รายงานการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
วนอุทยานภูสิงห์-ภูผาผ้ึง
สว่ นสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สํานกั ฟน้ื ฟูและพฒั นาพ้นื ทอ่ี นุรกั ษ์
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธุ์พืช
พ.ศ. 2557
บทสรุปสาํ หรับผ้บู ริหาร
จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พื้นท่ีป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ
31.57 ของพ้ืนที่ประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหน่ึงที่ทําให้ทราบถึงสถานภาพ
และศกั ยภาพของทรัพยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพื่อนํามาใช้
ในการดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซึ่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้ดําเนินการมา
อย่างตอ่ เน่ือง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพื้นที่วนอุทยานภูสิงห์-ภูผาผึ้ง ซ่ึงมีเนื้อท่ี 10,000 ไร่ หรือ
ประมาณ 16.00 ตารางกโิ ลเมตร (พื้นทีไ่ ด้จากการแปลภาพถา่ ยทางอากาศ) ครอบคลมุ พ้ืนทต่ี ําบลนกทา ตําบล
เหล่าพรวน ตาํ บลคมึ ใหญ่ อาํ เภอเมอื ง และตําบลโนนงาม อําเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อํานาจเจริญ
ผลการสํารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พบว่า มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่สํารวจพบ 2
ประเภท ไดแ้ ก่ ปา่ ดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ โดยป่าเบญจพรรณพบมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 75 ของพื้นท่ีท้ังหมด
รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 25 ของพื้นที่ท้ังหมด (คิดจากสัดส่วนเปอร์เซ็นต์ที่ได้จากการสํารวจ
ภาคสนาม) สําหรับพรรณไม้รวมทุกชนิดป่าพบท้ังส้ิน 23 วงศ์ มีมากกว่า 42 ชนิด รวมจํานวน 1,068,000 ต้น
คิดเป็นปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 118,565.13 ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแน่นของไม้เฉลี่ย 107 ต้นต่อไร่ และ
มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 11.86 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ซ่ึงเมื่อเรียงลาํ ดับจากจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10
อันดับแรก คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) หางรอก (Miliusa velutina) เหมือดปลาซิว
(Symplocos sumuntia) สาธร (Millettia leucantha) เขลง (Dialium cochinchinense) กระบก (Irvingia
malayana) ดงดาํ (Alphonsea glabrifolia) ข้อี า้ ย (Terminalia triptera)มะปว่ น (Mitrephora vandaeflora)
และเสลาเปลอื กบาง (Lagerstroemia venusta) ตามลาํ ดบั ไมย้ นื ตน้ พบมากสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื
ปา่ ดิบแล้ง
ลูกไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 11 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 18,026,667 ต้น ซ่ึง
เมื่อเรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) เข็มป่า (Ixora cibdela) ลําดวน (Melodorum fruticosum) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius)
ง้ิว (Bombax ceiba) ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) พลับพลา (Microcos tomentosa) กระบก
(Irvingia malayana) สันโสก (Clausena excavata) และปอดาน (Decaschistia crotonifolia) ตามลําดับ
ป่าทีส่ าํ รวจพบจาํ นวนลกู ไม้มากทส่ี ุด คอื ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ ดบิ แล้ง
กลา้ ไม้ (Seedling) ทีพ่ บในแปลงสาํ รวจมีมากกว่า 13 ชนดิ รวมจํานวนทงั้ หมด 48,800,000 ต้น
ซงึ่ เม่อื เรยี งลาํ ดับจากจาํ นวนตน้ ที่พบมากสดุ ไปหานอ้ ยสุด 10 อันดับแรก ไดแ้ ก่ เข็มปา่ (Ixora cibdela) หางรอก
(Miliusa velutina) รัง (Shorea siamensis) ลําดวน (Melodorum fruticosum) ข่อยหนาม (Streblus
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีวนอทุ ยานภสู งิ ห์-ภูผาผงึ้
ilicifolius) ตะเคยี นทอง (Hopea odorata) พลับพลา (Microcos tomentosa) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia
cultrata) พลองเหมอื ด (Memecylon edule) และมะกอก (Spondias pinnata) ตามลําดบั ป่าที่สาํ รวจพบ
จาํ นวนกล้าไม้มากที่สดุ คอื ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แล้ง
สว่ นผลการวิเคราะห์ข้อมลู สังคมพชื พบวา่ ชนิดไมท้ ี่มีความถ่ี (Frequency) ความหนาแน่น
ของพืชพรรณ (Density) และชนิดไมท้ ีม่ คี วามเดน่ (Dominance) มากที่สดุ คือ ตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) ชนิดไม้ที่มีค่าความสาํ คัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index :
IVI) มากท่ีสุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คือ หางรอก (Miliusa
velutina) และข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์
ที่ดินท่ีมีความหลากหลายของชนิดพนั ธ์ุไม้ (Species Diversity) พบว่า ป่าเบญจพรรณ มคี า่ เท่ากับ 2.55 และ
ปา่ ดบิ แล้ง มคี า่ เทา่ กับ 2.80 ซึ่งชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้
(Species Richness) พบว่า
ป่าเบญจพรรณ มคี ่าเทา่ กับ 5.32 ปา่ ดบิ แล้ง มีคา่ เท่ากบั 5.33 และชนิดป่าหรือลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ที่
มคี วามสม่ําเสมอของชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ (Species Evenness) พบวา่ ปา่ เบญจพรรณ มีค่าเท่ากบั 0.76 ปา่ ดิบแล้ง มีค่า
เท่ากบั 0.88
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลโครงสรา้ งป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่ามีไม้
ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนตเิ มตร จํานวน 783,995 ต้น คิดเป็นร้อยละ 73.41
ของไม้ทง้ั หมด ไมย้ ืนตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน 260,013 ต้น
คิดเปน็ ร้อยละ 24.34 ของไม้ทงั้ หมด และไมย้ ืนตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา่ 100 เซนติเมตรข้ึนไป
จาํ นวน 23,992 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 2.25 ของไมท้ ้ังหมด
จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธุ์พืชในพื้นที่ต่างๆ ของวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผ้ึง อีกท้ังยังเป็นแนวทาง
ในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบ
แผนเพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรปา่ ไมใ้ นพืน้ ท่ีวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผงึ้ ต่อไป
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทว่ี นอยุ านภูสงิ ห์–ภผู าผึ้ง
i
สารบญั หนา้
i
สารบญั iii
สารบัญตาราง iv
สารบญั ภาพ 1
คํานาํ 2
วตั ถปุ ระสงค์ 2
เปา้ หมายการดําเนนิ งาน 3
ข้อมลู ทวั่ ไปวนอุทยานภูสงิ ห-์ ภูผาผ้ึง 3
3
ประวตั ิความเปน็ มา 3
ท่ตี งั้ และอาณาเขต 4
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม 5
ลักษณะภมู ิประเทศ 6
จดุ เดน่ ทีน่ ่าสนใจ 6
รูปแบบและวธิ ีการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ 7
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design) 7
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design) 8
ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมูลท่ที าการสํารวจ 8
การวิเคราะหข์ อ้ มูลการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ 8
1. การคํานวณเน้อื ทีป่ ่าและปริมาณไมท้ งั้ หมดของแต่ละพืน้ ที่อนุรักษ์ 9
2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม้ 9
3. ขอ้ มูลท่วั ไป 9
4. การวเิ คราะห์ข้อมลู องคป์ ระกอบของหมู่ไม้ 9
5. การวเิ คราะห์ข้อมูลชนดิ และปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม(้ Seeding)
6. การวิเคราะหข์ ้อมลู ชนดิ และปริมาณของไม้ไผ่ หวาย 10
7. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู สังคมพชื 11
8. วเิ คราะหข์ ้อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ 12
ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้ 12
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง 13
2. พ้ืนทป่ี ่าไม้ 16
3. ปริมาณไม้
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่วนอทุ ยานภสู ิงห์-ภูผาผึ้ง
ii
สารบญั (ตอ่ ) หน้า
19
4. ชนดิ พันธไ์ุ ม้ 26
5. สงั คมพืช 29
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 30
สรปุ ผลการสาํ รวจและวิเคราะห์ข้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 33
ปัญหาและอปุ สรรค 33
ขอ้ เสนอแนะ 34
เอกสารอา้ งองิ
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทว่ี นอุทยานภสู งิ ห-์ ภูผาผงึ้
iii
สารบญั ตาราง หนา้
7
ตารางที่ 13
1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มูลทท่ี าการสํารวจ
2 พ้นื ทีป่ า่ ไม้จาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ 16
ในวนอทุ ยานภสู ิงห-์ ภูผาผ้ึง (Area by Landuse Type)
3 ปริมาณไม้ท้งั หมดจาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน 17
ในวนอทุ ยานภูสงิ ห-์ ภูผาผึ้ง (Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ ่อหน่วยพื้นที่จําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี นิ 19
ในวนอุทยานภสู ิงห-์ ภูผาผ้ึง (Density and Volume per Area by Landuse Type) 21
5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ัง้ หมดในวนอทุ ยานภูสงิ ห-์ ภผู าผึง้ 22
6 ปริมาณไม้ทง้ั หมดของวนอุทยานภสู ิงห-์ ภผู าผ้งึ 23
7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดิบแล้งของวนอทุ ยานภูสิงห์-ภผู าผ้งึ 25
8 ปริมาณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของวนอุทยานภูสิงห์-ภูผาผง้ึ 25
9 ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ทีพ่ บในวนอทุ ยานภูสิงห์-ภผู าผ้ึง 27
10 ชนิดและปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในวนอุทยานภสู งิ ห์-ภผู าผงึ้
11 ดัชนีความสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) 28
ของป่าดิบแล้งในวนอุทยานภสู ิงห-์ ภูผาผ้งึ
12 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) 29
ของป่าเบญจพรรณในวนอทุ ยานภสู ิงห์-ภูผาผึ้ง
13 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนิดพนั ธ์ุไม้วนอุยานภูสิงห–์ ภูผาผึง้
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทีว่ นอทุ ยานภูสงิ ห-์ ภผู าผึ้ง
iv
สารบญั ภาพ หน้า
3
ภาพที่ 4
1 แสดงที่ตงั้ ของวนอุทยานภสู ิงห์-ภูผาผึ้ง 5
2 ลกั ษณะแหลง่ ทอ่ งเท่ียวในพื้นทวี่ นอทุ ยานภสู ิงห-์ ภผู าผงึ้ 6
3 จดุ เดน่ ทนี่ า่ สนใจ (พระพุทธรปู ปูนปรางค์สมาธบิ นยอดภผู าผึ้ง) 12
4 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง 13
5 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมิประเทศของเขตวนอุทยานภสู งิ ห-์ ภผู าผึง้ 14
6 พนื้ ท่ปี ่าไมจ้ ําแนกตามชนิดป่าในพนื้ ท่วี นอทุ ยานภูสงิ ห-์ ภผู าผ้งึ 15
7 ลกั ษณะทวั่ ไปของปา่ ดบิ แลง้ พน้ื ทีว่ นอทุ ยานภสู งิ ห-์ ภผู าผ้ึง 16
8 ลกั ษณะทั่วไปของปา่ เบญจพรรณในพ้ืนทวี่ นอทุ ยานภสู งิ ห-์ ภูผาผ้ึง 17
9 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดทพี่ บในพ้ืนท่ีวนอทุ ยานภสู งิ ห-์ ภูผาผึ้ง 18
10 ปริมาตรไม้ทั้งหมดท่พี บในพนื้ ที่วนอุทยานภูสงิ ห์-ภผู าผง้ึ 18
11 ความหนาแนน่ ของไมท้ ั้งหมดในพ้ืนท่วี นอุทยานภูสงิ ห-์ ภผู าผ้งึ 19
12 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพ้ืนที่แตล่ ะประเภทในพ้ืนท่ีวนอทุ ยานภสู ิงห-์ ภูผาผ้ึง 24
13 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้งั หมด (ต้น) ในพนื้ ท่ีวนอทุ ยานภูสิงห์-ภูผาผ้งึ
14 การจาํ แนกชั้นเรือนยอดของต้นไม้ (ร้อยละ %) ของวนอุทยานภสู งิ ห-์ ภูผาผ้งึ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่ีวนอุทยานภสู ิงห-์ ภผู าผง้ึ
1
คาํ นํา
ปัจจบุ ันประเทศไทยมพี ้ืนท่ีปา่ ไมเ้ หลอื อย่ปู ระมาณร้อยละ 33.56 ของพ้นื ทป่ี ระเทศ (ท่มี า:หนังสือ
ข้อมูลสถิติอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช, 2552) ซ่ึงพ้ืนท่ีดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่จะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ให้
สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างย่ังยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพ
และศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยู่ในพ้ืนท่ีป่า
ไม้ โดยมีรูปแบบและวิธีการสํารวจแบบแปลงตัวอย่างถาวรรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร และสุ่มตัวอย่างแบบ
สมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนท่ีภาพถ่ายดาวเทียมท่ีมีการแปลสภาพว่าเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลง
ตวั อย่างมีระยะหา่ งเทา่ ๆ กนั บนเส้นกริดแผนที่ 2.5x2.5 กิโลเมตร เพื่อนําข้อมูลมาใช้ประกอบการพิจารณาใน
การดําเนินการตามภาระรบั ผดิ ชอบตอ่ ไป ดังน้ัน ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนา
พ้ืนท่ีอนุรักษ์ ดําเนินการสํารวจพื้นท่ีป่าอนุรักษ์ในเขตวนอุทยานภูสิงห์-ภูผาผึ้ง เพ่ือรวบรวมเป็นฐานข้อมูลใน
การดาํ เนินงานดา้ นทรัพยากรป่าไม้ในพ้นื ที่อนุรกั ษ์ รวมท้ังใชใ้ นการประเมนิ สถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร
ป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อนําไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการดําเนินการในภารกิจต่างๆ ของ
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์ุพชื ต่อไป
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทว่ี นอทุ ยานภสู ิงห–์ ภูผาผึ้ง
2
วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือให้ทราบข้อมลู พ้ืนฐานเกย่ี วกับทรัพยากรปา่ ไม้ โดยเฉพาะด้านกาํ ลงั ผลติ และความหลากหลาย
ของพชื พันธ์ุในพืน้ ท่วี นอุทยานต่างๆ ของประเทศไทย
2. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์
ข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพือ่ เปน็ แนวทางในการวางระบบติดตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรปา่ ไม้ในพ้นื ที่
4. เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพ่อื ปลกู เสรมิ ป่าในแตล่ ะพื้นท่ี
เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ส่วนสํารวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สาํ นักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนรุ กั ษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธ์ุพชื ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ีสํารวจ
เป้าหมายในพนื้ ทวี่ นอุทยานภสู งิ ห์–ภผู าผง้ึ ในทอ้ งทว่ี นอุทยานภูสิงห์-ภูผาผ้ึง ท้องท่ีตําบลนกทา ตําบลเหล่าพรวน
ตาํ บลคมึ ใหญ่ อาํ เภอเมือง และ ตําบลโนนงาม อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
ป่าดงบงั อ่ี จาํ นวน 4 แปลง
การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62 และ 17.84 เมตร ตามลําดับ มีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่
ตามทศิ หลักท้งั 4 ทศิ โดยจุดศนู ย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จํานวนทั้งสิ้น 4 แปลง และทําการเก็บข้อมูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้ ลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ
ความหนาแนน่ กําลงั ผลติ ของปา่ ตลอดจนการสบื พันธุ์ตามธรรมชาตขิ องหมู่ไมใ้ นป่าน้ัน
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทีว่ นอุทยานภสู งิ ห–์ ภูผาผ้ึง
3
ขอ้ มูลทั่วไปวนอุทยานภสู ิงห-์ ภผู าผง้ึ
วนอุทยานภูสิงห์-ภูผาผ้ึง ต้ังอยู่ในท้องท่ีตําบลนกทา ตําบลเหล่าพรวน ตําบลคึมใหญ่ อําเภอเมือง
และตําบลโนนงาม อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ มีเนื้อที่ประมาณ 10,000 ไร่ ดําเนินการจัดตั้ง
เม่อื วันที่ 26 สิงหาคม 2539
ทศิ เหนือ จดบ้านภเู ขาขาม ตําบลคึมใหญ่ จังหวดั อาํ นาจเจริญ
ทศิ ใต้ จดบ้านคาํ พะโอ บ้านบ๋าเจรญิ ตําบลเลงิ นกทา จังหวดั อาํ นาจเจริญ
ทศิ ตะวันออก จดบา้ นโนนงาม ตาํ บลโนนงาม อําเภอปทมุ ราชวงศา จังหวัดอํานาจเจรญิ
ทิศตะวันตก จดอา่ งเก็บนา้ํ หว้ ยสโี ท บ้านหกสิบ ตําบลสร้างนกทา จงั หวดั อํานาจเจรญิ
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม
การเดินทางเข้าสวู่ นอุทยานภูสิงห์–ภูผาผึ้ง โดยเดินทางจากอําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ เข้าสู่
ทางหลวงหมายเลข 202 มุ่งหน้าไปทางตําบลเหล่าพรวน ระยะทาง 16 กิโลเมตร ถึงสะพานข้ามห้วยหินโงม
(มีป้ายบอกทางซา้ ยมือ) เลยสะพานข้ามห้วยไประยะทางประมาณ 100 เมตร เจอทางแยกซ้ายมือ เลี้ยวซ้ายไป
ตามถนน ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร ถึงทที่ ําการวนอุทยานภูสงิ ห์–ภผู าผึ้ง
ภาพที่ 1 แสดงท่ีต้ังของวนอทุ ยานภสู งิ ห–์ ภูผาผ้งึ
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่วนอุทยานภูสงิ ห์–ภูผาผงึ้
4
ลักษณะภูมปิ ระเทศ
เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อนกันเป็นเทือกยาวในช้ันระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ 200-300
เมตร บางส่วนเป็นลานหินกวา้ งและหน้าผาสูงชัน มถี าํ้ ขนาดกลาง–เลก็ หลายแห่ง เป็นแหล่งต้นน้ํา ลําห้วยสีโท
และห้วยทราย
ภาพท่ี 2 ลักษณะแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วในพน้ื ทวี่ นอุทยานภูสงิ ห์–ภูผาผงึ้
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทว่ี นอุทยานภสู งิ ห–์ ภผู าผงึ้
5
จดุ เดน่ ทนี่ า่ สนใจ
วนอุทยานภูสงิ ห–์ ภผู าผ้งึ มีจดุ เดน่ ทีน่ า่ สนใจในพืน้ ทีแ่ ละพืน้ ทใ่ี กล้เคียง ดงั น้ี
1. ถํ้ายาว เป็นถ้ําหินทรายขนาดใหญ่ ซ่ึงเคยเป็นท่ีหลบซ่อนของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในภาค
อสี าน
2. พระพุทธรูปบนยอดภูผาผึ้ง เป็นพระพุทธรูปปูนปรางค์สมาธิซ่ึงเป็นที่สักการะของชาวบ้านใน
บรเิ วณนี้
3. ภผู าผง้ึ เป็นหน้าผาท่มี าจากสภาพพ้นื ท่ซี ่ึงเป็นภูเขาท่มี ีรงั ผง้ึ อาศัยอยูใ่ ต้หน้าผา
4. ภูผาสอ่ ง เปน็ หนา้ ผาซงึ่ เป็นจุดชมวิว มองเหน็ ทวิ ทศั นโ์ ดยรอบ
5. อ่างกบ เปน็ ปรากฏการณ์ของหนิ มีลกั ษณะเปน็ แอง่ ขนาดไม่ใหญน่ ัก หรอื ท่ีเรียกว่า POT HOLE
เกิดจากทรายและหินขนาดเลก็ ในแอ่งน้ําเมอ่ื นา้ํ ไหลผ่านนานเข้าทําใหเ้ กดิ การกัดเซาะแอ่งน้ันจนมีขนาดลึกและ
ใหญข่ น้ึ ปรากฏการณ์นใี้ ชเ้ วลานบั หลายรอ้ ยปี
ภาพท่ี 3 พระพุทธรปู ปนู ปรางคส์ มาธบิ นยอดภผู าผ้ึง
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่วนอุทยานภสู งิ ห–์ ภผู าผง้ึ
6
รูปแบบและวธิ กี ารสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ และสํานักบริหารพื้นท่ี
อนุรักษต์ า่ งๆ ในสังกัดกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุ์พืช
การสุ่มตวั อย่าง (Sampling Design)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทยี มปีพ.ศ.2548 แปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่าง
เท่าๆ กัน โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5 x 2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบน
เส้นกริดแผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริด
ท้งั แนวตั้งและแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กโิ ลเมตร คอื ระยะช่องกรดิ ในแผนท่ีเท่ากับ 2.5 ช่อง จุดตัดของเส้นกริด
ท้งั สองแนวกจ็ ะเป็นตาํ แหน่งท่ีตั้งของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เมื่อดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วย
ตัวอยา่ ง และตําแหนง่ ทตี่ ้ังของหน่วยตวั อยา่ ง โดยลักษณะของแปลงตัวอยา่ งดังภาพท่ี 4
ภาพท่ี 4 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทวี่ นอุทยานภสู งิ ห์–ภผู าผึง้
7
รปู รา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ใี ช้ในการสํารวจมีทง้ั แปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างช่ัวคราว
เปน็ แปลงท่ีมขี นาดคงที่ (Fixed – Area Plot) และมรี ปู รา่ ง 2 ลักษณะด้วยกนั คือ
1. ลักษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจุดศนู ย์กลางของวงกลมอยบู่ นเสน้ รอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทัง้ 4 ทศิ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1
ได้จากการสมุ่ ตวั อยา่ ง
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลทีท่ าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตวั อยา่ ง และข้อมลู ที่ทําการสํารวจแสดงรายละเอียดไวใ้ นตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มลู ที่ทําการสาํ รวจ
รศั มีของวงกลม หรือ จํานวน พ้นื ที่หรือความยาว ข้อมลู ทสี่ าํ รวจ
ความยาว (เมตร)
กล้าไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพ้ืนท่ีของกล้าไม้ และ
ลกู ไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายทีย่ งั ไม่เล้อื ย และตอไม้
ต้นไม้ และตรวจสอบปัจจัยท่ีรบกวนพืน้ ท่ปี า่
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์
17.84 (เส้นตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวาย
เลอื้ ย และไมเ้ ถา ท่พี าดผา่ น
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่วี นอุทยานภูสงิ ห์–ภผู าผึ้ง
8
การวิเคราะหข์ ้อมูลการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
1. การคาํ นวณเนอ้ื ทีป่ า่ และปริมาณไมท้ งั้ หมดของแตล่ ะพนื้ ที่อนรุ กั ษ์
1.1 ใชข้ อ้ มลู พน้ื ท่ีอนรุ กั ษ์จากแผนทแ่ี นบทา้ ยกฤษฎีกาของแต่ละพ้ืนที่อนุรกั ษ์
1.2 ใช้สดั สว่ นจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างที่
วางแปลงทั้งหมดในแต่ละพื้นทีอ่ นรุ กั ษ์ ท่อี าจจะได้ขอ้ มลู จากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียม หรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคาํ นวณเป็นเน้อื ทปี่ ่าแตล่ ะชนิดโดยนําแปลงตัวอย่างทว่ี างแผนไวม้ าคํานวณทกุ แปลง
1.3 แปลงตัวอย่างท่ีไม่สามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมินลักษณะ
พนื้ ทว่ี า่ เปน็ หน้าผา นํ้าตก หรอื พื้นทอี่ ื่นๆ เพอ่ื ประกอบลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน
1.4 ปริมาณไมท้ งั้ หมดของพ้ืนท่ีอนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเน้ือที่อนุรักษ์จากแผนที่แนบ
ทา้ ยกฤษฎกี าของแตล่ ะพ้ืนท่อี นรุ กั ษ์ ซงึ่ บางพืน้ ที่อนรุ ักษม์ ขี อ้ มลู เน้ือทค่ี ลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อ
การคาํ นวณปริมาณไม้ท้งั หมด ทําใหก้ ารคํานวณปรมิ าณไม้เป็นการประมาณเบ้อื งต้น
2. การคํานวณปริมาตรไม้
สมการปริมาตรไม้ที่ใชใ้ นการประเมนิ การกักเกบ็ ธาตคุ าร์บอนในพ้ืนท่ีปา่ ไม้ แบบวธิ ี Volume based
approach โดยแบง่ กลุม่ ของชนดิ ไม้เปน็ จาํ นวน 7 กลุ่ม ดังนี้
2.1 กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จนั ทนก์ ะพอ้ สนสองใบ
สมการที่ได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กระพี้จั่น กระพี้เขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง
ชงิ ชัน กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลมุ่ ท่ี 3 ไดแ้ ก่ รกฟา้ สมอพิเภก สมอไทย หกู วาง หูกระจง ตนี นก ข้ีอ้าย กระบก ตะคราํ้
ตะครอ้ ตาเสือ คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอ้ น เล่ยี น มะฮอกกกานี ขีอ้ า้ ย ตะบนู ตะบนั รกั ติ้ว
สะแกแสง ปเู่ จา้ และไมส้ กลุ สา้ น เสลา อินทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการท่ไี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทว่ี นอทุ ยานภูสงิ ห์–ภูผาผง้ึ
9
2.4 กลมุ่ ที่ 4 ได้แก่ กางขีม้ อด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลมุ พอ
และสกลุ ข้เี หลก็
สมการท่ีได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลุม่ ท่ี 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เติม
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ่ ที่ 6 ไดแ้ ก่ สกั ตนี นก ผ่าเส้ียน หมากเลก็ หมากน้อย ไขเ่ น่า กระจับเขา กาสามปีก สวอง
สมการที่ได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลุ่มท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอ่ืนๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไม้ในสกุลปอ ก่อ เปลา้ เปน็ ต้น
สมการทไี่ ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คือ ปรมิ าตรสว่ นลาํ ต้นเมื่อตัดโค่นท่ีความสงู เหนอื ดิน (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถงึ กง่ิ แรกท่ที าํ เป็นสนิ ค้าได้ มหี นว่ ยเป็นลูกบาศก์เมตร
DBH มีหนว่ ยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มูลท่ัวไป
ข้อมูลท่ัวไปที่นําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ต้ัง ตําแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทําการเก็บ
ขอ้ มูล ความสูงจากระดับนํ้าทะเล และลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ เป็นตน้ โดยขอ้ มูลเหลา่ นจี้ ะใช้ประกอบใน
การวิเคราะห์ประเมินผลรว่ มกับขอ้ มูลด้านอืน่ ๆ เพ่อื ติดตามความเปลีย่ นแปลงของพ้ืนที่ในการสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ครงั้ ต่อไป
4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู องค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปริมาตร
5. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทวี่ นอทุ ยานภสู งิ ห์–ภผู าผ้ึง
10
6. การวิเคราะหข์ อ้ มูลชนดิ และปริมาณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไม้ไผ่ (จาํ นวนกอ และ จํานวนลาํ )
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเสน้ ตัง้ (จาํ นวนต้น)
7. การวเิ คราะหข์ ้อมลู สังคมพืช
โดยมีรายละเอยี ดการวิเคราะหข์ ้อมูลดังน้ี
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธ์ุที่ศึกษาที่
ปรากฏในแปลงตวั อยา่ งตอ่ หนว่ ยพ้นื ทีท่ ที่ าํ การสาํ รวจ
D= จาํ นวนต้นของไม้ชนิดนน้ั ทงั้ หมด
.
พื้นทีแ่ ปลงตวั อย่างท้ังหมดทท่ี าํ การสํารวจ
7.2 ความถ่ี (Frequency: F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดน้ัน
ต่อจาํ นวนแปลงทท่ี าํ การสํารวจ
F = จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งทีพ่ บไมช้ นิดที่กําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อยา่ งท้งั หมดทที่ าํ การสํารวจ
7.3 ความเดน่ (Dominance: Do) ใชค้ วามเดน่ ด้านพื้นที่หน้าตดั (Basal Area: BA)
หมายถึง พืน้ ท่ีหนา้ ตดั ของลาํ ตน้ ของต้นไมท้ ี่วดั ระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพ้นื ทที่ ีท่ ําการสาํ รวจ
Do = พ้นื ท่ีหนา้ ตดั ทัง้ หมดของไม้ชนดิ ที่กําหนด X 100
พน้ื ท่ีแปลงตวั อยา่ งท่ที ําการสาํ รวจ
7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density: RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่น
ของไมท้ ่ตี อ้ งการตอ่ ค่าความหนาแน่นของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตัวอย่าง คดิ เป็นรอ้ ยละ
RD = ความหนาแนน่ ของไม้ชนิดน้ัน X 100
ความหนาแนน่ รวมของไมท้ ุกชนิด
7.5 ค่าความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency: RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของชนิดไม้ที่
ต้องการต่อค่าความถ่ที ง้ั หมดของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ
RF = ความถ่ขี องไม้ชนิดนั้น X 100
ความถรี่ วมของไม้ทกุ ชนิด
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่วี นอทุ ยานภูสิงห์–ภผู าผ้ึง
11
7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่นในรูป
พืน้ ทีห่ นา้ ตดั ของไม้ชนดิ ท่กี าํ หนดต่อความเด่นรวมของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ
RDo = ความเด่นของไม้ชนดิ น้ัน X 100
ความเด่นรวมของไม้ทุกชนิด
7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) คือ ผลรวมของค่าความ
สัมพัทธ์ตา่ งๆ ของชนดิ ไมใ้ นสงั คม ไดแ้ ก่ ค่าความสัมพัทธด์ ้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถี่ และ
คา่ ความสมั พัทธ์ดา้ นความเดน่
IVI = RD + RF + RDo
8. วิเคราะห์ขอ้ มลู ความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยทําการวิเคราะห์คา่ ต่างๆ ดงั น้ี
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวิธกี ารของ Kreb (1972) ซง่ึ มสี ตู รการคาํ นวณดงั ตอ่ ไปน้ี
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คอื ค่าดัชนีความหลากชนดิ ของชนดิ พันธุ์ไม้
pi คอื สดั สว่ นระหว่างจํานวนต้นไมช้ นดิ ท่ี i ต่อจาํ นวนตน้ ไมท้ ้งั หมด
S คือ จํานวนชนิดพันธุไ์ มท้ ัง้ หมด
8.2 ความรํ่ารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดท่ีทําการสํารวจ ซึ่งจะเพ่ิมข้ึนเมื่อเพ่ิมพ้ืนท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดังนี้
1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทว่ี นอทุ ยานภูสงิ ห–์ ภูผาผ้งึ
12
เมอ่ื S คอื จํานวนชนดิ ท้งั หมดในสงั คม
n คอื จํานวนต้นทั้งหมดท่ีสาํ รวจพบ
8.3 ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีต้ังอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสมํ่าเสมอจะมีคา่ มากท่ีสดุ เม่อื ทุกชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซ่ึงวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นกั นิเวศวิทยา คอื วิธขี อง Pielou (1975) ซ่ึงมสี ตู รการคาํ นวณดังน้ี
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอ่ื H คือ ค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จํานวนชนดิ ท้ังหมด (N0)
N1 คือ eH
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทว่ี นอุทยานภสู งิ ห์–ภูผาผึ้ง
13
ผลการสํารวจและวิเคราะหข์ อ้ มลู ทรัพยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตวั อย่าง
จากผลการดําเนินการวางแปลงสํารวจเพอ่ื ประเมนิ สถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรปา่ ไม้ใน
พืน้ ท่ีวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผ้ึง ดําเนินการวางแปลงสํารวจโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์
ทรพั ยากรปา่ ไม้ สาํ นักฟ้ืนฟแู ละพัฒนาพื้นทีอ่ นุรักษ์ ดังภาพท่ี 5
ภาพที่ 5 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมปิ ระเทศของวนอทุ ยานภสู ิงห–์ ภูผาผง้ึ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทว่ี นอทุ ยานภูสงิ ห–์ ภผู าผึ้ง
14
2. พืน้ ทปี่ า่ ไม้
จากการสํารวจ พบวา่ มพี ื้นทปี่ ่าไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
ป่าดิบแล้ง และปา่ เบญจพรรณ โดยป่าเบญจพรรณพบมากสุด มีพ้นื ท่ี 12.00 ตารางกโิ ลเมตร (7,500 ไร่) คิดเป็น
รอ้ ยละ 75 ของพืน้ ทท่ี ง้ั หมด รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แล้ง มีพ้ืนที่ 4.00 ตารางกโิ ลเมตร (2,500 ไร่) คดิ เป็นรอ้ ยละ
25 ของพน้ื ทท่ี ั้งหมด รายละเอยี ดดังตารางที่ 2
ตารางท่ี 2 พื้นทป่ี า่ ไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ินในวนอุทยานภสู งิ ห์–ภูผาผึ้ง
(Area by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ ิน พืน้ ที่ รอ้ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ของพืน้ ทที่ ง้ั หมด
ปา่ ดบิ แลง้ 4.00 2,500 400 25.00
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 12.00 7,500 1,200 75.00
(Mixed Deciduous Forest)
รวม 16.00 10,000 1,600 100.00
หมายเหตุ : - การคํานวณพ้ืนที่ป่าไม้ของชนิดป่าแต่ละชนดิ ใช้สัดส่วนของข้อมลู ที่พบจากการสาํ รวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพ้ืนที่สํารวจคํานวณจากขอ้ มลู แปลงทีส่ ํารวจพบ ซึง่ มพี ้ืนที่ดังตารางที่ 1
- ร้อยละของพ้ืนทที่ ้ังหมดคาํ นวณจากพ้นื ที่แนบท้ายกฏกระทรวงของวนอุทยานภูสิงห์–ภผู าผ้งึ ซึง่ มพี ืน้ ทีเ่ ทา่ กับ
16.00 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 10,000 ไร่
ภาพที่ 6 พ้นื ทป่ี ่าไมจ้ ําแนกตามชนิดปา่ ในพนื้ ทวี่ นอทุ ยานภสู ิงห-์ ภผู าผง้ึ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ท่วี นอุทยานภสู ิงห–์ ภผู าผ้ึง
15
ภาพท่ี 7 ลักษณะทว่ั ไปของป่าดบิ แล้งในพื้นทว่ี นอุทยานภสู งิ ห–์ ภผู าผ้ึง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่วี นอุทยานภูสงิ ห–์ ภผู าผง้ึ
16
ภาพท่ี 8 ลักษณะท่ัวไปของป่าเบญจพรรณพ้ืนท่วี นอทุ ยานภสู งิ ห–์ ภผู าผงึ้
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทวี่ นอทุ ยานภสู งิ ห–์ ภูผาผ้งึ
17
3. ปรมิ าณไม้
จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพื้นที่เขต จาํ นวนทั้งสิ้น 4 แปลง พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะ
การใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีสํารวจพบท้ัง 2 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ พบไม้ยืนต้นท่ีมีความสูง
มากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกว่า
42 ชนิด รวมทั้งหมดประมาณ 1,068,000 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมดประมาณ 118,565.13 ลูกบาศก์เมตร
ปริมาตรไม้เฉล่ีย 11.86 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย 106.80 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้
มากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวนประมาณ 768,000 ต้น รองลงมา ในป่าดิบแล้ง พบจํานวน 300,000 ต้น
สาํ หรับปริมาตรไมพ้ บมากสุดในปา่ เบญจพรรณ จํานวนประมาณ 80,942.18 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง
จาํ นวนประมาณ 37,622.95 ลูกบาศกเ์ มตร รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 3 และ 4 ตามลําดับ
ตารางที่ 3 ปรมิ าณไม้ทั้งหมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ในวนอทุ ยานภูสิงห–์ ภูผาผงึ้
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน ปริมาณไม้ทั้งหมด
(Landuse Type) จาํ นวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดิบแลง้ 300,000 37,622.95
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 768,000 80,942.18
(Mixed Deciduous Forest)
รวม 1,068,000 118,565.13
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทีว่ นอุทยานภูสิงห์–ภผู าผ้งึ
18
ภาพท่ี 9 ปริมาณไม้ทงั้ หมดท่ีพบในพน้ื ทวี่ นอทุ ยานภูสิงห–์ ภูผาผ้ึง
ภาพท่ี 10 ปรมิ าตรไม้ทงั้ หมดทีพ่ บในพนื้ ทวี่ นอทุ ยานภสู ิงห–์ ภผู าผงึ้
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่วนอทุ ยานภสู งิ ห–์ ภผู าผง้ึ
19
ตารางที่ 4 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไมต้ ่อหนว่ ยพืน้ ทจี่ ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน
ในวนอุทยานภสู งิ ห–์ ภูผาผ้งึ (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ป่าเบญจพรรณ 102.40 640.00 10.79 67.45
(Mixed Deciduous Forest)
ปา่ ดิบแลง้ 120.00 750.00 15.05 94.06
(Dry Evergreen Forest)
เฉลย่ี 106.80 695.00 11.86 80.75
ภาพท่ี 11 ความหนาแน่นตน้ ไมใ้ นพน้ื ทว่ี นอทุ ยานภสู งิ ห–์ ภูผาผง้ึ
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทว่ี นอทุ ยานภสู งิ ห–์ ภูผาผง้ึ
20
ภาพท่ี 12 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ในปา่ แตล่ ะประเภทในพนื้ ท่วี นอทุ ยานภูสงิ ห–์ ภผู าผึง้
ตารางที่ 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทงั้ หมดในวนอุทยานภสู งิ ห์–ภูผาผง้ึ
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไม้ทงั้ หมด (ตน้ ) รอ้ ยละ (%)
73.41
15 - 45 ซม. 783,995 24.34
2.25
>45 - 100 ซม. 260,013 100.00
>100 ซม. 23,992
รวม 1,068,000
ภาพที่ 13 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในพนื้ ทวี่ นอุทยานภูสงิ ห–์ ภผู าผ้ึง
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทวี่ นอทุ ยานภูสงิ ห–์ ภผู าผึ้ง
21
4. ชนดิ พันธไุ์ ม้
ชนิดพันธุ์ไม้ที่สํารวจพบในภาคสนาม จําแนกโดยใช้เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธุ์ไม้ช่วย
จําแนกชนิดพันธุ์ไม้ท่ีถูกต้อง และบางครั้งจําเป็นต้องใช้ราษฎรในพื้นที่ ซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจําถิ่น
ช่วยในการเก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธ์ุไม้ เพื่อนํามาให้เจ้าหน้าท่ีจากส่วนกลาง และสํานักหอพรรณไม้
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธ์ุพืช ชว่ ยจําแนกชื่อทางการและชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ที่ถกู ตอ้ งอีกครั้งหนึ่ง และ
ชนิดพันธ์ุไม้ส่วนใหญ่ที่พบมักจะเป็นพันธุ์ไม้ท่ีรู้จักและคุ้นเคยสําหรับเจ้าหน้าท่ีที่ทําการสํารวจอยู่แล้ว โดยชนิด
พันธุ์ไม้ที่พบทั้งหมดในพ้ืนที่วนอุยานภูสิงห์–ภูผาผึ้ง มี 23 วงศ์ มากกว่า 42 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 106,800 ต้น
คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 118,565.13 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 107 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย
12.92 ลกู บาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) หางรอก (Miliusa velutina) เหมือดปลาซิว (Symplocos sumuntia) สาธร (Millettia
leucantha) เขลง (Dialium cochinchinense) กระบก (Irvingia malayana) ดงดํา (Alphonsea glabrifolia)
ข้ีอ้าย (Terminalia triptera) มะป่วน (Mitrephora vandaeflora) และเสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia
venusta)รายละเอยี ดดังตารางที่ 6
ในปา่ ดิบแล้ง มีปรมิ าณไม้รวม 300,000 ต้น คิดเป็นปรมิ าตรไม้รวม 37,622.95 ลกู บาศก์เมตร มี
ค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 120.00 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลย่ี 15.05 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมปี รมิ าณไม้
มากทส่ี ดุ 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) ดงดํา (Alphonsea glabrifolia)
หางรอก (Miliusa velutina) มะป่วน (Mitrephora vandaeflora) เขลง (Dialium cochinchinense) ฝร่ังปา่
(Rothmannia eucodon) พลับพลา (Microcos tomentosa) เข็มป่า (Ixora cibdela) ขว้าว (Haldina
cordifolia) และกระบก (Irvingia malayana) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 7
ในปา่ เบญจพรรณ มปี รมิ าณไม้รวม 768,000 ต้น คดิ เป็นปริมาตรไมร้ วม 80,942.18 ลกู บาศกเ์ มตร
มคี ่าความหนาแน่นเฉลี่ย 102.40 ต้นต่อไร่ มปี ริมาตรไมเ้ ฉลย่ี 10.79 ลกู บาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ทมี่ ปี รมิ าณไมม้ าก
ท่ีสุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เหมือดปลาซิว (Symplocos
sumuntia) หางรอก (Miliusa velutina) สาธร (Millettia leucantha) เขลง (Dialium cochinchinense)
กระบก (Irvingia malayana) เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia venusta) ข้ีอ้าย (Terminalia triptera)
มะกอก (Spondias pinnata) และเหมือดใบใหญ่ (Symplocos henschelii) รายละเอยี ดดังตารางที่ 8
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ที่พบในวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผึ้ง มีมากกว่า 13 ชนิด รวมทั้งสิ้น
48,800,000 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 4,880.00 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ เข็มปา่ (Ixora cibdela) หางรอก (Miliusa velutina) รัง (Shorea siamensis) ลําดวน (Melodorum
fruticosum) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) พลับพลา (Microcos
tomentosa) กระพ้เี ขาควาย (Dalbergia cultrata) พลองเหมือด (Memecylon edule) และมะกอก (Spondias
pinnata) รายละเอียดดังตารางที่ 9
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีวนอุทยานภูสิงห–์ ภผู าผ้ึง
22
ชนิดและปริมาณของลูกไม้ท่ีพบในวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผ้ึง มีมากกว่า 11 ชนิด รวมท้ังส้ิน
18,026,667 ตน้ มคี วามหนาแน่นของลกู ไม้ 1,802.67 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมปี รมิ าณมากท่ีสดุ 10 อนั ดบั แรก
ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เข็มป่า (Ixora cibdela) ลําดวน (Melodorum
fruticosum) ขอ่ ยหนาม (Streblus ilicifolius) งว้ิ (Bombax ceiba) ต้วิ เกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense)
พลับพลา (Microcos tomentosa) กระบก (Irvingia malayana) สันโสก (Clausena excavata) และปอดาน
(Decaschistia crotonifolia) รายละเอยี ดดังตารางที่ 10
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทว่ี นอทุ ยานภูสงิ ห์–ภูผาผึ้ง
23
ตารางท่ี 6 ปริมาณไม้ทัง้ หมดของวนอุทยานภสู งิ ห–์ ภผู าผง้ึ (30 ชนดิ แรกที่มีปริมาตรไม้สูงสดุ )
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 336,000 28,897.10 33.60 2.89
2 หางรอก Miliusa velutina 88,000 5,867.88 8.80 0.59
3 เหมอื ดปลาซวิ Symplocos sumuntia 64,000 7,554.42 6.40 0.76
4 สาธร Millettia leucantha 56,000 2,928.48 5.60 0.29
5 เขลง Dialium cochinchinense 48,000 4,359.66 4.80 0.44
6 กระบก Irvingia malayana 40,000 6,426.28 4.00 0.64
7 ดงดํา Alphonsea glabrifolia 36,000 1,301.04 3.60 0.13
8 ขอี้ ้าย Terminalia triptera 36,000 8,457.33 3.60 0.85
9 มะปว่ น Mitrephora vandaeflora 32,000 2,372.99 3.20 0.24
10 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 28,000 6,780.80 2.80 0.68
11 มะกอก Spondias pinnata 20,000 10,382.60 2.00 1.04
12 เหมือดใบใหญ่ Symplocos henschelii 20,000 1,974.92 2.00 0.20
13 พลับพลา Microcos tomentosa 16,000 217.85 1.60 0.02
14 ฝรงั่ ปา่ Rothmannia eucodon 16,000 935.16 1.60 0.09
15 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 16,000 4,374.61 1.60 0.44
16 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 12,000 585.07 1.20 0.06
17 เขม็ ป่า Ixora cibdela 12,000 170.90 1.20 0.02
18 รัง Shorea siamensis 12,000 466.81 1.20 0.05
19 ง้ิว Bombax ceiba 8,000 130.57 0.80 0.01
20 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 8,000 66.41 0.80 0.01
21 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri 8,000 325.15 0.80 0.03
22 ขวา้ ว Haldina cordifolia 8,000 1,280.67 0.80 0.13
23 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 8,000 1,142.15 0.80 0.11
24 กระโดงแดง Chionanthus microstigma 8,000 503.61 0.80 0.05
25 นาํ้ เกล้ยี ง Gluta laccifera 8,000 229.30 0.80 0.02
26 นนทรี Peltophorum pterocarpum 8,000 1,300.26 0.80 0.13
27 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 8,000 1,423.13 0.80 0.14
28 โมกมัน Wrightia arborea 8,000 2,000.58 0.80 0.20
29 มะกล่าํ ตน้ Adenanthera pavonina 4,000 1,710.15 0.40 0.17
30 ตวิ้ เกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense 4,000 642.56 0.40 0.06
31 อ่นื ๆ Others 92,000 13,756.68 9.20 1.38
รวม 1,068,000 118,565.13 106.80 11.86
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธไุ์ มท้ ่สี ํารวจพบมากกวา่ 42 ชนิด
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่วี นอุทยานภสู ิงห์–ภูผาผงึ้
24
ตารางที่ 7 ปริมาณไมใ้ นปา่ ดิบแลง้ ของวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผง้ึ
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
24.00
1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 60,000 9,039.32 14.40 3.62
1,301.04 11.20 0.52
2 ดงดํา Alphonsea glabrifolia 36,000 2,243.65 9.60 0.90
3 หางรอก Miliusa velutina 28,000 2,050.94 6.40 0.82
3,025.22 6.40 1.21
4 มะป่วน Mitrephora vandaeflora 24,000 4.80 0.37
935.16 4.80 0.08
5 เขลง Dialium cochinchinense 16,000 190.86 3.20 0.07
170.90 3.20 0.51
6 ฝร่งั ปา่ Rothmannia eucodon 16,000 1,280.67 3.20 2.08
5,210.15 3.20 0.20
7 พลบั พลา Microcos tomentosa 12,000 503.61 0.09
229.30
8 เขม็ ป่า Ixora cibdela 12,000
1,300.26
9 ขวา้ ว Haldina cordifolia 8,000
4,652.89
10 กระบก Irvingia malayana 8,000 824.48
11 กระโดงแดง Chionanthus microstigma 8,000
1,710.15
12 น้าํ เกลี้ยง Gluta laccifera 8,000 168.32
63.24
13 นนทรี Peltophorum 8,000 411.01 3.20 0.52
pterocarpum 65.33
115.59
14 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 8,000 3.20 1.86
15 สาธร Millettia leucantha 8,000 1,148.89 3.20 0.33
981.96 1.60 0.68
16 มะกลํ่าต้น Adenanthera pavonina 4,000 1.60 0.07
37,622.95 1.60 0.03
17 มะหา้ Syzygium albiflorum 4,000 1.60 0.16
1.60 0.03
18 กาสะลองคํา Radermachera ignea 4,000 1.60 0.05
1.60 0.46
19 มะค่าแต้ Sindora siamensis 4,000 4.80 0.39
120.00 15.05
20 ข่อย Streblus asper 4,000
21 กาสามปีก Vitex peduncularis 4,000
22 ตนี นก Vitex pinnata 4,000
23 อนื่ ๆ Others 12,000
รวม 300,000
หมายเหตุ : มชี นิดพันธุ์ไม้ท่ีสํารวจพบมากกว่า 23 ชนิด
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทว่ี นอทุ ยานภสู งิ ห์–ภผู าผึง้
25
ตารางที่ 8 ปรมิ าณไม้ในป่าเบญจพรรณของวนอุทยานภูสิงห–์ ภูผาผงึ้
ลาํ ดบั ชนดิ พันธไุ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ลบ.ม./ไร)่
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่
2.65
1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 276,000 19,857.77 36.80 1.01
0.48
2 เหมอื ดปลาซิว Symplocos sumuntia 64,000 7,554.42 8.53 0.28
0.18
3 หางรอก Miliusa velutina 60,000 3,624.23 8.00 0.16
0.90
4 สาธร Millettia leucantha 48,000 2,104.00 6.40 0.51
1.38
5 เขลง Dialium cochinchinense 32,000 1,334.44 4.27 0.26
0.08
6 กระบก Irvingia malayana 32,000 1,216.14 4.27 0.06
0.53
7 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 28,000 6,780.80 3.73 0.02
0.01
8 ข้ีอ้าย Terminalia triptera 28,000 3,804.44 3.73 0.04
0.15
9 มะกอก Spondias pinnata 20,000 10,382.60 2.67 0.04
0.19
10 เหมอื ดใบใหญ่ Symplocos henschelii 20,000 1,974.92 2.67 0.27
0.09
11 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 12,000 585.07 1.60 0.01
0.00
12 รงั Shorea siamensis 12,000 466.81 1.60 0.27
0.00
13 มะค่าแต้ Sindora siamensis 12,000 3,963.60 1.60 0.00
1.20
14 งิ้ว Bombax ceiba 8,000 130.57 1.07 10.79
15 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum 8,000 66.41 1.07
16 ชิงชนั Dalbergia oliveri 8,000 325.15 1.07
17 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 8,000 1,142.15 1.07
18 มะปว่ น Mitrephora vandaeflora 8,000 322.06 1.07
19 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 8,000 1,423.13 1.07
20 โมกมนั Wrightia arborea 8,000 2,000.58 1.07
21 ติว้ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 4,000 642.56 0.53
22 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 4,000 111.71 0.53
23 พลบั พลา Microcos tomentosa 4,000 26.98 0.53
24 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens 4,000 2,008.90 0.53
25 ลาํ ดวนดง Mitrephora thorelii 4,000 34.15 0.53
26 ปอแดง Sterculia guttata 4,000 33.68 0.53
27 อืน่ ๆ others 44,000 9,024.91 5.87
รวม 768,000 80,942.18 102.40
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธไุ์ ม้ท่สี าํ รวจพบมากกว่า 27 ชนดิ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทีว่ นอทุ ยานภูสงิ ห์–ภูผาผึ้ง
26
ความสูงของชั้นเรือนยอดในปา่ เบญจพรรณ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ช้นั ดังน้ี
1) ช้นั เรอื นยอดเดน่ หมายถงึ ไม้ท่ีมีความสงู ของช้ันเรอื นยอดมากกว่า 13 เมตรขน้ึ ไป ชนิดไม้สว่ น
ใหญ่ที่พบ เช่น ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) หางรอก (Miliusa velutina) ขี้อ้าย
(Terminalia triptera) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) มะกอก (Spondias pinnata) มะค่าแต้ (Sindora
siamensis) เปน็ ต้น
2) เรือนยอดชั้นรอง ได้แก่ไม้ที่มีความสูงของช้ันเรือนยอด 10-13 เมตร ชนิดพันธุ์ไม้ท่ีพบว่ามี
เรอื นยอดในชั้นนี้ ได้แก่ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) เสลาเปลอื กบาง (Lagerstroemia
venusta) ขีอ้ ้าย (Terminalia triptera) มะกอก (Spondias pinnata) โมกมัน (Wrightia arborea) โมกใหญ่
(Holarrhena pubescens) ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) หางรอก (Miliusa velutina) เหมอื ดใบใหญ่
(Symplocos henschelii) เป็นตน้
3) เรือนยอดช้ันกลาง ได้แก่ไม้ที่มีความสูงของชั้นเรือนยอด 6-9 เมตร ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบว่า มี
เรือนยอดในชั้นนี้ ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) สาธร (Millettia leucantha)
หางรอก (Miliusa velutina) เหมอื ดปลาซวิ (Symplocos theifolia) เขลง (Dialium cochinchinense) กระบก
(Irvingia malayana) ขอ้ี า้ ย (Terminalia triptera) เหมอื ดใบใหญ่ (Symplocos henschelii) พะยงู (Dalbergia
cochinchinensis) เปน็ ต้น
4) เรือนยอดช้ันไม้พุ่ม ได้แก่ไม้ท่ีมีความสูงของช้ันเรือนยอด 1.3-5 เมตร ชนิดพันธ์ุไม้ท่ีพบว่า มี
เรือนยอดในชั้นนี้ ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เหมือดปลาซิว (Symplocos
theifolia) กระบก (Irvingia malayana) มะกอก (Spondias pinnata) หางรอก (Miliusa velutina) ง้ิวป่า
(Bombax anceps) ชิงชัน (Dalbergia oliveri) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) รัง (Shorea
siamensis) เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia venusta) เป็นต้น
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นที่วนอทุ ยานภูสงิ ห–์ ภผู าผึง้
27
ภาพท่ี 14 การจําแนกเรือนยอดของต้นไมใ้ นพนื้ ที่วนอุทยานภูสงิ ห–์ ภผู าผึง้
ตารางท่ี 9 ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ของไม้ยืนตน้ ทีพ่ บในวนอทุ ยานภสู งิ ห–์ ภผู าผ้ึง
ลาํ ดบั ท่ี ชนิดพันธุไ์ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณลูกไม้ทัง้ หมด
จํานวน (ตน้ ) ความหนาแน่น (ต้น/ไร่)
1 เข็มปา่ Ixora cibdela 5,600,000 560.00
2 หางรอก Miliusa velutina 4,800,000 480.00
3 รงั Shorea siamensis 2,400,000 240.00
4 ลําดวน Melodorum fruticosum 2,400,000 240.00
5 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius 1,600,000 160.00
6 ตะเคียนทอง Hopea odorata 1,600,000 160.00
7 พลบั พลา Microcos tomentosa 1,600,000 160.00
8 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata 800,000 80.00
9 พลองเหมือด Memecylon edule 800,000 80.00
10 มะกอก Spondias pinnata 800,000 80.00
11 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens 800,000 80.00
12 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 800,000 80.00
13 อื่นๆ Others 24,800,000 2,480.00
รวม 48,800,000 4,880.00
หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธุก์ ลา้ ไม้ที่สาํ รวจพบทัง้ หมดมากกวา่ 13 ชนิด
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่วนอทุ ยานภูสงิ ห์–ภูผาผึง้
28
ตารางที่ 10 ชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ของไม้ยืนต้นที่พบในวนอทุ ยานภสู งิ ห์–ภผู าผ้งึ
ลาํ ดบั ท่ี ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณลูกไมท้ ัง้ หมด
จํานวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร)่
1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 6,080,000 608.00
2 เขม็ ป่า Ixora cibdela 4,160,000 416.00
3 ลําดวน Melodorum fruticosum 2,240,000 224.00
4 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius 320,000 32.00
5 ง้ิว Bombax ceiba 320,000 32.00
6 ต้วิ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 320,000 32.00
7 พลบั พลา Microcos tomentosa 320,000 32.00
8 กระบก Irvingia malayana 320,000 32.00
9 สนั โสก Clausena excavata 213,333 21.33
10 ปอดาน Decaschistia crotonifolia 106,667 10.67
11 อื่นๆ Others 3,626,667 362.67
รวม 18,026,667 1,802.67
หมายเหตุ : มชี นิดพันธ์กุ ล้าไม้ท่สี ํารวจพบทัง้ หมดมากกว่า 11 ชนดิ
5. สงั คมพืช
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผึ้ง พบว่ามีสังคมพืช
2 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่นของพรรณพืช
(Density) ความถ่ี (frequency) ความเดน่ (Dominance) และดรรชนีความสาํ คญั ของพรรณไม้ (IVI) ดงั นี้
ในพืน้ ทปี่ ่าดิบแล้ง มีชนดิ ไม้ทมี่ ีค่าดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ดงดํา (Alphonsea glabrifolia) หางรอก (Miliusa
velutina) มะปว่ น(Mitrephora vandaeflora) กระบก (Irvingia malayana) เขลง (Dialium cochinchinense)
ข้ีอ้าย (Terminalia triptera) ฝร่ังป่า (Rothmannia eucodon) ขว้าว (Haldina cordifolia) และนนทรี
(Peltophorum pterocarpum) ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 11
ในพน้ื ท่ปี า่ เบญจพรรณ มีชนิดไมท้ ม่ี ีคา่ ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (IVI) สงู สุด 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เหมือดปลาซวิ (Symplocos sumuntia) มะกอก (Spondias
pinnata) เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia venusta) หางรอก (Miliusa velutina) ขี้อ้าย (Terminalia
triptera) สาธร (Millettia leucantha) เขลง (Dialium cochinchinense) มะคา่ แต้ (Sindora siamensis)
และกระบก (Irvingia malayana) ดังรายละเอียดในตารางที่ 12
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ท่วี นอุทยานภูสงิ ห–์ ภผู าผ้ึง
ตารางท่ี 11 ดชั นีความสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ แลง้ ใ
ลาํ ดับ ชนิดพันธ์ไุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ จาํ นวนต้น ความหนาแน่น แปลงพบ
(ตน้ /เฮกตาร)์
1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 15 150.00
2 ดงดาํ Alphonsea glabrifolia 9 90.00
3 หางรอก Miliusa velutina 7 70.00
4 มะป่วน Mitrephora vandaeflora 6 60.00
5 กระบก Irvingia malayana 2 20.00
6 เขลง Dialium cochinchinense 4 40.00
7 ขอี้ า้ ย Terminalia triptera 2 20.00
8 ฝรัง่ ปา่ Rothmannia eucodon 4 40.00
9 ขว้าว Haldina cordifolia 2 20.00
10 นนทรี Peltophorum pterocarpum 2 20.00
11 มะกล่ําตน้ Adenanthera pavonina 1 10.00
12 สาธร Millettia leucantha 2 20.00
13 อื่นๆ Others 19 190.00
รวม 75 750.00
29
ในวนอยุ านภสู งิ ห์–ภผู าผ้งึ
บ ความถี่ พน้ื ทห่ี นา้ ตัด ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 0.212 45.38
0.048 20.98
1 100 0.30 0.070 20.00 4.17 21.21 20.46
0.065 12.00 4.17 4.81 18.64
1 100 0.07 0.117 9.33 4.17 6.96 18.53
0.082 8.00 4.17 6.47 17.70
1 100 0.10 0.106 2.67 4.17 11.69 17.45
0.031 5.33 4.17 8.20 12.56
1 100 0.10 0.038 2.67 4.17 10.62 10.61
0.032 5.33 4.17 3.06 10.03
1 100 0.16 0.043 2.67 4.17 3.78 9.81
0.024 2.67 4.17 3.19 9.27
1 100 0.11 0.13 1.33 4.17 4.31 88.58
1.000 2.67 4.17 2.44 300.00
1 100 0.15 25.33 50.00 13.25
100.00 100.00 100.00
1 100 0.04
1 100 0.05
1 100 0.05
1 100 0.06
1 100 0.03
1,200.00 0.18
2,400.00 1.26
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทวี่ นอุยานภูสงิ ห–์ ภูผาผึง้
ตารางที่ 12 ดชั นีความสําคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพ
ลําดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ จํานวนตน้ ความหนาแนน่ แปลงพ
(ต้น/ฮกตาร์)
1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 69 230.00
2 เหมอื ดปลาซวิ Symplocos sumuntia 16 53.33
3 มะกอก Spondias pinnata 5 16.67
4 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 7 23.33
5 หางรอก Miliusa velutina 15 50.00
6 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 7 23.33
7 สาธร Millettia leucantha 12 40.00
8 เขลง Dialium cochinchinense 8 26.67
9 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 3 10.00
10 กระบก Irvingia malayana 8 26.67
11 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 2 6.67
12 เหมือดใบใหญ่ Symplocos henschelii 5 16.67
13 โมกมนั Wrightia arborea 2 6.67
14 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens 1 3.33
15 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 2 6.67
16 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 3 10.00
17 รัง Shorea siamensis 3 10.00
18 ชิงชนั Dalbergia oliveri 2 6.67
19 มะป่วน Mitrephora vandaeflora 2 6.67
20 ตวิ้ เกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense 1 3.33
21 อ่ืนๆ Others 19 63.33
รวม 192 640.00
30
พรรณในวนอยุ านภูสงิ ห์–ภผู าผ้งึ
พบ ความถี่ พ้นื ทีห่ น้าตัด ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
3 100 0.66 0.23 35.94 7.5 23.03 66.46
8.33 5 11.05 24.38
2 66.67 0.32 0.11 2.60 5 9.96 17.57
3.65 5 7.66 16.31
2 66.67 0.28 0.10 7.81 5.63 15.94
3.65 2.5 4.35 13.00
2 66.67 0.22 0.08 6.25 5 3.45 12.20
4.17 2.40 11.57
1 33.33 0.16 0.06 1.56 2.5 4.83 11.39
4.17 5 1.45 8.12
2 66.67 0.12 0.04 1.04 5 2.07 8.11
2.60 2.92 8.03
1 33.33 0.10 0.04 1.04 2.5 2.46 6.00
0.52 5 2.41 5.44
2 66.67 0.07 0.02 1.04 1.69 5.23
1.56 2.5 0.99 5.05
2 66.67 0.14 0.05 1.56 2.5 0.78 4.85
1.04 2.5 0.60 4.14
1 33.33 0.04 0.02 1.04 2.5 0.60 4.14
0.52 2.5 0.94 3.96
2 66.67 0.06 0.02 9.90 2.5 10.72 48.12
100.000 2.5 100.000 300.00
1 33.33 0.08 0.03 2.5
2.5
1 33.33 0.07 0.03 27.5
100.000
1 33.33 0.07 0.02
1 33.33 0.05 0.02
1 33.33 0.03 0.01
1 33.33 0.02 0.01
1 33.33 0.02 0.01
1 33.33 0.02 0.01
1 33.33 0.03 0.01
11 366. 67 0.31 0.11
1333.33 2.851 1.000
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทวี่ นอยุ านภูสงิ ห์–ภูผาผ้ึง
31
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ
จากผลการสํารวจและวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าดิบแล้ง มีค่า
ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) มากที่สุด คือ 2.80 มีค่าความมากมาย (Species Richness)
มากที่สุด คือ 5.32 และ มีค่าความสมํ่าเสมอ (Species Evenness) ของชนิดพันธุ์ไม้ มากที่สุด คือ 0.88
รายละเอยี ดดังตารางที่ 13
ตารางที่ 13 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธไุ์ มว้ นอุทยานภสู ิงห–์ ภผู าผง้ึ
ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดิน ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสม่ําเสมอ ความมากมาย
(Diversity) (Evenness) (Richness)
ป่าดบิ แลง้ 2.80 0.88 5.33
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 2.55 0.76 5.32
(Mixed Deciduous Forest)
พน้ื ทีว่ นอทุ ยานภสู ิงห์–ภผู าผง้ึ 2.88 0.77 7.34
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทว่ี นอุยานภูสงิ ห์–ภูผาผ้ึง
32
สรปุ ผลการสํารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรัพยากรปา่ ไม้
จากการวางแปลงตวั อยา่ งถาวรเพ่ือเก็บข้อมูลและสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่วนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผ้ึง
ซึ่งมีเนื้อที่ 10,000 ไร่ หรือประมาณ 16.00 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตําบลนกทา ตําบลเหล่าพรวน
ตาํ บลคึมใหญ่ อําเภอเมือง และตําบลโนนงาม อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ รวมทั้งส้ินจํานวน 4 แปลง
โดยการวางแปลงตวั อยา่ งถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมขี นาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซอ้ นกัน คอื วงกลม
รัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักทั้ง 4 ทิศ โดย
จุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ อยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร และทําการเก็บข้อมูลการ
สาํ รวจทรัพยากรป่าไมต้ ่างๆ อาทเิ ชน่ ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่าลักษณะ
ต่างๆ ของพื้นที่ท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจน
การเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม ไม้เถา เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนําข้อมูลมา
วเิ คราะหเ์ พอื่ ประเมินสถานภาพทรพั ยากรปา่ ไม้ ทัง้ น้เี พ่อื ให้ทราบเนอื้ ที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความ
หนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุตามธรรมชาติของไม้ โดยใช้โปรแกรมประมวลผล
ข้อมูลระบบสารสนเทศการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟู
และพัฒนาพื้นทอ่ี นรุ กั ษ์ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธุ์พชื สรุปผลได้ดังน้ี
1. ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน
พื้นท่ดี าํ เนินการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ในพื้นทีว่ นอุทยานภูสิงห–์ ภูผาผึ้ง ครอบคลมุ พน้ื ทต่ี าํ บลนกทา
ตําบลเหล่าพรวน ตําบลคึมใหญ่ อําเภอเมือง และ ตําบลโนนงาม อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ
รวมทัง้ สิ้นจาํ นวน 4 แปลง ซง่ึ มีเนือ้ ที่ 10,000 ไร่ หรือประมาณ 16.00 ตารางกโิ ลเมตร
พบวา่ มีพน้ื ทีป่ า่ ไม้จาํ แนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ ินได้ 2 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง และ
ป่าเบญจพรรณ โดยป่าเบญจพรรณพบมากสุด มีพื้นท่ี 12.00 ตารางกิโลเมตร (7,500.00 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 75
ของพืน้ ทท่ี ง้ั หมด รองลงมา คือ ป่าดิบแลง้ มพี นื้ ท่ี 4.00 ตารางกโิ ลเมตร (2,500.00 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 25 ของ
พ้ืนที่ท้ังหมด
2. ชนดิ พนั ธ์แุ ละปรมิ าณไมย้ นื ต้น (Trees)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ ในแปลง
ตวั อย่างถาวร พ้ืนที่วนอทุ ยานภูสงิ ห์–ภูผาผง้ึ จํานวนทั้งสิ้น 4 แปลง พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร
และมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวนท้ังหมด 106,800 ต้น โดย
เป็นไม้ที่มีความโต 15-45 เซนติเมตร จํานวน 783,995 ต้น คิดเป็นร้อยละ 73.41 ของปริมาณไม้ท้ังหมด
ไม้ที่มขี นาดความโต 45-100 เซนตเิ มตร จํานวน 260,013 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 24.34 ของไมท้ ัง้ หมด และไมท้ ีม่ ี
ขนาดความโตมากกวา่ 100 เซนติเมตร จํานวน 23,992 ตน้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.25 ของไมท้ ง้ั หมด
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทว่ี นอุยานภูสงิ ห์–ภผู าผง้ึ
33
สาํ หรับชนิดพันธุ์ไม้ที่พบในแปลงสาํ รวจ มี 23 วงศ์ มากกว่า 42 ชนิด ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) หางรอก (Miliusa velutina)
เหมือดปลาซิว (Symplocos sumuntia) สาธร (Millettia leucantha) เขลง (Dialium cochinchinense)
กระบก (Irvingia malayana) ดงดํา (Alphonsea glabrifolia) ขี้อ้าย (Terminalia triptera) มะป่วน (Mitrephora
vandaeflora) และเสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia venusta) ตามลาํ ดับ แต่เมื่อเรียงลําดับตามปริมาตร
จากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) มะกอก
(Spondias pinnata) ขี้อ้าย (Terminalia triptera) เหมือดปลาซิว (Symplocos sumuntia) เสลาเปลือกบาง
(Lagerstroemia venusta) กระบก (Irvingia malayana) หางรอก (Miliusa velutina) มะค่าแต้ (Sindora
siamensis) เขลง (Dialium cochinchinense) สาธร (Millettia leucantha) และ ตามลาํ ดับ
3. ชนิดพนั ธ์แุ ละปรมิ าณกลา้ ไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)
จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกับกลา้ ไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling) ซึ่งเป็นกําลังผลิตที่สาํ คญั
ที่จะข้ึนมาทดแทนสังคมพืชไม้ยืนต้นต่อไปในอนาคตรวมทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีได้
ทาํ การสาํ รวจ พบว่า มีชนิดของกล้าไม้ (Seedling) มากกว่า 13 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 48,800,000 ต้น
ซ่งึ เมอื่ เรยี งลําดบั จากจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่ เขม็ ป่า (Ixora cibdela) หางรอก
(Miliusa velutina) รัง (Shorea siamensis) ลําดวน (Melodorum fruticosum) ข่อยหนาม (Streblus
ilicifolius) ตะเคยี นทอง (Hopea odorata) พลับพลา (Microcos tomentosa) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia
cultrata) พลองเหมือด (Memecylon edule) และ มะกอก (Spondias pinnata) ตามลําดบั โดยสาํ รวจพบ
จํานวนกลา้ ไมม้ ากที่สดุ ในปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดิบแล้ง
การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 11 ชนิด รวมจํานวน
ท้ังหมด 18,026,667 ต้น ซึ่งเม่ือเรียงลําดับจากจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เข็มป่า (Ixora cibdela) ลําดวน (Melodorum fruticosum)
ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) งิ้ว (Bombax ceiba) ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) พลับพลา
(Microcos tomentosa) กระบก (Irvingia malayana) สันโสก (Clausena excavata) และปอดาน
(Decaschistia crotonifolia) ตามลําดบั โดยสํารวจพบจํานวนลูกไม้มากท่ีสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ
ป่าดบิ แล้ง
4. คา่ ดรรชนคี วามสําคญั ทางนเิ วศวิทยา
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในวนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผึ้ง พบว่ามีสังคมพืช
4 ประเภท คอื ปา่ ดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ และจากวเิ คราะหข์ ้อมลู สงั คมพชื สรุปได้ดงั น้ี
ในพนื้ ทปี่ า่ ดิบแล้ง มชี นดิ ไม้ท่มี คี ่าดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (IVI) สงู สุด 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ดงดํา (Alphonsea glabrifolia) หางรอก (Miliusa velutina)
มะป่วน (Mitrephora vandaeflora) กระบก (Irvingia malayana) เขลง (Dialium cochinchinense)
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทว่ี นอยุ านภูสงิ ห์–ภูผาผ้งึ
34
ข้ีอ้าย (Terminalia triptera) ฝร่ังป่า (Rothmannia eucodon) ขว้าว (Haldina cordifolia) และ นนทรี
(Peltophorum pterocarpum)
ในพ้นื ทปี่ ่าเบญจพรรณ มชี นดิ ไมท้ ม่ี คี ่าดชั นคี วามสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เหมือดปลาซิว (Symplocos sumuntia) มะกอก (Spondias
pinnata) เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia venusta) หางรอก (Miliusa velutina) ขี้อ้าย (Terminalia
triptera) สาธร (Millettia leucantha) เขลง (Dialium cochinchinense) มะค่าแต้ (Sindora siamensis)
และ กระบก (Irvingia malayana)
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มี
ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Diversity) ความมากมายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Richness)
และความสมํา่ เสมอของชนดิ พันธไ์ุ ม้ (Species Evenness) พบว่าความหลากหลายของชนิดพันธ์ุของป่าดิบแล้ง
มีมากกว่าปา่ เบญจพรรณ
7. ปัจจัยทม่ี ีผลกระทบตอ่ พน้ื ทปี่ ่า
จากการสาํ รวจผลกระทบทเี่ กิดขึน้ ในแปลงตัวอย่าง พบว่า โดยรวมแล้วพ้ืนที่วนอุทยานภูสิงห์–ภูผาผึ้ง
อยู่ในระดับเตือนภัย (Warning) เนื่องจากระหว่างทางเดินเข้าแปลงสํารวจพบร่องรอยการกระทําผิดเก่ียวกับ
การลักลอบตัดไม้พะยูงและไม้มีค่าทางเศรษฐกิจอื่นๆ ในพ้ืนที่บ่อยมาก แต่ยังไม่ถึงขั้นวิกฤติ (Crisis) และผลกระทบ
ทีส่ ํารวจพบ ได้แก่ รอ่ งรอยการเกิดไฟป่าในพื้นท่ี ประมาณ 1 ปี การเก็บหาของป่าในพ้ืนท่ี เช่น หน่อไม้ หวาย
ดอกกระเจียว ผกั หวานป่า การปล่อยวัวควายเล้ยี งตามธรรมชาติ และโรคเกี่ยวกับพืช เปน็ ตน้
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทวี่ นอุยานภูสงิ ห–์ ภูผาผึง้
35
ปญั หาและอุปสรรค
ปญั หาและอุปสรรคในการดาํ เนนิ งานท่ีพบ ไดแ้ ก่
1. ชนิดไม้ยืนต้นและไม้พ้ืนล่างในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้งบางพ้ืนที่ในวนอุทยาน
ภูสิงห–์ ภผู าผ้ึง ยากต่อการจําแนกชนิดไม้ อีกทั้งช่วงเวลาดําเนินงานสํารวจเป็นช่วงที่ต้นไม้กําลังผลัดใบ ทําให้มี
ตน้ ไมห้ ลายชนดิ ที่ยงั ไม่ทราบชนดิ
2. ในการดาํ เนนิ งานสาํ รวจทรัพยากรป่าไมภ้ าคสนาม ได้มกี ารแบ่งสายการดาํ เนินงานซ่ึงทําให้งาน
แลว้ เสรจ็ เร็วข้ึน เนื่องจากอปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการสํารวจของแต่ละทมี มีไมเ่ หมือนกัน ความเชี่ยวชาญหรือความชํานาญ
ในการจาํ แนกชนิดไมข้ องแต่ละบุคคลไมเ่ ทา่ กนั ซึง่ อาจทําใหช้ นิดไม้ท่ีนํามาวเิ คราะหข์ อ้ มลู มคี วามคลาดเคลื่อนได้
3. ข้อมลู อ้างองิ สาํ หรบั ไม้พืน้ ล่างซึง่ เป็นสงั คมพืชทจ่ี ะขน้ึ มาทดแทนสังคมป่าน้ันๆ ในอนาคตข้างหน้า
ยังมอี ยูน่ อ้ ย ทาํ ให้ยากต่อการจาํ แนกชนดิ ไม้พ้นื ล่าง
4. ในช่วงที่ดําเนินการสํารวจภาคสนามพบร่องรอยการกระทําผิดเกี่ยวกับการลักลอบตัดไม้ในพ้ืนที่
ซงึ่ อาจเกิดอันตรายต่อทีมสํารวจได้
ขอ้ เสนอแนะ
เพื่อให้การดําเนินงานสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในโอกาสต่อไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน จึงมี
ข้อเสนอแนะดงั น้ี
1. กล่มุ สาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนที่
อนรุ ักษ์ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุ์พืช ควรมกี ารจัดทาํ คูม่ อื สําหรับการจําแนกชนิดไม้ในแต่ละพื้นที่
หรอื ใสภ่ าพประกอบไมแ้ ต่ละชนดิ ในฐานขอ้ มลู พรรณไม้ เพอ่ื ใชเ้ ป็นฐานในการจําแนกชนิดไม้ให้ตรงรหัส CODE
พรรณไม้มากขึน้
2. ในการปฏิบัตงิ านภาคสนาม ควรชแ้ี จงและทาํ ความเขา้ ใจกบั ชาวบา้ นเก่ยี วกบั ภารกิจทป่ี ฏบิ ตั ิ
3. ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีป่าหรือทรัพยากรป่าไม้ในอีก 4 ปีข้างหน้า ควรพยายามหา
หมุดเดิมท่ีได้ทําการตอกไว้ตรงจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างให้เจอ และเน้นการสํารวจกับต้นไม้ต้นเดิมที่มีป้าย
หมายเลขตอกติดไว้เพ่ือดูกําลังผลิตของป่าและความสามารถในการเก็บกักคาร์บอนในพื้นท่ีป่าน้ันๆ ว่าเพ่ิมขึ้น
หรอื ไม่ อยา่ งไร หรือถูกรบกวนมากน้อยแค่ไหน
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทวี่ นอุยานภูสงิ ห์–ภผู าผึ้ง
36
เอกสารอา้ งองิ
ก่องกานดา ชยามฤต. 2541. คู่มอื การจําแนกพรรณไม.้ สว่ นพฤกษศาสตร์ สํานกั วิชาการป่าไม้ กรมป่าไม,้
กรุงเทพฯ. 235 น.
กรมปา่ ไม้ และองค์การไมเ้ ขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คู่มอื การเก็บขอ้ มลู ด้านการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
โครงการศกึ ษาเพอ่ื จดั ทําระบบ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การจดั การทรัพยากรปา่ ไม้แบบย่งั ยนื
สําหรับประเทศไทย, สํานกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 44 น.
ชวลิต นยิ มธรรม. 2545. ทรพั ยากรปา่ ไมข้ องประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ สาํ นกั วชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม้,
กรุงเทพฯ. 10 น.
สามารถ มุขสมบัติ และ ธญั นรินทร์ ณ นคร. 2538. การใช้ Spiegel Relaskop เพอ่ื จัดสร้างตารางปรมิ าตรไม้
บรเิ วณป่าสาธิตเซคเตอรแ์ ม่แตง อาํ เภองาว จงั หวัดลําปาง, สํานักวิชาการปา่ ไม้ กรมป่าไม้,
กรงุ เทพฯ. 55 น.
วิชาญ ตราชู. 2548. แนวทางการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไมใ้ นพน้ื ท่ปี ่าอนุรักษ.์ ส่วนวิเคราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้
สาํ นกั วิชาการป่าไม้ กรมป่าไม,้ กรุงเทพฯ. 95 น.
ส่วนพฤกษศาสตร.์ 2544. ชอ่ื พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย เตม็ สมิตนิ ันท์ ฉบบั แกไ้ ขเพมิ่ เติม สาํ นกั วชิ าการป่าไม้
กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 810 น.
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทวี่ นอยุ านภูสงิ ห–์ ภผู าผง้ึ