ร์เพื่อสันติ พ.ศ. ๒๕๕๙ มีผลใชบ้ งั คับ
ให้มีเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทางรังสีอย่างน้อยหนึ่งคน
ประจ�ำการอยู่ตลอดเวลาท่ีเปิดทำ� การ” เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ทางรงั สมี กี ป่ี ระเภท?ก่ีระดบั ?
ท้ังน้ีหากสถานประกอบการไม่มี หรือมีเจ้าหน้าท่ี เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทางรังสีแบ่งออกเป็น ๓
ความปลอดภัยทางรังสี แต่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตลอด ประเภท ได้แก่ ประเภทวัสดุกัมมันตรังสี ประเภทเครื่อง
เวลาท่เี ปิดทำ� การ หากสำ� นักงานปรมาณูเพ่ือสันติ (ปส.) มี ก�ำเนิดรงั สี ประเภทวสั ดุกัมมนั ตรงั สีและเครื่องกำ� เนิดรังสี
การตรวจพบ ถือว่าผรู้ ับ ใบอนญุ าตไม่ปฏบิ ตั ิตามมาตรา ๙๒ ท้ังนี้แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ ตามความสามารถ
แหง่ พระราชบญั ญตั พิ ลงั งานนวิ เคลยี รเ์ พอ่ื สนั ติ พ.ศ. ๒๕๕๙ ในการดแู ลความปลอดภยั ในการใช้งาน ดงั นี้
ผู้รับ ใบอนุญาตจะมีความผิดตาม มาตรา ๑๒๓ ซึ่งอาจถูก ๑. เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทางรังสีระดับต้น
พกั ใชห้ รอื เพกิ ถอนใบอนญุ าตได้ ดังนน้ั ผ้รู ับ ใบอนุญาต ควร สามารถรบั ผิดชอบ
จดั ให้มีเจ้าหนา้ ท่คี วามปลอดภัยทางรังสี ตามกฎหมาย และ
เพยี งพอตอ่ การปฏิบัติงานตลอดเวลาเปิดทำ� การ ของสถาน
ประกอบการนนั้

เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภัยทางรังสี คอื ใคร? เคร่อื งเอกซเรย์ท่ีใชใ้ นการตรวจสัมภาระ
และภาพภายในสัมภาระ
เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทางรังสี (Radiation
Safety Officer : RSO) หมายถงึ บุคคลผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาต วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก
เป็นเจา้ หนา้ ท่ี ความปลอดภัยทางรังสี ตามพระราชบญั ญัติ
พลังงานนวิ เคลียรเ์ พอ่ื สันติ พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๙๖ หรอื
28

- วัสดุกมั มนั ตรงั สปี ระเภทท่ี ๕ (วัสดุกมั มนั ตรงั สที ่ี ๓. เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยทางรงั สรี ะดบั สงู
ไม่น่าเป็น อันตราย) เฉพาะชนิดปิดผนึก ได้แก่ อุปกรณ์ - วัสดุกัมมันตรังสีประเภทท่ี ๑ (วัสดุกัมมันตรังส ี
วเิ คราะหแ์ บบการเรอื งแสงรงั สเี อกซ์ (X-ray fluorescence ที่เป็น อันตรายสูงสุด) ได้แก่ เครื่องรังสีรักษาระยะไกล
(XRF) devices) (Teletherapy)
- เครื่องก�ำเนิดรังสีประเภทที่ ๓ (เครื่องก�ำเนิด - วัสดุกัมมันตรังสีประเภทที่ ๒ (วัสดุกัมมันตรังส ี
รังสีท่ีมี อันตรายน้อย) ได้แก่ เครอื่ งเอกซเรย์ที่อยู่ในสภาพ ที่เป็นอันตรายมาก)
ปกปิด เช่น เคร่ืองเอกซเรย์ท่ีใช้ในการตรวจสัมภาระ, - วัสดุกัมมันตรังสีประเภทท่ี ๓ (วัสดุกัมมันตรังส ี
เคร่ือง Wavelength dispersive X-ray fluorescence ที่เป็นอนั ตราย)
spectrometer สำ� หรบั งานวเิ คราะห์ - วัสดุกัมมันตรังสีประเภทท่ี ๔ (วัสดุกัมมันตรังส ี
๒. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ทางรังสีระดับกลาง ทม่ี ีโอกาสเป็นอันตราย)
สามารถรับผิดชอบ - วัสดุกัมมันตรังสีประเภทที่ ๕ (วัสดุกัมมันตรังส ี
- วสั ดุกัมมันตรงั สี ประเภทท่ี ๒ (วสั ดุ กมั มนั ตรังสี ที่ไมน่ า่ เปน็ อนั ตราย) ทุกชนดิ
ทเี่ ปน็ อนั ตราย มาก) ไดแ้ ก่ อปุ กรณ์ ถา่ ยภาพดว้ ยรงั สแี กมมา - เครอื่ งกำ� เนดิ รงั สปี ระเภทที่ ๑ (เคร่ืองกำ� เนดิ รังสี
ทางอตุ สาหกรรม (Industrial gamma radiography) ท่ีมอี ันตรายสงู ) เช่น เครือ่ งเรง่ อนภุ าคส�ำหรับงานรงั สีรกั ษา
- วัสดุกัมมันตรังสีประเภทท่ี ๓ (วัสดุกัมมันตรังส ี ทางการ แพทย์ส�ำหรับคน หรือสัตว์ เคร่ืองเร่งอนุภาค
ที่เป็นอันตราย) ได้แก่ เครื่องวัด ทางอุตสาหกรรมด้วยรังสี ส�ำหรับงานฉายรังสีอุตสาหกรรม เครื่องเร่งอนุภาค
แบบติดต้ังอยู่กับที่ เช่น อุปกรณ์วัดระดับของ ผลิตภัณฑ์ ส�ำหรับงานศึกษาวิจัย เครื่องเร่งอนุภาคส�ำหรับการตรวจ
(Level gauges) อปุ กรณ์วดั ตะกอน (Dredger gauges) สนิ ค้าทีด่ ่านศุลกากร
- วสั ดุกัมมนั ตรังสปี ระเภทท่ี ๔ (วัสดกุ ัมมนั ตรังสี ท่ี
มโี อกาสเปน็ อนั ตราย) ไดแ้ ก่ เครอ่ื งวดั ความหนา/เคลอื บผวิ
ดว้ ยรงั สี (Thickness/fill-level gauges) เครอ่ื งวดั ความชนื้ /
ความหนาแน่นดว้ ยรงั สี (Moisture/density gauges)
- วสั ดกุ มั มันตรังสปี ระเภทท่ี ๕ (วัสดุกมั มนั ตรงั สีท่ี
ไมน่ า่ เป็น อันตราย) เฉพาะชนดิ ปิดผนึก
- เครือ่ งกำ� เนิดรงั สี ประเภทท่ี ๒ (เคร่ืองก�ำเนิดรังสี
ท่ีมีอันตราย) เช่น เคร่ืองเอกซเรย์ทั่วไปท่ีใช้ทางการแพทย์ เคร่ืองเร่งอนภุ าคส�ำ หรับงานรงั สรี กั ษา
อุตสาหกรรม เคร่ืองเอกซเรย์สำ� หรับงานวิเคราะห์ (โดยอยู่ ทางการแพทย์สำ�หรบั คน

ในลกั ษณะปิดบางส่วน) เคร่อื งเอกซเรย์ฟัน เคร่อื งเอกซเรย์
สำ� หรบั สตั ว์ เครอื่ งเอกซเรยแ์ บบเคลอ่ื นท่ี (Portable X-ray)

เครอ่ื งเอกซเรย์
แบบเคลอื่ นท่ี

เคร่อื งเอกซเรยส์ �ำ หรบั สัตว์

เครื่องวดั วามช้ืน/
ความหนาแนน่ ดว้ ยรังสี

รปู แสดงการท�ำ งานของอุปกรณ์ เคร่อื งเอกซเรย์ฟนั
วดั ระดับของผลิตภัณฑ์

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 29

หน้าทีข่ องเจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภัยทางรังสี (RSO) คอื ?

๑. บริหารจัดการและ ๕. ขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี
ควบคุมคุณภาพเก่ียวกับ และวางแผน (ยกเว้น
ความปลอดภยั ทางรงั สี ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ ความ
ปลอดภยั ทางรงั สี ประเภท
เครอื่ งก�ำเนดิ รงั สี)

๒. ด�ำเนินการให้เป็น ๖. เ ต รี ย ม ค ว า ม
ไปตามกฎหมาย พ ร ้ อ ม ก ร ณี เ ห ตุ
ฉุกเฉินทางรังสีหรือ
เหตผุ ิดปกติ

๓. ป้องกันอันตราย
จากรงั สี

๔. รักษาความมั่นคงปลอดภัย ๗. จดั การกากกมั มนั ตรงั สแี ละการเลิกดำ� เนินการ
(ยกเว้นส�ำหรับเจ้าหน้าที่ความ
ปลอดภัยทางรังสีประเภทเครื่อง
ก�ำเนดิ รังสี)

การสอบขนึ้ ทะเบียน เป็นตเจอ้ า้งทห�ำนอ้ายท่า่คี งวไราม?ปลอดภยั ทางรังสี (RSO)

สมัครสอบข้ึนทะเบียนเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทาง หรือเป็นผู้รับผิดชอบด�ำเนินการทางเทคนิคเกี่ยวกับรังสีหรือ
รังสีกับ ปส. เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ทางรงั สรี ะดบั ตน้ ซงึ่ ปฏบิ ตั งิ านตอ่ เนอื่ ง
๑. วิธีการสมคั รสอบ อย่างน้อย ๓ ปี และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการป้องกัน
๑.๑ ศกึ ษาประกาศเกย่ี วกบั มาตรฐานการรบั รอง อันตรายจากรังสี ระดับ ๑ ของส�ำนักงานหรือที่ส�ำนักงานให้
เจ้าหนา้ ท่ี ความปลอดภัยทางรังสี การรับรอง
๑.๒ ตรวจสอบคณุ สมบตั ิของผูม้ สี ิทธิส์ มัครสอบ ๑.๒.๓ เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภัยทางรังสรี ะดับสูง
๑.๒.๑ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี - ได้รับวุฒิการศึกษาไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรี
ระดับตน้ ด้านวิทยาศาสตร์ หรือวิศวกรรมศาสตร์ หรือเทียบเท่าข้ึนไป
- ได้รับวุฒิการศึกษาไม่ต่�ำกว่าประกาศนียบัตร ซงึ่ เคยผา่ นการศกึ ษาวชิ าทเี่ กยี่ วกบั การปอ้ งกนั อนั ตรายจากรงั สี
วิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) อนปุ รญิ ญา หรือเทียบเท่าขน้ึ ไป หรือได้ ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต หรือผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการ
รับวุฒิการศึกษาไม่ต�่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ ปอ้ งกนั อนั ตรายจากรงั สรี ะดบั ๒ ของสำ� นกั งานหรอื ทส่ี ำ� นกั งาน
ต้องมีประสบการณ์ในงานด้านการป้องกันอันตรายจากรังส ี ให้การรับรอง และเป็นผู้รับผิดชอบด�ำเนินการทางเทคนิค
อย่างนอ้ ย ๑ ปี เกย่ี วกบั รงั สหี รอื เปน็ เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ทางรงั สรี ะดบั กลาง
๑.๒.๒ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ซ่ึงปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ๑ ปี หรือเป็นเจ้าหน้าที่
ระดบั กลาง ความปลอดภัยทางรังสี ระดบั กลาง ซึ่งปฏบิ ัตงิ านอยา่ งต่อเนอ่ื ง
- ได้รับวุฒิการศึกษาไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรี อยา่ งน้อย ๓ ปี ผ่านการอบรมหลักสูตรการป้องกนั อันตรายจาก
ด้านวิทยาศาสตร์ หรือวิศวกรรมศาสตร์ หรือเทียบเท่าขึ้นไป รังสี ระดับ ๒ ของสำ� นกั งานหรือท่สี ำ� นักงานให้การรับรอง

30 วารสารวทิ ยาศาสตรท์ หารบก

๑.๓ ดาวนโ์ หลดใบสมคั ร และใบชำ� ระคา่ สมคั รสอบ สามารถศึกษาและดูรายละเอียดเพ่ิมเติมเพ่ือท�ำความ
๑.๔ กรอกใบสมคั รใหค้ รบถว้ นชดั เจน แนบสำ� เนา เข้าใจเงื่อนไขและวิธีการกรอกใบแจ้งการช�ำระเงินเพื่อความ
หลักฐานตรงตามคณุ สมบตั ิ สะดวก รวดเร็วในการสมคั รไดท้ ี่ www.oap.go.th
๑.๕ กรอกใบชำ� ระค่าสมัครสอบ ผ้ทู ่ีมีผลสอบเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ทางรงั สผี า่ นแลว้
๑.๖ ช�ำระคา่ สมัครสอบท่ี ธนาคารกรุงไทย จะต้องส่งครั้งที่ได้ข้ึนทะเบียนเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี
๑.๗ ส�ำเนาหลักฐานช�ำระค่าสมัครสอบส่วน รหสั ผู้มสี ิทธ์ิสอบ ช่ือ-นามสกลุ ท้ังภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และ
ผ้ชู ำ� ระ (ผู้สมคั รสอบ) แนบมาพร้อมกบั ใบสมัครฯ เลขบตั รประชาชนทถ่ี กู ตอ้ ง มาท ่ี [email protected] ภายในระยะเวลา
๑.๘ ส่งใบสมัครสอบ และส�ำเนาการช�ำระ กำ� หนด และจะไดร้ บั ใบอนญุ าตตามทอ่ี ยทู่ รี่ ะบไุ วใ้ นใบสมคั รหรอื
ค่าสมัครสอบ หนว่ ยงานทส่ี งั กดั ทง้ั น้ีใบอนญุ าตเจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ทาง
๒. วิธกี ารชำ� ระค่าธรรมเนียมสมคั รสอบ รงั สมี อี ายไุ มเ่ กนิ ๓ ปี และหากผไู้ ดร้ บั ใบรบั รองใหเ้ ปน็ เจา้ หนา้ ท่ี
๒.๑ คา่ ธรรมเนียมการสอบ ความปลอดภัยทางรังสีตามพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณู
- ภาคทฤษฎี ค่าสมัครสอบวิชาละ ๒๕๐ เพ่ือสันติ พ.ศ. ๒๕๐๔ ท่ีใบรับรองยังไม่ส้ินอายุหลังจากวันท่ี
บาท โดยผสู้ มคั ร สอบปกติจะต้องสอบ ๒ วิชา (วชิ ากฎหมาย พระราชบัญญตั ิพลงั งานนิวเคลียรเ์ พอื่ สนั ติ พ.ศ. ๒๕๕๙ มผี ลใช้
และวชิ าดา้ นเทคนคิ ) คา่ สมคั รสอบรวม ๕๐๐ บาท ผสู้ มคั รสอบ บังคับแล้วใบรับรองใกล้ส้ินอายุ จะต้องย่ืนขอต่ออายุใบรับรอง
ซอ่ ม จะสอบเพยี ง ๑ วชิ า คา่ สมคั รสอบ ๒๕๐ บาท แตห่ ากไมผ่ า่ น และยื่นสมัครเข้ารับการทดสอบเพ่ือการต่อใบรับรอง ก่อนใบ
ท้ังสองวชิ าตอ้ งสมัครใหม่ เหมือนสมัครสอบตามปกติ (ช�ำระคา่ รบั รองเดมิ ส้นิ อายุ
สมคั รสอบปกติ ๕๐๐ บาท) ดงั น้ันเพ่อื ไม่ให้ผู้ปฏิบตั งิ าน และประชาชนท่ัวไปได้รับ
- ภาคปฏิบัติเฉพาะผู้สมัครสอบเจ้าหน้าท่ี อันตรายจากรังสี ผรู้ บั ใบอนุญาตหรือสถานประกอบการจงึ ต้อง
ความปลอดภยั ทางรงั สรี ะดบั สงู ทส่ี อบผา่ นภาคทฤษฎแี ละมสี ทิ ธ์ิ จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทางรังสี (RSO) ตลอดเวลาท่ี
สอบภาคปฏบิ ตั ิเทา่ นั้น ค่าสมคั รสอบ ๒,๐๐๐ บาท เปดิ ท�ำการ ทงั้ นปี้ ระเภท และระดบั ของเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั
๒.๒ วิธกี ารช�ำระคา่ สมคั รสอบ ทางรังสีนั้น ควรพิจารณาจากความเป็นอันตรายของวัสดุ
- ผสู้ มคั รสอบพมิ พแ์ บบใบแจง้ การชำ� ระเงนิ กัมมันตรังสี และเคร่ืองก�ำเนิดรังสีท่ีขออนุญาตมีไว้ครอบครอง
คา่ สมคั รสอบ บนหนา้ website รบั สมคั รสอบของครงั้ ทจี่ ะสมคั ร หรือใช้ ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทางรังสี (RSO) เป็นผู้ดูแล
ท้ังนี้ผู้สมัครสอบต้องศึกษา และท�ำความเข้าใจเงื่อนไขละวิธี ความปลอดภัยในการใช้งานวัสดุกัมมันตรังสีหรือท่ีเกี่ยวข้องกับ
การกรอกแบบใบแจง้ การชำ� ระเงนิ และกรอกใหค้ รบถว้ นทงั้ สว่ น พลังงานปรมาณู ควบคุมการได้รับปริมาณรังสีของผู้ปฏิบัติงาน
ของผูช้ ำ� ระเงินและส่วนของธนาคาร และประชาชนทวั่ ไป รวมทั้งใหค้ �ำแนะน�ำแกผ่ รู้ ับใบอนุญาตมีไว้
- เม่อื กรอกขอ้ มลู ครบถว้ นแล้ว ผู้สมัครยืน่ ครอบครอง หรือใช้วัสดุกัมมันตรังสี และผู้รับใบอนุญาตมีไว้
ชำ� ระเงนิ ท่ี ธนาคารกรงุ ไทย และเมอ่ื ชำ� ระเรยี บร้อยแลว้ จะได้ ครอบครอง หรือใช้เครอ่ื งก�ำเนิดรงั สี เพอ่ื ให้การด�ำเนนิ งานเปน็
หลักฐานการท�ำธุรกรรมช�ำระเงินคืนให้กับผู้ช�ำระเงินเพ่ือเป็น ไปตามกฎหมาย และระเบียบทีเ่ กี่ยวข้องต่อไป
หลกั ฐานการรับเงิน ของ ปส.
- สำ� เนาหลกั ฐานการชำ� ระเงนิ คา่ สมคั รสอบ หากมีข้อสงสยั ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การปฏบิ ัตติ อ่ สารรงั สี
ส่วนผู้ช�ำระเงนิ ทร่ี ะบุชือ่ - นามสกุลผ้สู มคั รสอบ เลขประจ�ำตัว และเจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภยั ทางรงั สี
ประชาชน รหัสใบสมัคร ผู้น�ำฝาก เบอร์โทรศัพท์ เจ้าหน้าท่ี
ธนาคาร และตราประทับ ของธนาคาร ถูกต้องครบถว้ นสมบูรณ์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
- ส่งส�ำเนาหลักฐานการช�ำระเงินค่าสมัคร ส�ำนกั งานปรมาณูเพอื่ สนั ติ (ปส.)
สอบ มาพรอ้ มกบั ใบสมคั ร ทงั้ นห้ี ากผสู้ มคั รสอบชำ� ระเงนิ ไมค่ รบ โทร. ๐๒-๕๙๖-๗๖๐๐
ตามจำ� นวนคา่ สมคั รสอบ จะถอื วา่ ผนู้ น้ั ไมไ่ ดส้ มคั รสอบ และ ปส.
ขอสงวนสิทธ์ไิ ม่คนื เงนิ กรณีช�ำระเงินไมค่ รบค่าสมคั รสอบ และ
กรณชี �ำระเงินเกนิ คา่ สมคั รสอบ

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 31

เม่อื คนใกลต้ ัวเปน็

เราควรท�ำตัวอยา่ งไร

ร.อ. ศรนรินทร์ กาญจนะโนพินจิ
สำ� หรบั บทความในฉบบั ทผ่ี า่ นมา ผเู้ ขยี นไดใ้ หข้ อ้ มลู ต้ังใจหรือไม่ตั้งใจก็เป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะกระตุ้นอารมณ์ซึม
เบอ้ื งต้นเก่ยี วกบั ผู้ปว่ ยโรคซึมเศร้าและวิธีแกไ้ ขปญั หาไปพอ เศรา้ ของผปู้ ว่ ยใหม้ อี าการรนุ แรงขน้ึ ได้ หลายคนยงั ไมม่ คี วาม
สมควร จากขอ้ มลู ดงั กลา่ ว เราพอจะทราบไดว้ า่ โรคซมึ เศรา้ เข้าใจถึงความส�ำคัญของตนเองในการมีส่วนร่วมกับอาการ
เปน็ โรคทตี่ อ้ งไดร้ บั การรกั ษาจากแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญ ซง่ึ ผปู้ ว่ ย ของบุคคลใกล้ชิดที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าและหลายคนแม้จะ
ตอ้ งทานยาอยา่ งสมำ่� เสมอและตอ้ งใชเ้ วลาในการรกั ษาฟน้ื ฟู เข้าใจถึงความส�ำคัญของคนใกล้ชิดของผู้ป่วยหรือมีความ
ในระยะเวลาหนึ่ง อาการถึงจะดีข้ึนหรือหายขาด ฤทธ์ิของ ปรารถนาอยากจะช่วยเหลือผู้ป่วยโรคซึมเศร้าให้ดีขึ้น แต่ก็
ยาจะชว่ ยปรบั สารสอื่ ประสาทในสมองของผปู้ ว่ ยใหก้ ลบั เขา้ ไม่ทราบว่าตนเองควรท�ำเช่นไรบ้าง ส่ิงท่ีเคยท�ำถูกต้องหรือ
สภู่ าวะปกติ แตป่ จั จยั ทจี่ ะทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยหายไดน้ นั้ มไิ ดเ้ กดิ จาก ไม่ ในบทความนี้ ผเู้ ขยี นจะแนะนำ� ถงึ แนวทางพนื้ ฐานในการ
การรักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียว สิ่งแวดล้อมรอบข้างหรือ ปฏบิ ตั ติ วั ตอ่ ผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศรา้ อยา่ งถกู วธิ เี พอื่ ใหผ้ อู้ า่ นทราบ
ปัจจัยทางสังคมของผู้ป่วยก็เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะท�ำให้ผู้ป่วย ถึงวิธีการปฏิบัติตัวต่อผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอย่างเหมาะสมและ
สามารถฟน้ื ฟจู ากการเจบ็ ปว่ ยได้ ในหลายกรณที ผี่ ปู้ ว่ ยไดร้ บั นำ� ไปสกู่ ารใชช้ วี ิตร่วมกันอย่างปกตสิ ขุ
การรักษาจากแพทย์แต่ก็ยังไม่หายขาดจากโรคในระยะยาว

เนอื่ งจากผปู้ ว่ ยยงั คงอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทก่ี ดดนั โดนสงั คม พงึ ระลกึ เสมอวา่ เขาคือผูป้ ว่ ย ไม่ใชค่ นออ่ นแอ

ตีตรา หรือคนรอบข้างบั่นทอนก�ำลังใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธรรมชาติของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามักแสดงอารมณ์
จากคนใกล้ตัวท่ีมคี วามสมั พันธใ์ กล้ชิด เชน่ ค่สู มรส พ่อแม่ และความคิดออกมาในด้านลบ บ่อยคร้ังที่ผู้ป่วยจะแสดง
พน่ี อ้ ง เพอ่ื นฝงู เพอ่ื นรว่ มงานหรอื ผบู้ งั คบั บญั ชาในทท่ี ำ� งาน ความอ่อนแอ ยอมแพ้ต่อชีวิต ไม่สู้ปัญหา ซึ่งคนรอบข้าง
ซึ่งบุคคลเหล่านี้ล้วนมีความส�ำคัญต่อความคิด อารมณ์และ หลายคร้ังมักจะเผลอตัดสินไปที่ตัวผู้ป่วยว่า เป็นคนที่มี
พฤติกรรมของผู้ป่วยทั้งในด้านดีและด้านลบ โดยธรรมชาติ ลักษณะนิสัยท่ีอ่อนแอ ไมก่ ล้าเผชิญปัญหา ซ่ึงความคดิ แบบ
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะมีความรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า ไม่มีความ น้ีจะน�ำไปสู่การแสดงออกที่ไม่ดีต่อผู้ป่วย เช่น การต�ำหนิ
สามารถ ซง่ึ ความรสู้ กึ ไรค้ า่ นผ้ึ ปู้ ว่ ยจะรบั รไู้ ดจ้ ากการประเมนิ ตอ่ ว่า ร�ำคาญหรือไม่ใหค้ วามสนใจ ตวั อย่างเช่น ค�ำพูดทว่ี ่า
ตนเองไปในทศิ ทางลบและจากการแสดงออกของผอู้ นื่ ทม่ี ตี อ่ “ก็บอกแลว้ ใชไ่ หม ให้ทำ� อยา่ งที่ฉันแนะน�ำ เธอไมท่ �ำตามท่ี
ตัวผู้ป่วยเอง ในบางครั้งการแสดงออกของคนรอบข้างท้ังท่ี ฉันบอกเอง จะมาคร�่ำครวญท�ำไม” หรือ “เลิกหัดท�ำตัว
32 วารสารวิทยาศาสตรท์ หารบก

อ่อนแอ แล้วก็ออกไปแก้ปัญหาสักที มันจะได้จบไป” การ ส่ิงท่ีมีคุณค่ามากท่ีสุดส�ำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้าคือ
กระทำ� ดงั กลา่ วจะยง่ิ สะทอ้ นภาพลกั ษณไ์ ปสผู่ ปู้ ว่ ยวา่ เขาเปน็ ก�ำลงั ใจจากคนใกลช้ ดิ การแสดงใหผ้ ้ปู ว่ ยรับรู้วา่ มคี นพรอ้ ม
คนออ่ นแอ ไมม่ คี วามสามารถและเปน็ คนไรค้ า่ อยา่ งทคี่ นรอบ เคียงข้างเสมอในยามท่ีเขามีปัญหาหรือรู้สึกท้อแท้ เป็นส่ิง
ขา้ งแสดงออกไป แมว้ า่ การแสดงออกทางลบดงั กลา่ วบางครง้ั ส�ำคัญท่ีจะท�ำให้เขาสามารถต่อสู้และฟันฝ่าอุปสรรคทาง
จะเกิดจากเจตนาที่ดีของคนใกล้ชิดก็ตาม ดังน้ันพ้ืนฐาน ความคิดและอารมณ์ของเขาไปได้ การพูดคุยเพื่อให้ผู้ป่วย
สำ� คญั ทส่ี ดุ คอื คนรอบขา้ งตอ้ งพงึ ระลกึ อยเู่ สมอวา่ พฤตกิ รรม ได้ระบายความรู้สึกเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยให้ผู้ป่วยก้าว
ที่ผู้ป่วยแสดงออกมาเป็นเพียงอาการของโรค มิใช่ลักษณะ ผา่ นความรสู้ กึ ทยี่ ำ่� แย่ การเปน็ ผฟู้ งั ทดี่ ใี หเ้ ขาไดพ้ ดู ในสงิ่ ท่ี
นสิ ยั ของตวั บคุ คล สงิ่ ทผี่ ปู้ ว่ ยแสดงออกมาเปน็ อาการของโรค อัดอั้น ได้ปลดปล่อยความโศกเศร้าภายในจิตใจออกมา
ทเ่ี กดิ ขนึ้ เพยี งชว่ั คราว เมอื่ การรกั ษาดำ� เนนิ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผู้ฟังที่ดีต้องไม่ตัดสินว่าสิ่งท่ีเขาท�ำนั้นผิดหรือถูก เน้นท่ี
พฤตกิ รรมเหลา่ นจี้ ะหายไป ดงั นนั้ คนใกลช้ ดิ จงึ ควรตระหนกั การช่วยคิดและวิเคราะห์ว่าสิ่งท่ีเขาคิดหรือท�ำจะส่งผล
และใช้ความอดทนกบั พฤติกรรมดงั กล่าวของผ้ปู ว่ ยท่ีจะเกดิ อย่างไรบ้างกับตัวเขา ในยามที่มีปัญหาผู้ฟังก็พร้อมที่จะ
ข้นึ เปน็ ระยะๆ และต้องเช่ือม่ันวา่ วันหนึ่งอาการของโรคซึม สนับสนุน ให้ค�ำปรึกษา และก้าวผ่านปัญหาไปด้วยกัน
เศร้าจะหมดไปและผู้ป่วยจะหายกลับมาเป็นปกติ เป็นคน หลีกเลี่ยงการช้แี นะวธิ กี าร การบังคบั หรือการสง่ั สอน เช่น
ธรรมดาคนเดมิ อยา่ งท่เี ขาเคยเป็น การบอกให้ไปเข้าวัดน่ังสมาธิ ฟงั ธรรมะ บงั คบั ให้ไปรับการ
รกั ษาหลายๆ วธิ เี พอื่ จะไดห้ ายปว่ ยโดยเรว็ พยายามยดั เยยี ด
ส่ิงทีผ่ ู้ป่วยโรคซึมเศรา้ ตอ้ งการ ความคิดท่ีผู้ฟังคิดว่าดีและถูกต้องให้ผู้ป่วยไปใช้ ซ่ึงส่ิงเหล่า
โดยทั่วไปคนมักจะทราบดีว่า ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า นผี้ ปู้ ว่ ยจะมองวา่ ผฟู้ งั ไมเ่ ขา้ ใจมมุ มองและความรสู้ กึ ของตน
ตอ้ งการความเขา้ ใจ ความเห็นอกเห็นใจ หรอื ตอ้ งการก�ำลัง ทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยรสู้ กึ แย่ คดิ วา่ ไมม่ ใี ครเขา้ ใจตนเอง และมแี นวโนม้
ใจ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมอ่ื เขาอยใู่ นภาวะทอ่ี าการซมึ เศรา้ เดน่ ที่จะปกปิดความรู้สึกของตนเอง คิดและแก้ปัญหาเองคน
ชัด หลายคนเข้าใจถูกและปฏิบัติต่อผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เดยี ว และดว้ ยขอ้ จำ� กดั ของโรคจะนำ� ผปู้ ว่ ยไปสกู่ ารแกป้ ญั หา
แต่หลายคนอาจจะตีความหรือเข้าใจผิดและแสดงออก อย่างไม่เหมาะสมในทา้ ยที่สดุ
ในรูปแบบของความสงสารหรือเวทนาแทน บางคนได้รับ
การยกเว้นบางอย่างเป็นพิเศษอันเนื่องจากความป่วย เช่น
หัวหน้างานที่ยกเลิกงานบางอย่างของผู้ป่วยที่ท�ำให้ผู้ป่วย
พลาดโอกาสความก้าวหน้าไป การที่พ่อแม่ให้สิทธิพิเศษ
แก่ลูกที่ป่วยเปน็ โรคซมึ เศร้า เช่น การตามใจในทกุ เร่ือง การ
ไม่กล้าขัดใจในบางเร่ืองท้ังท่ีควรท�ำ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเป็นส่ิงท ่ี
ผปู้ ว่ ยไมต่ อ้ งการ กลบั จะทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยรสู้ กึ วา่ ตนเองเปน็ ภาระ
หรอื ไมม่ คี ณุ คา่ จงึ ตอ้ งไดร้ บั การเอาอกเอาใจเปน็ พเิ ศษ ดงั นนั้
การปฏิบัติจากคนรอบข้างท่ีเป็นปกติและมีการส่ือสารถึง
เหตุผลของการปฏิบัติอย่างชัดเจน จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่า
ตนเองเปน็ สว่ นหนงึ่ ของสงั คมและปรบั ตวั เขา้ กบั สงิ่ แวดลอ้ ม
ไดด้ ยี ่ิงขนึ้

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 33

ทางความคิดและอารมณ์ซึมเศร้าไปได้ ค�ำพูดง่ายส้ันๆ ที่มี
คุณค่าต่อผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ตัวอย่างเช่น “เธอไม่ได้อยู่คน
เดียวนะ” “เธอส�ำคัญส�ำหรับฉันเสมอ” “ฉันพร้อมท่ีจะอยู่
เคียงขา้ งเธอทกุ เวลา” “อกี ไม่นานเธอจะดีขนึ้ ” “ฉันรักเธอ
ไมว่ า่ เธอจะเปน็ อยา่ งไร” “เธอไมไ่ ดบ้ า้ เธอกแ็ คเ่ ศรา้ ” “ไมม่ ี
ใครอยากให้เรื่องร้ายๆ มันเกิดข้ึน” ท้ังนี้ การใช้ค�ำพูดให้
เหมาะสมต้องข้ึนอยู่กับสถานการณ์และโอกาสท่ีจะพูด
ออกไป โดยผู้พูดต้องแสดงความจริงใจ ต้ังใจรับฟังปัญหา
และพร้อมชว่ ยเหลอื ผปู้ ่วยตามท่ตี นเองกล่าวออกไป

พูดอยา่ งไรดีกบั ผูป้ ่วยโรคซึมเศร้า บทส่งทา้ ย
ผู้อ่านหลายท่านอาจประสบกับปัญหาในการท่ีจะ คนใกลต้ ัวหรอื สังคมรอบขา้ ง เปน็ ปัจจยั ส�ำคญั ท่ีจะ
พดู คยุ กบั ผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศรา้ อาจจะมคี วามรสู้ กึ เกรง็ ไมแ่ นใ่ จ ช่วยให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสามารถฟื้นฟูและเอาชนะอาการ
หรอื ระมดั ระวงั คำ� พดู เปน็ พเิ ศษจนไมเ่ ปน็ ธรรมชาตใิ นการพดู ของโรคซมึ เศรา้ ไปได้ ความเขา้ ใจและกำ� ลงั ใจจากคนใกลช้ ดิ
คยุ กบั ผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศรา้ เนอื่ งจากกงั วลวา่ สง่ิ ทพี่ ดู ออกไปจะ เป็นส่ิงท่ีผู้ป่วยต้องการมากท่ีสุด ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าไม่ได้
เปน็ การทำ� รา้ ยจิตใจของผู้ปว่ ยหรอื ไม่ ผเู้ ขียนเช่ือวา่ ผู้อ่าน ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ แต่ต้องการการปฏิบัติแบบคน
หลายๆ ท่านอาจจะมเี จตนาดที จ่ี ะต้องการให้กำ� ลงั ใจผู้ปว่ ย ธรรมดาทว่ั ไปท่ีเข้าอกเข้าใจกนั ส่งิ ที่เขาเปน็ เกิดจากอาการ
แตบ่ างครง้ั กเ็ ลอื กใชค้ ำ� พดู ไมถ่ กู จงึ พยายามใชค้ ำ� พดู ทคี่ ดิ วา่ ของโรค มิใช่เกิดจากลักษณะนิสัยของเขา คนใกล้ชิดจึง
น่าจะมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุด เช่น “อย่าคิดมาก” ไม่ควรตัดสินหรือโทษส่ิงแย่ๆ ที่เกิดข้ึนว่ามาจากตัวเขา
“คิดเอาเองละกัน” “ไม่อยากรู้สึกแบบนี้ก็เลิกคิดสิ” ความสงสารไมไ่ ดท้ ำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยดขี น้ึ กำ� ลงั ใจเปน็ สงิ่ ทชี่ ว่ ยรกั ษา
“เลกิ เศรา้ ไดแ้ ล้ว” “ลมื ๆ มันไปเถอะ” “เด๋ียวมันกผ็ า่ นไป” โรคซมึ เศรา้ ไดด้ ที สี่ ดุ การใหผ้ ปู้ ว่ ยไดม้ โี อกาสระบายความในใจ
“สๆู้ นะ” “อยา่ สรา้ งความเดอื ดร้อนเลย” ซง่ึ คำ� เหลา่ นจ้ี ะ มีคนช่วยคิดให้ค�ำปรึกษา มีคนเคียงข้างในวันที่รู้สึกแย ่
ท�ำให้ผูป้ ่วยรู้สกึ ว่า ผู้ฟังไม่อยากรับฟงั ไม่ใส่ใจ ค�ำพูดชี้แนะ การไดค้ วามรกั การให้ก�ำลังใจจากคนใกล้ชิดผา่ นทางคำ� พูด
เหลา่ นจี้ ะปดิ กน้ั โอกาสในการทผี่ ปู้ ว่ ยจะไดร้ ะบายความรสู้ กึ ท่ีถูกตอ้ ง จะช่วยให้ผ้ปู ว่ ยรู้สกึ วา่ ชีวติ ตนเองมคี ุณคา่ ไมโ่ ดด
ออกมา ซึ่งโดยปกตแิ ล้วหลงั จากที่ผู้ป่วยได้ระบายความรสู้ ึก เดี่ยว และรับรู้ว่าส่ิงที่ตนก�ำลังเผชิญเป็นเพียงอาการป่วย
จะเปน็ ชว่ งส�ำคัญท่จี ติ ใจจะผ่อนคลายลง สภาพจิตใจจะเปดิ ช่ัวคราว นนั่ จะทำ� ใหผ้ ูป้ ่วยรู้สึกมีความหวัง สามารถเอาชนะ
กว้างพร้อมรับฟังผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่เขาไว้วางใจ นั่นก็คือ โรคซึมเศร้าและก้าวผ่านปัญหาท่ีเกิดขึ้นไปได้ในที่สุด
ผู้ท่ีรับฟังปัญหาในยามท่ีเขาทุกข์ใจมากที่สุดนั่นเอง ดังนั้น การรว่ มมอื กนั ในการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศรา้ จงึ เปน็ หนา้ ทที่ มี่ ี
ค�ำพูดบางค�ำจึงเป็นกุญแจส�ำคัญที่จะช่วยท�ำให้ผู้ป่วยรู้สึกดี คุณค่าของคนใกล้ชิดในการช่วยเหลือกันอย่างเหมาะสม
ขึน้ รับรู้ไดว้ ่ามีคนคอยเคียงข้างใหก้ �ำลงั ใจ ไม่ร้สู กึ โดดเด่ียว เพอ่ื นำ� ลูก พ่อแม่ เพอ่ื น หรอื ผู้ใต้บังคับบัญชาที่นา่ รกั คนเดิม
โดนทอดทงิ้ และพรอ้ มทีจ่ ะเผชญิ ปญั หาและฟันฝา่ อุปสรรค ของเรากลบั อีกครงั้

ขอ้ มลู อ้างองิ

คลินิกสุขภาพจิตนายแพทย์เจษฎา. (2560). 7 ประโยคที่ควร vs ไม่ควรพูด กับผู้ป่วยซึมเศร้า (ออนไลน์). สืบค้นจาก
www.facebook.com/D2JED [8 สิงหาคม 2562]

ปรภัต จูตระกูล. (2561). เพื่อนเรา (ซึม) เศร้าทำ�ไงดี(ออนไลน์). สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/
Content/42791-เพอ่ื นเรา (ซมึ ) เศรา้ ทำ�ไงด%ี 20.html [8 สิงหาคม 2562]

มาโนช หลอ่ ตระกลู . (2558). การรกั ษาโรคซมึ เศรา้ (ออนไลน)์ . สืบคน้ จากhttps://med.mahidol.ac.th/ramamental/
generalknowledge/05282014-1001 [8 สิงหาคม 2562]

34 วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

ส�ำเรจ็ ได้มากกว่า..
เม่ือต้งั เป้าหมายไดฉ้ ลาดกว่า..

ร.ท. ปวรศิ ไชยลาโภ
รรก.อจ.กรม นนร.รอ.รร.จปร.

(S.M.A.R.T.E.R. Goals of Achievement)

เกร่ินนำ� (Introduction) ประเภทของเป้าหมายมงุ่ ความส�ำเร็จ
(Types of Achievement Goals)
จากการศกึ ษาเกย่ี วกบั การตง้ั เปา้ หมาย พบวา่ บคุ คล
ทม่ี เี ปา้ หมายทส่ี งู จะมคี วามเพยี รพยายามและความสนใจตอ่ ส�ำหรับเป้าหมายมุ่งความส�ำเร็จ Dweck (1986)
สิ่งท่ีท�ำอยู่มากกว่าบุคคลที่มีเป้าหมายแบบธรรมดาทั่วไป ไดอ้ ธบิ ายวา่ รปู แบบของการตง้ั เปา้ หมาย (Goal orientation)
กลา่ วคอื เป้าหมายทยี่ ากลำ� บากเปรียบเสมอื นงานทที่ ้าทาย มพี น้ื ฐานมาจากความเชอ่ื ของบคุ คลเกยี่ วกบั ความฉลาดของ
ซงึ่ บคุ คลจำ� เปน็ ตอ้ งมที กั ษะ ความรู้ ความสามารถ และความ ตนเอง กลา่ วคอื บคุ คลท่ีมีความเชอ่ื ว่าความฉลาดเป็นส่งิ ที่
เพียรพยายามทม่ี ากกวา่ การมเี ป้าหมายแบบท่วั ไป (Locke, สามารถพัฒนาและเปลี่ยนแปลงได้ (Intelligence is
Shaw, Saari, and Latham, 1981, p. 126) โดยการตง้ั เป้า malleable) น้ันจะน�ำไปสู่ทิศทางการต้ังเป้าหมายแบบมุ่ง
หมายมุ่งความส�ำเร็จ (Achievement goals) จะหมายถึง การเรียนรู้ (Learning goal) หรือ (Mastery-oriented)
การบรู ณาการประสบการณด์ า้ นความเชอื่ (belief) การอนมุ าน บุคคลจะมีแนวโน้มในการแสวงหาความท้าทายในระดับสูง
สาเหตขุ องความสำ� เรจ็ หรอื ความลม้ เหลว (attribution) และ สามารถเผชญิ หนา้ ตอ่ อปุ สรรคและความยากลำ� บากไดอ้ ยา่ ง
ความรู้สึกนึกคิด (affect) เพอื่ นำ� ไปสูก่ ารแสดงพฤตกิ รรมท่ี มีประสทิ ธิภาพ (High persistence) อีกทัง้ ยังมีอารมณ์เชงิ
ตอบสนองความส�ำเรจ็ ในท้ายทส่ี ุด (Ames, 1992, p. 261) บวก (Positive affect) และความเพียรพยายาม (Effort)
ดังน้ัน หน่ึงในปัจจัยส�ำคัญของความส�ำเร็จก็คือ การตั้ง ในการบรรลเุ ปา้ หมาย ในทางตรงกนั ขา้ ม บคุ คลทม่ี คี วามเชอ่ื
เป้าหมายอย่างชาญฉลาดท่ีเหมาะสมกบั ตวั ตนของเรา รวม วา่ ความฉลาดเป็นสิ่งทไี่ มส่ ามารถพฒั นาหรอื เปลยี่ นแปลงไมไ่ ด้
ไปถึงการพิจารณาความเป็นไปได้และสิ่งท่ีเราจ�ำเป็นต้องมี (Intelligence is fixed) นนั้ จะนำ� ไปสทู่ ศิ ทางการตง้ั เปา้ หมาย
(ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ ความเพยี รพยายาม ความเชอื่ แบบมุ่งผลงาน (Performance goal) โดยบุคคลจะมี
การอนมุ านสาเหตุ และความรู้สกึ นึกคิด) อย่างเพยี งพอเพ่อื แนวโน้มในการหลีกเลี่ยงความท้าทาย หรือ หลกี เลย่ี งความ
บรรลุผลท่ตี ้องการ ล้มเหลวท่ีอาจเกิดข้ึน ความสามารถในการเผชิญหน้าต่อ

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 35

อุปสรรคและความยากล�ำบากอยู่ในระดับต่�ำ (Low น�ำไปปรับใช้ในการต้ังเป้าหมายเพื่อความส�ำเร็จได้ใน
persistence) กอ่ ให้เกิดอารมณ์เชิงลบ (Negative affect) หลากหลายบรบิ ททง้ั ในการทำ� งาน การเรยี น การดำ� เนนิ ชวี ติ
หรือ ความส้ินหวงั (Helpless) ได้ การออกก�ำลังกาย การท่องเท่ียว ฯลฯ โดยมีช่ือเรียกว่า
นอกจากนี้ Thrash, T. M., & Hurst, A. L. (2008) “S.M.A.R.T.E.R.” ดงั รายละเอียดต่อไปนี้
ได้อธิบายเก่ียวกับโครงสร้างของเป้าหมายมุ่งความส�ำเร็จ  S: Specific (เป้าหมายท่เี ฉพาะเจาะจง)
ทเ่ี รยี กวา่ “โมเดลเปา้ หมายมงุ่ ความสำ� เรจ็ 3 องคป์ ระกอบ” การระบพุ ฤตกิ รรมทตี่ อ้ งปฏบิ ตั อิ ยา่ งเฉพาะเจาะจง
(Elliot’s Trichotomous) ของ Andrew Elliot ยิ่งระบุได้ชัดเจนยิ่งเป็นผลดีต่อความส�ำเร็จของคุณมากข้ึน
มีรายละเอยี ดดังน้ี เท่าน้ัน ในทางจิตวิทยาแล้วน้ันความชัดเจนเป็นต้นทุนท่ี
 1. เปา้ หมายแบบมุง่ การเรยี นรู้ สำ� คญั ของเปา้ หมายกอ่ นสง่ิ อน่ื ใด คณุ สามารถเขยี นและวาด
(Mastery goals) ส่งิ ทตี่ ้องการไวใ้ นกระดาษหรือไอแพด โดยไมต่ ้องกลัวว่ามัน
เป้าหมายแบบมุ่งการเรียนรู้ ให้ความส�ำคัญ จะเฉพาะเจาะจงจนเกนิ ไปแต่อยา่ งใด
กับการพัฒนาทักษะและความสามารถของตนเองอย่าง  M: Measurable (เปา้ หมายทสี่ ามารถวดั ผล
ต่อเนื่อง เปรียบเทียบความส�ำเร็จจากมาตรฐานของตนเอง ไดช้ ดั เจน)
หากประสบความล้มเหลวจะมองว่าเป็นประสบการณ์ท่ีได้ การระบุพฤติกรรมท่ีชัดเจนพร้อมกับขอบเขตของ
เรยี นรมู้ ากกวา่ อปุ สรรค เวลาเพื่อความเป็นรูปธรรมในการปฏิบัติ กล่าวคือ เมื่อคุณ
ระบพุ ฤตกิ รรมไดแ้ ลว้ ใหเ้ พมิ่ ระยะเวลาในการไปถงึ โดยแบง่
 2. เปา้ หมายมุ่งผลงานแบบเข้าหา
(Performance-approach goals) ออกสว่ นยอ่ ย ๆ (เปา้ หมายระยะสนั้ ) ภายในแต่ละวัน
เปา้ หมายมงุ่ ผลงานแบบเขา้ หา เนน้ การเปรยี บ  A: Achievable (เป้าหมายที่ท�ำส�ำเร็จ
เทยี บความสำ� เรจ็ ของตนเองกบั ผอู้ น่ื ตอ้ งการการยอมรบั จาก ได้จริง)
บคุ คลอ่นื และสงั คม ความส�ำเร็จจะเกิดขึ้นได้จริงเมื่อคุณต้ังเป้าหมาย
 3. เป้าหมายม่งุ ผลงานแบบหลีกหนี ให้สั้น พร้อมกับมีความเช่ือมั่นในตนเองด้วย กล่าวคือ
(Performance-avoidance goals) คุณจ�ำเป็นต้องพิจารณาความเป็นไปได้จริงในการท�ำส่ิงนั้น
เป้าหมายมุ่งผลงานแบบหลีกหนี เน้นการเปรียบ ควบคูไ่ ปกบั การเพ่มิ ความมั่นใจในตนเอง
เทยี บความสำ� เรจ็ ของตนเองกบั ผอู้ นื่ หากสงิ่ ทจ่ี ะทำ� นน้ั เสย่ี ง  R: Relevant (เป้าหมายที่สอดคล้องกับ
ตอ่ ความลม้ เหลวกจ็ ะหลกี เลย่ี งและไมท่ ำ� สง่ิ นน้ั อกี ทง้ั มองวา่ ตนเอง)
ความลม้ เหลวเปน็ ส่งิ ทนี่ ่าอับอายตอ่ บุคคลอ่ืน เป้าหมายควรสอดคล้องกับตัวตนของคุณ
จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นจะเหน็ ได้ว่า รูปแบบของการ หมายความว่า เป้าหมายที่ใกล้เคียงกับลักษณะการด�ำเนิน
ตงั้ เปา้ หมายมี 3 ประเภท ซ่ึงการท่บี คุ คลมกี ารตั้งเป้าหมาย ชีวิต ภารกิจ หน้าทก่ี ารงาน การเรยี นการศกึ ษา งานอดเิ รก
แบบมงุ่ การเรยี นรู้ หรือ เปา้ หมายแบบมุ่งผลงาน น้นั ล้วนมี ย่อมท�ำให้คุณบรรลุผลส�ำเร็จได้ง่ายกว่า เน่ืองจาก
พนื้ ฐานมาจากความเชอื่ ของบคุ คลเกยี่ วกบั ตนเอง หากบคุ คล ประสบการณ์และทักษะท่ีสั่งสมมาจากกิจกรรมเหล่าน้ัน
หมนั่ ฝกึ ฝนและปรบั ความคดิ วา่ ความฉลาดและทกั ษะตา่ ง ๆ จะช่วยสง่ เสรมิ เปา้ หมายของคณุ ได้นัน่ เอง
สามารถพัฒนาและเปล่ียนแปลงให้ดีข้ึนได้ ก็จะย่ิงส่งผลให้  T: Timely (เปา้ หมายที่ระบเุ วลา)
บคุ คลนน้ั มที ศิ ทางในการตงั้ เปา้ หมายแบบมงุ่ การเรยี นรมู้ าก กำ� หนดเวลาของ(เป้าหมายระยะยาว) นับได้ว่าเปน็
กวา่ เปา้ หมายแบบมงุ่ ผลงานน่นั เอง ส่ิงที่จ�ำเป็นอย่างย่ิงในการตั้งเป้าหมายเพื่อความส�ำเร็จ
คณุ ตอ้ งระบรุ ะยะเวลาในการทำ� ภารกจิ ใหส้ ำ� เรจ็ ไมว่ า่ จะเปน็
เปา้ หมายท่ีฉลาดกว่า.. ภายใน 1 สปั ดาห์ 1 เดอื น หรือ 1 ปี
(S.M.A.R.T.E.R. Goals of Achievement)
ครั้งนี้ ผู้เขียนได้น�ำเทคนิคการตั้งเป้าหมายอย่าง  E: Evaluate (เป้าหมายที่มีการติดตาม
ชาญฉลาดมาฝากผู้อ่านทุกท่าน ข้อมูลอ้างอิงจาก Robert และทบทวน)
Kanaat (2016) และ Douglas Comstock (2018) สามารถ เมอ่ื ครบกำ� หนดเวลาของเปา้ หมายแลว้ ไมว่ า่ จะเปน็

36 วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

(เป้าหมายระยะส้ัน) หรือ (เป้าหมายระยะยาว) คุณควร ตอ่ ชีวิตของคุณ นนั่ เป็นเพราะแรงผลกั ดันภายใน (intrinsic
ติดตามผลการปฏิบัติของตนเอง พร้อมกับทบทวนถึง motivation) จะคอยสนับสนุนและกระตุ้นให้บุคคลแสดง
ความส�ำเร็จและแนวทางที่เป็นไปได้ในการพัฒนาเปา้ หมาย พฤติกรรมไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ ดังน้ัน ทุกครั้งที่จะต้อง
 R: Reinforce (เป้าหมายที่มาจากแรง เป้าหมาย ควรเป็นเป้าหมายท่ีมาจากความต้องการภายใน
ผลกั ดนั ภายใน) จติ ใจของเราเองจรงิ ๆ ไมใ่ ชเ่ ปา้ หมายทมี่ าจากความคาดหวงั
คุณจะยืนหยัดและต่อสู้เพื่อเป้าหมายอย่าง หรือ ความต้องการของผูอ้ ่ืน
มั่นคง หากเป้าหมายนั้นมีความส�ำคัญและความหมาย

ตวั อยา่ ง เป้าหมายท่ีฉลาดกวา่ ..
(สถานการณ์เป้าหมาย: มนิ ิฮาลฟ์ มาราธอน (Mini half marathon) ระยะทาง 10.5 กโิ ลเมตร)

Goal (เปา้ หมาย): วิง่ มินฮิ าล์ฟ มาราธอน ระยะทาง 10.5 กโิ ลเมตร

เทคนิค S.M.A.R.T.E.R. รายละเอยี ดของพฤตกิ รรม

Specific (เฉพาะเจาะจง) ฉนั จะฝึกซอ้ มอย่างต่อเน่อื งจนกระทง่ั สามารถวิ่งไดร้ ะยะทาง 10.5 กม.
Measurable (วัดผลไดช้ ัดเจน) ฉนั จะว่งิ ให้ได้ 1 กม. ภายใน 1 สปั ดาห์ แล้วจะเพม่ิ ระยะทางสัปดาหล์ ะ 1 กม.
Achievable (ทำ� ส�ำเรจ็ ไดจ้ รงิ ) ฉันเคยวิง่ ได้ 1-2 กม. และฉนั เช่อื มน่ั วา่ สามารถพฒั นาตนเองไดจ้ รงิ
Relevant (สอดคลอ้ งกับตนเอง) ฉันชื่นชอบการออกก�ำลังกาย และตอ้ งการลดนำ�้ หนักไปดว้ ย
Timely (ระบุเวลา) สามารถวง่ิ 10.5 กม. ภายใน 10 สัปดาห์
Evaluate (ติดตามและทบทวน) ฉันจะติดตามและทบทวนการปฏบิ ตั ทิ กุ ๆ สปั ดาห์ เพื่อปรับปรุงแกไ้ ขตนเอง
Reinforce (มาจากแรงผลกั ดันภายใน) การวิ่งได้ 10.5 กม. เปน็ ความปรารถนาของฉันอยา่ งแทจ้ ริง

หมายเหตุ เป้าหมายและรายละเอียดของพฤตกิ รรม สามารถเปลีย่ นแปลงไดต้ ามความปรารถนาและความเหมาะสม

“The greater danger for most of us isn’t that our aim is too high and miss it,
but that it is too low and we reach it.”

“อันตรายทย่ี ง่ิ ใหญก่ วา่ ไม่ใชเ่ ปา้ หมายทีส่ งู เกินไปและเราพลาดมัน
หากแตม่ ันตำ่�เกินไปแลว้ เราไปถงึ ”
- Michelangelo -

ข้อมลู อา้ งองิ

Ames, C. (1992). Classrooms: Goals, structures, and student motivation. Journal of Educational Psychology,
84(3), 261-271. doi: 10.1037/0022-0663.84.3.261
Douglas Comstock. (2018). The Mental Toughness Advantage: A 5-step Program to Boost Your Resilience and Reach

Your Goals. Emeryville, California, Rockridge Press.
Dweck, C. S. (1986). Motivational processes affecting learning. American Psychologist, 41(10), 1040-1048.
doi: 10.1037/0003-066X.41.10.1040
Locke, E. A., Shaw, K. N., Saari, L. M., & Latham, G. P. (1981). Goal setting and task performance: 1969-1980.
Psychological Bulletin, 90(1), 125-152. doi: 10.1037/0033-2909.90.1.125
Robert Kanaat. (2016). Setting S.M.A.R.T.E.R. Goals: 7 Steps to Achieving Any Goal. Retrieved Aug 25, 2019, from https://

www.wanderlustworker.com/setting-s-m-a-r-t-e-r-goals-7-steps-to-achieving-any-goal/
Thrash, T. M., & Hurst, A. L. (2008). Approach and avoidance motivation in the achievement domain: Integrating the

achievement motive and achievement goal traditions. In A. J. Elliot (Ed.), Handbook of approach and avoidance
motivation (p. 217-233). New York, NY, US: Psychology Press.

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 37

Microplastic

ปญั หาที่มากกว่าแค่เศษขยะ
ร.ต.หญิง ณุพร โกไศยกานนท์

ไมโครพลาสตกิ คำ� นห้ี ลาย ๆ คนอาจเคยไดย้ นิ ผา่ นหกู นั มาบา้ ง แตอ่ าจจะไมร่ จู้ กั วา่ มนั คอื อะไร ทำ� ไมนกั วจิ ยั ทว่ั โลกตา่ ง
ให้ความส�ำคญั กับการศึกษาส่ิงน้ี และไมโครพลาสติกสง่ ผลกระทบอะไรต่อธรรมชาติ ส่ิงมีชวี ิต และมนษุ ย์ รวมถึงเรา
จะมวี ธิ ีการจดั การกับปัญหาไมโครพลาสตกิ น้อี ย่างไรได้บ้าง

ไมโครพลาสติก คอื อะไร? และมาจากไหน? ๑. Primary Microplastic
ไมโครพลาสตกิ (Microplastic) คอื ชน้ิ สว่ นพลาสตกิ ไมโครพลาสติกประเภทนี้เป็นพลาสติกขนาดเล็กจ๋ิว ซ่ึงถูก
ขนาดเล็กถึงเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ผลติ ขนึ้ โดยตรงจากโรงงานตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารใชง้ าน เชน่
ทัง้ น้ีไมไ่ ดเ้ ฉพาะเจาะจงวา่ เป็นพลาสติกชนดิ ใด แต่หมายถงึ พวกไมโครบีดส์ (microbeads) ทีเ่ ป็นเม็ดกลม ๆ เลก็ ๆ ใน
พลาสติกที่มีขนาดต้ังแต่ ๑ นาโนเมตรจนถึง ๕ มิลลิเมตร โฟมล้างหน้า เคร่ืองส�ำอาง โดยท่ัวไปผลิตจากโพลีเอทิลีน
เราจะเรียกมันรวมๆ ว่า ไมโครพลาสติก (Microplastics) (Polyethylene) ซ่งึ งานวิจยั หลาย ๆ ฉบบั ระบุว่า ๑๕-๓๑
ซงึ่ แบ่งออกไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท คอื เปอรเ์ ซน็ ตข์ องพลาสตกิ นนั้ มาจาก Primary Microplastics

ตวั อยา่ งของไมโครพลาสติกทน่ี ักวจิ ัยเกบ็ ตวั อย่างขึน้ มาจากทะเลเมดิเตอรเ์ รเนยี น (GK Project, ES, 2019)
38 วารสารวิทยาศาสตร์ทหารบก

และ ๒ ใน ๓ ของพวกมันก็มาจากเส้นใยสังเคราะห์จาก
เส้อื ผ้า ซ่งึ เม่ือผ่านการซักลา้ งแลว้ กจ็ ะไหลรวมลงไปสู่แหล่ง
น�ำ้ สาธารณะต่าง ๆ
๒. Secondary Microplastic
เป็นไมโครพลาสติกที่เกิดจากขยะพลาสติกขนาด
ใหญท่ เี่ กดิ การแตกหกั ผกุ รอ่ น หรอื ถกู บบี อดั และยอ่ ยสลาย
จนกลายเป็นชน้ิ เล็ก ๆ ท�ำใหไ้ มโคร-พลาสตกิ ประเภทน้ีมีรูป
ร่างและขนาดที่หลากหลายมาก (ภาพด้านขวา)
นอกจากนี้ยังมีไมโครพลาสติกอีกประเภทหนึ่งท่ียัง
ไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่าอยู่ในประเภทใด นั่นคือ
ไมโครพลาสติกท่ีถูกผลิตออกมาให้มีขนาดเล็ก แต่ไม่ได้
จ�ำเพาะเจาะจงการใชง้ านทช่ี ัดเจน

จากดวงอาทติ ย์ กจ็ ะเกดิ การผกุ รอ่ น และสลายโครงสรา้ งจน
ไมโครพลาสติกปนเป้ือนในสิ่งแวดล้อม และเข้าสู่ มีขนาดชิ้นเล็กลง กลายเป็นไมโครพลาสติก โดยเฉพาะใน
รา่ งกายมนษุ ย์ได้อย่างไร? มหาสมทุ รนำ้� อนุ่ พลาสตกิ ขนาดใหญจ่ ะยอ่ ยสลายกลายเปน็
ไมโครพลาสติกมีท่ีมาจากหลายแหล่ง อาทิเช่น ไมโครพลาสตกิ ได้งา่ ย
ไมโครพลาสติกบนบกซึ่งส่วนมากมาจากการเสียดสีของ เมือ่ เศษขยะตา่ ง ๆ รวมถึงไมโครพลาสตกิ ถูกปล่อย
ยางรถยนต์กับถนน หรือสีท่ีใช้ทาอาคารหรือยานพาหนะ ลงแหล่งน�้ำ หรือชะจากแผ่นดินก็จะไหลลงไปสู่ทะเลและ
แม้กระท้ังผ้าทที่ �ำจากใยสังเคราะห์ นอกจากนย้ี ังมีการผลิต มหาสมุทร ปัญหาใหญ่ท่ีตามมาก็คือ มันจะล่องลอยปะปน
ไมโครบดี ส์ ซงึ่ เป็นเมด็ พลาสติกจ๋ิวทเี่ ปน็ สว่ นผสมในสบ่ลู า้ ง ไปกบั สาหรา่ ยและเหลา่ สงิ่ มชี วี ตขิ นาดเลก็ เชน่ แพลงตอนพชื
หนา้ หรือเจลขัดผิว ไมโครพลาสติกเหลา่ น้ีล้วนสามารถลอด และสัตว์ต่าง ๆ จึงไม่สามารถกรองออกจากน้�ำได้ ซึ่งสัตว์
ผ่านจากกระบวนการบ�ำบัดน้�ำเสียลงสู่ทะเลได้ อีกทั้งขยะ เหล่านี้อยู่ในชั้นล่างสุดของห่วงโซ่อาหาร พวกมันจะถูกจับ
พลาสติกท่ีมีขนาดใหญ่ที่ล่องลอยอยู่ในทะเลเม่ือถูกรังสียูวี กนิ โดยสิ่งมีชีวติ ท่ใี หญก่ ว่าขึน้ ไปเร่ือย ๆ

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 39

อย่างท่ีเราทราบกันดีว่า ไมโครพลาสติกเป็น รับสารพิษตกค้างเข้าไปโดยไม่รู้ตัว เพราะไมโครพลาสติกที่
ผลิตภัณฑ์ที่มนุษย์สังเคราะห์ข้ึน มันไม่ได้เกิดขึ้นตาม มีขนาดเล็กสามารถซึมผ่านผนังเซลล์เข้าไปได้ มีนักวิจัยน�ำ
ธรรมชาติ ดงั นน้ั การทสี่ ตั วท์ ะเลกนิ อาหารซง่ึ ปนเปอ้ื นเขา้ ไป เสนอความเปน็ ไปไดว้ า่ อนภุ าคพลาสตกิ ขนาดเลก็ เหลา่ นอี้ าจ
ร่างกายจะไม่สามารถย่อย น�ำไปใช้ หรือขับออกเองได้ จึง โดนลมพัดและล่องลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ปอดของส่ิงมีชีวิต
เกิดการสะสมภายในตัวของสัตว์ และเมื่อกระเพาะอาหาร ได้ เหมอื นมลภาวะทางอากาศเชน่ เดยี วกบั ไอเสยี จากรถยนต์
ของมันเต็มไปด้วยไมโครพลาสติกก็จะไม่มีพ้ืนท่ีพอส�ำหรับ ไมโครพลาสตกิ เปน็ ผลทเี่ กดิ จากการใชพ้ ลาสตกิ ซง่ึ
อาหารที่จ�ำเป็นต่อพวกมัน ส่งผลให้สัตว์เหล่าน้ันขาดสาร ได้แฝงตัวอยู่รอบตัวเราโดยที่เราคาดไม่ถึง และเป็นภัย
อาหารและท�ำให้มันตายลงในที่สุด แน่นอนว่ามนุษย์ซึ่งกิน อนั ตรายกบั สง่ิ มชี วี ติ บนโลก รวมทงั้ มนษุ ยซ์ งึ่ ถอื วา่ อยบู่ นสดุ
สตั วน์ ำ�้ เปน็ อาหารกจ็ ะไดร้ บั ไมโครพลาสตกิ ทป่ี นเปอ้ื นอยใู่ น ของห่วงโซอ่ าหาร ดังนัน้ เราควรตระหนกั ถึงการใช้พลาสติก
ตวั สตั ว์น้ำ� เหลา่ นี้ไปดว้ ย ในท้ายทสี่ ดุ แลว้ เศษพลาสติกเหล่า ในชีวิตประจ�ำวันให้มากขึ้น ปัจจุบันเร่ิมมีบางบริษัทท่ีมี
นก้ี จ็ ะเข้ามาอยใู่ นตัวเรา การน�ำพลาสตกิ มาแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑใ์ หม่ หรอื นำ� วสั ดทุ ี่
สามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติมาใช้แทนพลาสติก
จะจัดการกับไมโครพลาสติกท่ีปนเป้ือนอยู่ใน แต่นวัตกรรมเหล่าน้ีล้วนยังมีราคาสูง หากทุกคนส่งเสริม
ส่งิ แวดล้อมไดอ้ ยา่ งไร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการกระท�ำที่ช่วยในการลด
นอกจากการท่ีเราได้รับผลกระทบจากไมโคร การใช้ (Reduce) น�ำกลบั มาใชใ้ หม่ (Reuse) หรือ แปรรูป
พลาสติกผ่านทางการบริโภคสัตว์น้�ำแล้ว เรายังอาจได้รับ (Recycle) อาจมที างชว่ ยบรรเทาหรอื ลดปญั หาไดใ้ นอนาคต
อนั ตรายอยา่ งอน่ื เพม่ิ อกี ดว้ ย เพราะไมโครพลาสตกิ สามารถ ทั้งนี้ ทุกอย่างต้องเร่ิมมาจากตัวเรา เพียงแค่เรา
ดูดซมึ สารพษิ ท่ีมีอยู่ในทะเล ดงั น้ันย่ิงอยู่ในน�ำ้ ทะเลนานเท่า หันมาลดการใช้พลาสติก หันมาใช้วัสดุหรือภาชนะจาก
ไหร่ ไมโครพลาสตกิ จะมีความเป็นพษิ เพ่มิ สูงขนึ้ เทา่ น้ัน สงิ่ มี ธรรมชาตที่สามารถย่อยสลายเองได้ หรือแม้กระทั้ง การ
ชวี ติ ตง้ั แตต่ น้ หว่ งโซอ่ าหารอยา่ งเชน่ แพลงตอนสตั วใ์ นทะเล จำ� แนกขยะกอ่ นทงิ้ และทงิ้ ขยะใหเ้ ปน็ ทเี่ พอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การ
จึงมีความเส่ียงท่จี ะได้รับพลาสติกจวิ๋ เหล่านเี้ ข้าไป ส่วนส่ิงมี ก�ำจดั กจ็ ะเป็นการลดภาระของทางภาครัฐในการบริหาร
ชีวิตท่ีอยู่ชั้นบนสุดของห่วงโซ่อาหารอย่างเช่นมนุษย์อาจได้ จดั การขยะและเป็นการชว่ ยโลกไดอ้ กี ทางหนึ่งด้วย.

ขอ้ มลู อา้ งองิ

J.C. Anderson, B. J. Park, V. J. Palace. Microplastics in aquatic environments: Implications for Canadian
ecosystems. Environmental Pollution Volume 218. Pages 269-280

Threat of plastic pollution to seabirds is global, pervasive, and increasing, Proceeding of National
Academy of Sciences: USA, 2015,

จาก https://journals.openedition.org/factsreports/5257#tocto1n2
วรงค์ศิริ เข็มสวัสดิ์ (2559). ไมโครพลาสติก: จากเครื่องสําอางสู่สารปนเปื้อนในอาหาร. วารสารพิษวิทยาไทย;31(1) :

50-61. สถาบนั โภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
ภัยลอ่ งหนจากไมโครพลาสตกิ , องคก์ ารพพิ ิธภณั ฑ์วิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติ
จาก http://www.nsm.or.th/other-service/1757-online-science/knowless-inventory/sci-article/science-

article-nsm/2801-the-invisibility-of-micro-plastic.html

40 วารสารวิทยาศาสตรท์ หารบก

บัตรพลังงาน

ความลวงโลกทสี่ อ่ื ถงึ ปัญหามากกว่าทค่ี ิด

สายลม พลดั ถ่ิน

อยา่ งไรกด็ ี จากประเดน็ ดงั กล่าวมสี ิ่งทน่ี า่ สังเกตวา่
เหตุการณด์ ังกล่าวเคยเกดิ ขึน้ มากอ่ นแลว้ โดยก่อนหน้าน้ไี ด้
มีการขายบัตรสมาร์ทการ์ด ส�ำหรับประหยัดพลังงาน โดย
อา้ งวา่ เพยี งนำ� บตั รดงั กลา่ วไปตดิ ทแ่ี ผงควบคมุ ไฟฟา้ ในบา้ น
กจ็ ะสามารถประหยดั ค่าไฟไดก้ วา่ ๑,๐๐๐ บาท เลยทีเดยี ว
หรอื หากนำ� ไปตดิ ไวด้ า้ นในฝาถงั นำ�้ มนั รถกส็ ามารถประหยดั
นำ้� มนั ไดถ้ งึ ๓๓% ซง่ึ ภายหลงั จากนำ� บตั รดงั กลา่ วไปตรวจสอบ
ก็พบว่ามลี ักษณะเชน่ เดยี วกนั กบั บัตรพลังงาน
อีกกรณีหน่ึงก็คือเหรียญควอนตัม ซึ่งผู้ขายก็
แอบอ้างสรรพคุณเช่นเดียวกับบัตรพลังงานว่าหาก
ในช่วงเดือนมิถุนายนท่ีผ่านมา มีข่าวใหญ่ข่าวหนึ่ง คลอ้ งคอตดิ ตัวไว้ จะชว่ ยรักษาโรคได้
ซึ่งพูดถึง “บัตรพลังงาน” ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย
ในจังหวัดขอนแก่น โดยผู้ท่นี ำ� มาจำ� หน่ายอวดอ้างสรรพคณุ
ว่าบัตรดังกล่าวสามารถช่วยรักษาอาการป่วยต่าง ๆ ได้
เพียงน�ำมาแปะไว้ตามร่างกาย หรือจุ่มในแก้วน�้ำเป็นเวลา
๑๐ วินาทีแล้วด่ืม ซ่ึงก็มีผู้ท่ีเชื่อและซื้อบัตรดังกล่าวไปใช้
เปน็ จ�ำนวนมาก
ในเวลาตอ่ มา สำ� นกั งานปรมาณเู พอื่ สนั ติ ไดน้ ำ� บตั ร
ดังกล่าวไปท�ำการวิเคราะห์ ก่อนจะพบว่าองค์ประกอบ
ภายในบัตรดังกล่าว ประกอบไปด้วยธาตุกัมมันตภาพรังสี
ยเู รเนยี ม และทอเรียม ซงึ่ ปลอ่ ยรังสีออกมาในปริมาณทีส่ ูง
กว่าท่รี า่ งกายคนสามารถรบั ไดใ้ น ๑ ปี ถึง ๓๕๐ เทา่ ซ่ึงหาก
น�ำติดตัวเอาไว้เป็นเวลานาน จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อ
ร่างกายได้ และในระยะยาวอาจเพิ่มโอกาสการเป็นมะเร็ง
อีกด้วย
ทั้งน้ียังคงเป็นความโชคดีส�ำหรับผู้ท่ีน�ำบัตร
ดังกล่าวไปจุ่มน้�ำ เนื่องจากสารท่ีเคลือบบัตรน้ันกันน้�ำได้ดี
ในระดับหน่ึง และไม่พบว่ามีสารกัมมันตภาพรังสีในส่วน
ที่ใช้เคลือบบัตร จึงยังไม่พบว่ามีผู้ไดรับอันตรายจากการได้
รับสารกมั มนั ภาพรังสีเข้าสู่รา่ งกายโดยตรง ส่วนวัสดภุ ายใน
น้ันพบว่ามีการกระจายตัวของสารกัมมันตภาพรังสีอย่าง
สม�่ำเสมอ จึงน่าจะเป็นการผลิตโดยต้ังใจ แต่วัตถุประสงค์
จรงิ ๆ ของการผลติ บตั รดงั กลา่ วคงตอ้ งทำ� การตรวจสอบตอ่ ไป

กรกฎาคม -ธนั วาคม ๒๕๖๒ 41

คำ� ถามคือ เหตใุ ดสินค้าลวงโลกเหล่านยี้ งั คงเปลย่ี น และนเี่ ปน็ เพยี งปญั หาจากสารกมั มนั ตรงั สที มี่ ผี ผู้ ลติ
รปู แบบนำ� กลบั มาขายไดเ้ รอื่ ย ๆ ผผู้ ลติ มขี อ้ มลู ใดจงึ การผลติ มาหลอกขายเทา่ นนั้ ในขา่ วปจั จบุ นั ผอู้ า่ นคงเคยไดเ้ หน็ ความ
สินคา้ ดังกล่าว หรอื เพยี งต้องการกำ� จัดกากกมั มนั ตรงั สอี อก เชอื่ แปลก ๆ ทีไ่ มไ่ ดม้ งี านวิจยั หรอื หลกั ฐานใด ๆ รองรับวา่
ไปโดยไม่ต้องท�ำตามกระบวนการสากลซ่ึงมีค่าใช้จ่ายสูง ท�ำแลว้ เกดิ ประโยชน์จริง จะมีกแ็ ตข่ ้อมูลยนื ยันถงึ ผลเสียตอ่
ผทู้ เี่ ปน็ ตวั แทนจำ� หนา่ ยเหตใุ ดจงึ เหน็ แกผ่ ลประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั สุขภาพ แตผ่ คู้ นก็ยังคงเช่ือต่อ ๆ กันไป เช่น การกินโคลน
จนไม่สนใจชีวิตเพ่ือนมนุษย์ด้วยกัน และเหตุใดผู้ท่ีซ้ือไปใช้ รกั ษาโรค การกนิ มะนาวโซดารกั ษามะเรง็ การเจาะปลายนว้ิ
กย็ ังคงซ้ือสนิ คา้ เหล่านี้ แม้จะเกดิ เหตกุ ารณค์ ล้าย ๆ กันมา รักษาเส้นเลือดในสมองแตก และล่าสุด การดื่มปัสสาวะ
หลายครง้ั แลว้ ก็ตาม รกั ษาโรค
เหตุผลหนึ่งคงเป็นเพราะการขาดความรู้ทางด้าน คงถึงเวลาแล้วที่ควรรณรงค์เร่ืองการให้ความรู้
วิทยาศาสตร์และการแพทย์ วิถีชีวิตของคนบางส่วนท่ียังคง ที่ถูกต้อง และช่วยกันเผยแพร่หรือบอกต่อข้อมูลท่ีเป็น
เชื่อเร่ืองเหนือธรรมชาติมากกว่าสิ่งท่ีพิสูจน์ได้ด้วยหลักฐาน ความจรงิ และมปี ระโยชน์ รวมถงึ การตอ่ ต้านขา่ วลวงต่าง ๆ
และการทดลอง จึงท�ำให้คนส่วนหน่ึงเชื่อว่ามีส่ิงท่ีสามารถ ใหห้ มดไป มเิ ชน่ นน้ั คงมบี ตั รพลงั งานรปู แบบใหม่ ๆ ออกมา
รักษาโรคต่าง ๆ ใหห้ ายไดใ้ นเวลาเพยี งพรบิ ตา ดจุ อภินหิ าร ขายได้เรื่อย ๆ รวมถึงความเชื่อแปลก ๆ แบบน้ีต่อไปไม่มี
ซง่ึ หากปญั หาเหลา่ น้ีไมไ่ ดร้ ับการแกไ้ ข ผคู้ นยงั เชื่อเฉพาะสิง่ วันสน้ิ สุด
ทอ่ี ยากเชอ่ื ผลลพั ธท์ ต่ี ามมาคอื ผคู้ นจะลม้ ปว่ ยโดยไมจ่ ำ� เปน็
จากเหตุการณ์เหล่านี้ ท�ำให้บุคลากรทางการแพทย์ต้อง
ท�ำงานหนักข้ึน และประเทศชาติต้องเสียงบประมาณ
ในการรักษาผ้ปู ่วยเหล่านีม้ ากขึ้น

ขอ้ มูลอา้ งองิ วารสารวิทยาศาสตร์ทหารบก

https://news.thaipbs.or.th/content/280827
https://1mediaglobal.wordpress.com
https://www.thaihealth.or.th/Content/5825
https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_2201274
https://www.thairath.co.th/content/702080
https://www.matichon.co.th/education/news_317748
42

จิตอาสา

“เราท�ำความดี เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์”

แผนกกิจการพลเรือน

ปัจจุบันปัญหาสังคมทวีความรุนแรงมากขึ้นทั้ง ในพนื้ ทต่ี า่ งๆ เพ่อื บรรเทาความเดือดรอ้ นและแก้ไขปญั หา
ทางครอบครัว ชุมชนและสังคมหากไม่รีบแก้ไขให้ทันท่วงที ใหป้ ระชาชน กำ� ลงั พลของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ได้ไป
สังคมก็จะตกอยู่ภายใต้ความสับสนวุ่นวาย ซึ่งไม่ใช่เร่ืองท่ีดี ร่วมลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการอย่างต่อเนื่อง และได้ออก
นัก แต่การสรา้ งจติ สาธารณะใหเ้ กดิ ขึ้นตอ่ คนทกุ เพศ ทุกวยั ปฏิบัติหน้าท่ีในการเป็นจิตอาสา และได้ร่วมกิจกรรมกับ
ไดม้ ากเท่าไร สังคมแหง่ การเอ้ืออาทร แบ่งปนั ก็ยง่ิ มากขน้ึ ภาคประชาชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี แลกเปลี่ยน
เท่านั้น จิตอาสา จึงเข้ามามีบทบาทท่ีส�ำคัญต่อสังคม ประสบการณ์ตา่ งๆ ทสี่ ำ� คัญ ก�ำลังพลของกรมวทิ ยาศาสตร์
เป็นอย่างมาก ให้ประชาชนทุกคน สามารถแสดงพลังจิต ทหารบก เหนือส่ิงอ่ืนใดคือการได้รับพระราชทาน หมวก
สาธารณะได้อยา่ งเตม็ ที่ และผ้าพันคอจากพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี
กรมวิทยาศาสตร์ทหารบกเล็งเห็นความส�ำคัญ ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็น
และตระหนักถึงเร่ืองน้ีจึงเข้าร่วมโครงการจิตอาสา เกียรติประวตั ิสูงสุดของชวี ิตแลว้
พระราชทาน โดยใหจ้ ติ อาสารว่ มบำ� เพญ็ สาธารณะประโยชน์

กรกฎาคม -ธันวาคม ๒๕๖๒ 43

จิตอาสา หมายถงึ จิตแหง่ การใหค้ วามดงี ามท้งั ปวง เจ้ากรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ที่ต้องการให้ ข้าราชการ
แก่เพื่อนมนุษย์โดยเต็มใจ พร้อมจะเสียสละเวลา ให้ความ ลูกจ้าง สมาชิกชมรมแม่บ้าน วศ.ทบ. มีโอกาสสร้างสรรค์
ช่วยเหลือ ร่วมมือ ลงแรง ร่วมใจ ในการท�ำประโยชน์เพ่ือ ประโยชน์เพ่ือชาติ และประชาชน น�ำมาซ่ึงการเสริมสร้าง
ส่วนรวมเพ่ือช่วยลดปัญหาที่อาจเกิดข้ึนในสังคมช่วยแก้ บุคลากรในสังกัด ให้เป็น “จิตอาสา” ด้วยความสมัครใจ
ปัญหาและสร้างสรรค์เพ่ือให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคมยก มีการอบรมเพิ่มองค์ความรู้ท่ีทันเหตุการณ์ จัดหมวดหมู่ให้
ตวั อยา่ งเชน่ การชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม โดยการไมท่ งิ้ เป็นองค์กร มีการติดต่อส่ือสาร และควบคุมที่ชัดเจน
ขยะลงในแหล่งน้�ำ การแยกขยะ แม้แต่การประหยัดน�้ำ ตลอดจนมีการใช้งานตามกรอบแนวทางท่ีก�ำหนด โดยม ี
ประปาหรอื ไฟฟา้ ทเ่ี ปน็ ของสว่ นรวม โดยใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ เปา้ หมายเพอื่ ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และประชาชนโดยสว่ นรวม
อย่างคุ้มค่า หรือบางคนที่ลุกขึ้นมาท�ำความดีกันคนละนิด ทำ� ให้ จติ อาสา มีความเขา้ ใจบทบาทของตนเอง เหน็ ความ
หรือใช้ความรู้และประสบการณ์ที่มี เพื่อช่วยงาน หรือ ส�ำคัญของการอาสา เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ร่วม
กิจกรรมต่างๆ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนหรือ บ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ อาทิเช่น เก็บกวาด, ตัดหญ้า
สงั คมโดยรวม พัฒนาคูคลอง ทาสีสะพานข้ามคลอง, ท�ำความสะอาดล้าง
เพราะฉะนั้น ก�ำลังพลทุกคนจึงเป็นบทบาทหลักที่ พื้นผิวจราจร, บริเวณทางเท้ากิจกรรม, ฉีดพ่นละอองน้�ำ
จะช่วยผลักดันโครงการจิตอาสาพระราชทาน ให้มีศักยภาพ เพ่ือลดปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก, ขุดลอกคลอง, ก�ำจัด
ประกอบกบั มีความรู้ มีความสามัคคี มนี ้�ำใจ มจี ิตสำ� นึกต่อ ผักตบชวา เพื่อเพิ่มศักยภาพการระบายน้�ำ และเก็บกวาด
ส่วนรวมมากๆ ก็จะเป็นพลังบวกท่ีส�ำคัญท่ีจะช่วยลดและ ขยะโดยรอบตลอดสองฝั่งคลองเก็บขยะ เพื่อเป็นการ
แก้ปัญหาของสังคมไทยได้ดี สร้างคนให้เห็นแก่ประโยชน์ การขับเคล่ือนงานส�ำคัญของประเทศ สามารถเข้าร่วม
ของผู้อื่นและสังคมโดยรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตน กิจกรรมและลงพื้นท่ีท�ำกิจกรรมต่างๆ ได้ สร้างส�ำนึก
การปลูกฝังให้ก�ำลังพล มีบทบาทหน้าท่ีเป็นจิตสาธารณะ เพ่อื ชาติ กระตุ้นใหป้ ระชาชน เกดิ การมสี ว่ นรว่ มในการเดิน
และลุกข้ึนมามีส่วนร่วมอยากช่วยเหลือสังคม แม้ส่ิงที่ หนา้ ประเทศได้อยา่ งน่าพงึ พอใจ นอกจากนี้ ยังใหบ้ คุ ลากร
จติ อาสากระทำ� จะเปน็ สงิ่ เลก็ ๆ แตเ่ มอื่ ทกุ คนเขา้ มามบี ทบาท ในสงั กดั แสดงพลงั อันบริสุทธ์ิ รว่ มขับเคล่ือนงานสรา้ งชาติ
ร่วมกัน เกิดเป็นพลังที่ย่ิงใหญ่ และเป็นพลังท�ำความดีท่ี ให้ประสบความสำ� เร็จตามเปา้ หมาย ให้เข้มแข็ง เป็นองคก์ ร
สามารถใหท้ ุกคนสามารถเขา้ มาเปน็ สว่ นหนึ่งรว่ มกนั ได้ มวลชนของกองทัพ และร่วม ขับเคล่ือนประเทศไทย ไปสู่
กรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก ในหว้ งปที ผี่ า่ นมาของงาน ความมน่ั คง ม่งั ค่งั ยังยืน ตอ่ ไป
จิตอาสา ซ่ึงเกิดจากนโยบายของ พล.ต.เกษมศิริ มีความดี

แหล่งอา้ งอิง www.siammedia.com วารสารวทิ ยาศาสตร์ทหารบก

44

พลตรี เกษมศริ ิ มคี วามดี เจา้ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก น�ำก�ำลงั พลร่วมถวายสัตยป์ ฏิญาณเพอ่ื เปน็ ข้าราชการทด่ี ี และ
พลังของแผ่นดิน ประจ�ำปี ๒๕๖๒ และร่วมพิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช
สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ห้องรังสีเจิดจรัส แหล่งสมาคมนายทหาร
กรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก เม่ือ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒

พลตรี เกษมศิริ มคี วามดี เจา้ กรมวิทยาศาสตรท์ หารบก น�ำกำ� ลงั พลและครอบครวั ร่วมพธิ ีตกั บาตรพระสงฆถ์ วายเปน็
พระราชกศุ ลครบรอบ ๓ ปี วนั สวรรคต พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ณ บริเวณหนา้ ตึกกองบญั ชาการ กรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก เม่อื ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒

กรกฎาคม - ธนั วาคม ๒๕๖๒ 45

พลเอก ธรี วัฒน์ บุณยะวัฒน์ เสนาธิการทหารบก เปน็ ประธานพธิ วี นั สถาปนา กรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก ครบรอบปีท่ี ๘๔
ณ ตึกกองบัญชาการ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก โดยมี พลตรี เกษมศิริ มีความดี เจ้ากรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
ให้การตอ้ นรบั เม่อื ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๒
46 วารสารวิทยาศาสตรท์ หารบก

พลตรี เกษมศิริ มีความดี เจา้ กรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก ให้การตอ้ นรบั พลเอก ณรงคพ์ นั ธ์ จติ ต์แก้วแท้ ผชู้ ่วยผบู้ ัญชาการ
ทหารบก พร้อมคณะ ในการตรวจเย่ียมกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ณ ตึกกองบัญชาการ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
เมือ่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒ 47

กรมวทิ ยาศาสตรท์ หารบก สนบั สนนุ ชุดครูฝกึ พรอ้ มยทุ โธปกรณ์ ในการฝกึ ใสห่ นา้ กากปอ้ งกันเคมี - ชวี ะ ให้กบั นรพ.
ช้นั ปีที่ ๒ รุ่นท่ี ๕๕ และ นรช. รุ่นที่ ๓๘ ณ โรงเรียนวิทยาศาสตรท์ หารบก เมอื่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒

กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก เข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาทีมระงับเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี ประจ�ำปี
๒๕๖๒ ณ สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลียร์แห่งชาติ จงั หวดั กรุงเทพมหานคร ห้วง ๑๙-๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๒
48 วารสารวิทยาศาสตรท์ หารบก


Click to View FlipBook Version