1
รายงาน
การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อทุ ยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ
กล่มุ งานวชิ าการ สานักบริหารพ้นื ท่ีอนุรักษ์ ที่ 8 (ขอนแก่น)
สว่ นสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานกั ฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่อี นุรกั ษ์
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธุพ์ ืช
พ.ศ. 2560
2
บทสรปุ สาหรับผูบ้ รหิ าร
กลุ่มงานวิชาการ สานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ท่ี 8 (ขอนแก่น) ได้ดาเนินการสารวจทรัพยากรป่าไม้
ภาคสนาม ในบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ซ่ึงตั้งอยู่ในเขตอาเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ครอบคลุม
พ้ืนท่ี 348.12 ตารางกิโลเมตร หรือ 217,576.25 ไร่ ซึ่งลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหินทรายยอดตัด โดยมี
ท่ีราบบนยอดภูกระดึง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร (37,500 ไร่) มีความสูงอยู่ระหว่าง 400-1,200 เมตร
จากระดับน้าทะเล โดยทาการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ลักษณะเป็นแปลง
วงกลมขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมี
วงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อย่ตู ามทศิ หลกั ท้ัง 4 ทศิ จานวนทัง้ สิน้ 41 แปลง
ผลการสารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า อุทยานแห่งชาติภูกระดึง มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้
ประโยชน์ที่ดินอยู่ 9 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าสนเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าไผ่
พื้นที่เกษตรกรรม แหล่งน้าและทุ่งหญ้าธรรมชาติ โดยป่าเบญจพรรณพบมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 51.22
ของพ้ืนที่ทั้งหมด รองลงมา คือ ป่าดิบเขา คิดเป็นร้อยละ 12.20 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อย
ละ 9.76 ของพื้นที่ท้ังหมด ป่าเต็งรัง คิดเป็นร้อยละ 9.76 ของพ้ืนที่ทั้งหมด ทุ่งหญ้า คิดเป็นร้อยละ 7.32
ของพื้นที่ทั้งหมด ป่าสนเขา คิดเป็นร้อยละ 2.44 ของพ้ืนที่ท้ังหมด ป่าไผ่ คิดเป็นร้อยละ 2.44 ของพ้ืนที่
ทั้งหมด พื้นท่ีเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 2.44 ของพื้นที่ท้ังหมด และแหล่งน้า คิดเป็นร้อยละ 2.44 ของ
พื้นท่ีท้ังหมด สาหรับพรรณไม้รวมทุกชนิดป่า พบทั้งสิ้นมากกว่า 56 วงศ์ มีมากกว่า 180 ชนิด รวมจานวน
13,755,064 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 4,330,365.98 ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแน่นของต้นไม้
เฉลี่ย 63.22 ต้นต่อไร่ และปริมาตรไม้เฉลี่ย 19.90 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากที่สุด 10
อั น ดั บ แ รก ได้ แ ก่ ต ะแ บ ก เป ลื อ ก บ าง (Lagerstroemia duperreana) ก่ อ เดื อ ย (Castanopsis
acuminatissima) ไท ร (Ficus annulata) รัง (Shorea siamensis) แ ด ง (Xylia xylocarpa) ส้ ม ก บ
(Hymenodictyon orixense) ย างแ ด ง (Dipterocarpus turbinatus) ก ระบ ก (Irvingia malayana)
มะกอก (Spondias pinnata) รกฟ้า (Terminalia alata) ไม้ยืนต้นพบมากสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา
คือ ปา่ ดิบเขา
กล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในอุทยานแห่งชาติภกู ระดึง มีมากกวา่ 46 ชนิด รวมท้ังสิ้น 230,949,229
ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 1,061.46 ต้นต่อไร่ โดยกล้าไม้ท่ีมีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่
เป ล้ า ให ญ่ (Croton roxburghii) ฉ น ว น (Dalbergia nigrescens) ส า ธ ร (Millettia leucantha)
โค ล งเค ล ง (Melastoma malabathricum) พ ล อ งใบ เล็ ก (Memecylon geddesianum) เส้ี ย วป่ า
(Bauhinia saccocalyx) รัง (Shorea siamensis) เก็ดดา (Dalbergia assamica) เต็ง (Shorea obtusa)
และ แหลบุกขน (Phoebe declinata) โดยป่าท่ีพบกล้าไม้จานวนมากสุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ
ป่าดบิ แลง้
ลูกไม้ (Sapling) ที่พบในอุทยานแห่งชาติภูกระดึง มีมากกว่า 62 ชนิด รวมท้ังส้ิน 55,529,704 ต้น
มีความหนาแน่นของลูกไม้ 255.22 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ กายาน
(Styrax apricus) โคลงเคลง (Melastoma malabathricum) พลับพลา (Microcos tomentosa) เปล้า
ใหญ่ (Croton roxburghii) พลองใบเล็ก (Memecylon geddesianum) แหลบุกขน (Phoebe declinata)
ข่อย (Streblus asper) แสมสาร (Senna garrettiana) กะอวม (Acronychia pedunculata) สาธร
(Acronychia pedunculata) ตามลาดับ โดยสารวจพบจานวนลูกไม้มากที่สุดในป่าดิบเขา รองลงมา คือ
ปา่ เบญจพรรณ
33
ไผ่ (Bamboo) ที่พบในแปลงสารวจ มี 7 ชนิด คือ ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ซอด
(Gigantochloa cochinchinensis) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่ป่า (Bambusa bambos) ไผ่
ซางนวล (Dendrocalamus membranaceus) ไผบ่ ง (Bambusa nutans) และ ไผ่ซาง (Dendrocalamus
strictus) จานวน 3,328,386 กอ รวมจานวน 58,875,072 ลา โดยพบในปา่ เบญจพรรณ ป่าดบิ เขา ปา่ เต็ง
รัง ปา่ ไผ่และป่าดบิ แล้ง
ตอไม้ (Stump) ท่ีสารวจพบ มีมากกวา่ 4 ชนิด จานวน 271,705 ตอ มีความหนาแน่นเฉล่ีย 1.25
ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณตอมากที่สุด ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) สนสามใบ (Pinus kesiya)
เต็ง (Shorea obtusa) และกายาน (Styrax apricus) โดยป่าเต็งรังพบตอไม้มากที่สุด รองลงมา คือ ป่า
เบญจพรรณและป่าสนเขา
การวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบวา่ ชนิดพันธไุ์ ม้ทมี่ ีความถ่ี (Frequency) มากที่สุด คือ แดง (Xylia
xylocarpa) ชนดิ พันธ์ุไม้ท่ีมีความหนาแน่น (Density) มากท่ีสุด คือ กระอวม (Acronychia pedunculata)
ชนดิ พันธุไ์ ม้ที่มีความเดน่ (Dominance) มากท่สี ุด คือ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana)
โดยมีชนิดพันธุ์ไม้ที่มีความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากที่สุด คือ แดง (Xylia xylocarpa) ชนิด
พันธ์ุไม้ที่มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density) มากที่สุด คือ กะอวม (Acronychia pedunculata)
ช นิ ดพั น ธ์ุไม้ ที่ มีค วามเด่ น สัม พั ท ธ์ (Relative Dominance) มากท่ี สุด คือ ต ะแบ กเป ลือกบ าง
(Lagerstroemia duperreana) ชนิดพันธ์ุไม้ท่ีมีดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index :
IVI) มากท่ีสุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และขอ้ มูลเก่ียวกับความหลากหลาย
ทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้
(Species Diversity) มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง ซึ่งชนิดป่าหรือลักษณะการใช้
ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness) มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ
รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ไม้
(Species Evenness) มากทส่ี ุด คือ ปา่ ไผ่ รองลงมา คือ แหล่งน้า
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ไม้ยืนต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร มีจานวน 8,354,928 ต้น คิดเป็นร้อยละ
60.74 ของไม้ทั้งหมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจานวน
3,905,759 ต้น คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.40 ของไมท้ ั้งหมด และไมย้ นื ต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
100 เซนติเมตรข้นึ ไป จานวน 1,494,377 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 10.86 ของไม้ทัง้ หมด
จากผลการดาเนินงานดังกล่าว ทาให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาลงั ผลิตและความหลากหลายของพันธ์พุ ืชในพ้ืนท่ีต่างๆ ของอทุ ยานแห่งชาติภูกระดึง อกี ทั้งยังเปน็ แนวทาง
ในการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ เกยี่ วกบั รูปแบบ วธิ ีการสารวจและการวิเคราะหข์ ้อมลู อย่างเปน็ ระบบและแบบ
แผน เพื่อเป็นแนวทางในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึง
ตอ่ ไป
สารบัญ 4
สารบัญ หน้า
สารบัญตาราง 4
สารบญั ภาพ 6
คานา 7
วัตถปุ ระสงค์ 8
เป้าหมายดาเนินการ 9
ข้อมูลทั่วไปอุทยานแห่งชาตภิ กู ระดึง 9
10
ประวตั ิความเปน็ มา 10
ทตี่ ั้งและอาณาเขต 10
ลักษณะภมู ิประเทศ 11
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 12
ลกั ษณะทางธรณีวิทยา 12
ลักษณะทางนิเวศวิทยา 13
จุดที่นา่ สนใจในอุทยานแห่งชาติภกู ระดึง 14
รปู แบบและวธิ กี ารสารวจทรัพยากรป่าไม้ 17
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design) 17
รปู ร่างและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design) 17
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ทีท่ าการสารวจ 18
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 18
1. การคานวณเน้อื ทปี่ า่ และปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดของแต่ละพ้นื ทอ่ี นรุ ักษ์ 18
2. การคานวณปริมาตรไม้ 18
3. การวิเคราะหข์ ้อมลู ทั่วไป 19
4. การวิเคราะห์ขอ้ มลู องคป์ ระกอบของหมไู่ ม้ 19
5. การวเิ คราะห์ข้อมลู ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling) 19
6. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย 20
7. การวเิ คราะหข์ ้อมลู สังคมพืช 20
8. การวิเคราะห์ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ 20
9. การศึกษาคุณคา่ ทางนเิ วศวทิ ยา 21
10. การประเมนิ สถานภาพทรพั ยากรปา่ ไม้ 22
ผลการสารวจและวิเคราะห์ข้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 23
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง 23
2. พืน้ ที่ปา่ ไม้ 24
3. ปรมิ าณไม้ 34
4. ชนิดพนั ธ์ุไม้ 38
สารบัญ (ต่อ) 5
5. สังคมพชื หน้า
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 50
สรปุ ผลการสารวจและวเิ คราะห์ข้อมลู ทรพั ยากรป่าไม้ 59
ปญั หาและอปุ สรรค 60
ขอ้ เสนอแนะ 63
เอกสารอา้ งอิง 64
ภาคผนวก 65
66
6
สารบญั ตาราง
ตารางท่ี ตาราง หน้า
1 18
2 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ที่ดาเนินการสารวจ 22
3 พ้นื ที่ป่าไมจ้ าแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในอทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดึง (Area by Landuse Type) 34
ปรมิ าณไม้ทงั้ หมดจาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ินในอทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดึง
4 (Volume by Landuse Type) 36
ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไมต้ ่อหนว่ ยพน้ื ที่จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดิน
5 ในอทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดึง (Density and Volume per Area by Landuse Type) 37
6 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้งั หมดในอุทยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ 40
7 ปริมาณไม้ทั้งหมดของอุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดงึ (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไมส้ ูงสุด) 41
8 ปริมาณไม้ในปา่ ดบิ แล้งของอุทยานแหง่ ชาติภูกระดึง (30 ชนดิ แรกท่มี ีปรมิ าตรไมส้ ูงสดุ ) 42
9 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดิบเขาของอทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดึง (30 ชนิดแรกทมี่ ีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 43
10 ปริมาณไมใ้ นป่าสนเขาของอุทยานแหง่ ชาติภกู ระดึง 44
11 ปรมิ าณไม้ในป่าเบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดึง (30 ชนดิ แรกทมี่ ีปริมาตรไมส้ ูงสดุ ) 45
12 ปรมิ าณไม้ในป่าเตง็ รังของอทุ ยานแหง่ ชาติภกู ระดงึ (30 ชนิดแรกทม่ี ปี รมิ าตรไมส้ ูงสุด) 46
13 ปริมาณไม้ในปา่ ไผข่ องอุทยานแห่งชาติภกู ระดึง 46
14 ปรมิ าณไมใ้ นพืน้ ท่ีเกษตรกรรมของอทุ ยานแหง่ ชาติภกู ระดึง 46
15 ปริมาณไมใ้ นแหลง่ นา้ ของอุทยานแห่งชาติภกู ระดงึ 47
16 ชนิดและปรมิ าณไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ ท่พี บในอุทยานแหง่ ชาตภิ กู ระดงึ 48
17 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทพ่ี บในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดึง 49
18 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูกระดงึ 50
19 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทีพ่ บในอทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดึง 52
20 ดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ทง้ั หมดในอทุ ยานแห่งชาติภกู ระดึง 53
21 ดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ แลง้ ในอทุ ยานแหง่ ชาติภกู ระดึง 54
22 ดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ เขาในอทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดึง 55
23 ดชั นคี วามสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ สนเขาในอุทยานแห่งชาติภกู ระดึง 56
ดัชนคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณ
24 ในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ 57
25 ดชั นีความสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เต็งรังในอุทยานแห่งชาตภิ ูกระดึง 58
26 ดัชนีความสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ไผใ่ นอุทยานแห่งชาติภกู ระดึง 58
ดัชนีความสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพื้นท่ีเกษตรกรรม
27 ในอุทยานแหง่ ชาตภิ กู ระดึง 58
28 ดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของแหล่งนา้ ในอุทยานแห่งชาติภกู ระดงึ 59
ความหลากหลายทางชีวภาพของชนิดพนั ธไุ์ มอ้ ุทยานแห่งชาติภูกระดึง
สารบัญภาพ 7
ภาพที่ หน้า
1 แผนทแี่ สดงขอบเขตของอทุ ยานแหง่ ชาติภกู ระดึง 11
2 แสดงความสงู และชดุ หินแต่ละระดับชน้ั ความสูงของภกู ระดึง 12
3 จดุ ชมพระอาทติ ยต์ กทผ่ี าหมากดกู อุทยานแหง่ ชาติภูกระดงึ 14
4 จุดชมพระอาทติ ย์ตกท่ผี าหลม่ สกั อทุ ยานแหง่ ชาติภกู ระดงึ 15
5 จุดชมพระอาทิตยข์ ึ้นทผ่ี านกแอน่ อุทยานแหง่ ชาตภิ กู ระดงึ 15
6 บริเวณสระอโนดาด อุทยานแหง่ ชาติภูกระดึง 16
7 บรเิ วณลานพระแกว้ อุทยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ 16
8 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 17
9 แผนทแี่ สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ิประเทศของอุทยานแหง่ ชาตภิ กู ระดงึ 23
10 แปลงตวั อย่างทไ่ี ดด้ าเนินการสารวจภาคสนามในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ 23
11 พ้นื ท่ปี า่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ินในพ้ืนทอี่ ุทยานแหง่ ชาตภิ กู ระดงึ 24
12 สภาพท่วั ไปของป่าดบิ แลง้ อุทยานแห่งชาตภิ ูกระดึง 25
13 สภาพทั่วไปของปา่ ดิบเขา อทุ ยานแห่งชาตภิ ูกระดึง 26
14 สภาพทัว่ ไปของป่าสนเขา อทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดึง 27
15 สภาพทว่ั ไปของป่าเบญจพรรณ อทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดงึ 28
16 สภาพทว่ั ไปของปา่ เตง็ รัง อทุ ยานแหง่ ชาติภกู ระดึง 29
17 สภาพท่ัวไปของป่าไผ่ อทุ ยานแหง่ ชาตภิ กู ระดึง 30
18 สภาพทว่ั ไปของพืน้ ท่ีเกษตรกรรม อุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดงึ 31
19 สภาพทวั่ ไปของพืน้ ทีแ่ หลง่ น้า อทุ ยานแห่งชาติภกู ระดงึ 32
20 สภาพทั่วไปของพ้ืนท่ีทงุ่ หญา้ ธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง 33
21 ปรมิ าณไม้ทัง้ หมด (ตน้ ) ทพี่ บในพน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดงึ 35
22 ปรมิ าตรไม้ทง้ั หมด (ลบ.ม.) ทพี่ บในพื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติภูกระดึง 35
23 ความหนาแนน่ ตน้ ไม้ (ตน้ ต่อไร่)ในพ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ 36
24 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูกระดงึ 37
25 การกระจายขนาดความโตของไมท้ งั้ หมดในพ้ืนทีอ่ ุทยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ 37
8
คานา
ปัจจุบันประเทศไทยมพี ้ืนที่ป่าไม้เหลอื อยู่ 172,184.29 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณร้อยละ 33.56
ของพ้ืนที่ประเทศไทย (ท่ีมา : หนังสือข้อมูลสถิติอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช, 2553) ทั้งนี้ เพื่อให้
การดาเนินงานของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ท่ีต้องดาเนินการอนุรักษ์สงวนและฟ้ืนฟูความ
หลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาการใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน จงึ จาเปน็ ที่จะต้องทราบถึงสถานภาพ
และศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรพั ยากรป่าไม้ รวมทั้งความหลากหลายทางชวี ภาพท่มี ีอยู่ในพื้นท่ปี ่า
ไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการบุกรุกทาลายป่า เพื่อนามาใช้ในการดาเนินการตาม
ภาระรบั ผดิ ชอบตอ่ ไป ดงั น้ัน ส่วนสารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพฒั นาพน้ื ที่อนุรักษ์ จึง
มอบหมายให้สานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ท่ี 8 (ขอนแก่น) ดาเนินการสารวจพื้นที่ป่าอนุรักษ์ในความรับผิดชอบ
คือ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง จังหวัดเลย เพ่ือเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่
อนุรักษ์ นาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการสารวจ และใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการประเมินมูลค่า ท้ัง
ทางด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ในการดาเนินการในกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับความหลากหลายทาง
ชีวภาพ รวมทั้ง ใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของป่า ทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ท่ี
เกี่ยวข้อง รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อนาไปพัฒนาการอนุรักษ์ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะสามารถใช้
เป็นตน้ แบบในการดาเนนิ การในพ้นื ที่อื่นๆ ต่อไป
การสารวจทรัพยากรป่าไม้เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพ่ือติดต้ัง
ระบบติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งทรัพยากรอื่นที่เก่ียวข้อง ได้รับการจัดสรร
งบประมาณในการดาเนินงานและกาหนดจุดสารวจเป้าหมาย โดยส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สานักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าว
สอดคล้องกับภารกิจของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ที่จะต้องดาเนินการอนุรักษ์ สงวน และ
ฟนื้ ฟคู วามหลากหลายทางชีวภาพ ใหม้ กี ารใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรป่าไม้อยา่ งยั่งยนื โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ
ทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาลังผลิตและความหลากหลายของพืชพันธ์ุใน
พ้ืนท่ีต่างๆ ของประเทศไทย สาหรับรูปแบบและวิธีการสารวจ ใช้การสารวจแบบแปลงตัวอย่าง (Plot) และ
วิธีสุ่มตัวอยา่ งแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นทภี่ าพถ่ายดาวเทียมที่มีการแปลสภาพวา่ เป็นป่า
โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่างมีระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนท่ี (Grid) ได้แก่ 10x10 กิโลเมตร 5x5
กิโลเมตร 3x3 กิโลเมตรและ 2.5x2.5 กิโลเมตร แตกต่างกันไปตามปีงบประมาณและพ้ืนท่ีท่ีได้รับการสุ่ม
โดยระบบ Datum ของแผนทสี่ ารวจ สว่ นใหญจ่ ะเป็น Indian Thailand 1975 ส่วนปีงบประมาณ 2555 เป็น
ตน้ ไปใช้ระบบ Datum เปน็ WGS 84
9
วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ ใหท้ ราบข้อมลู พ้ืนฐานเกยี่ วกับทรพั ยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาลงั ผลิตและความหลากหลาย
ของพชื พันธใ์ุ นพ้ืนทอี่ นรุ กั ษ์ต่างๆของประเทศไทย
2. เพือ่ ใช้เป็นต้นแบบในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสารวจ และการวเิ คราะห์
ข้อมูลอย่างเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพือ่ กาหนดแนวทางการวางระบบติดตามการเปลีย่ นแปลงทรัพยากรป่าไม้ ในพ้นื ที่
4. เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐาน เกีย่ วกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้ มาใช้ในการวางแผนเพาะชากล้าไมเ้ พ่ือ
ปลูกเสรมิ ป่าในแตล่ ะพ้ืนที่
เปา้ หมายการดาเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดพื้นที่
สารวจเป้าหมายในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูกระดึง ในท้องที่ ตาบลศรีฐาน อาเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ซึ่งอยู่
ในความดแู ลรบั ผดิ ชอบของสานกั บรหิ ารพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษท์ ี่ 8 (ขอนแก่น) รวมท้ังสิ้น 41 แปลง
การสารวจจะใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงที่ รูปวงกลม
3 วงซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร
อยู่ตามทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี
3.99 เมตร จานวนทั้งสิ้น 41 แปลง และทาการเก็บข้อมูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิด
ไม้ขนาดความโต ความสูง จานวนกล้าไม้ และลูกไม้ ชนิดป่าลักษณะต่างๆ ของพื้นท่ีท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูล
ลักษณะภูมปิ ระเทศ เช่น ระดบั ความสูง ความลาดชัน เป็นตน้ ตลอดจนการเก็บข้อมูลองคป์ ระกอบร่วมของ
ป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พมุ่ เถาวลั ย์และพืชชนั้ ล่าง แลว้ นามาวิเคราะหแ์ ละประมวลผล เพือ่ ใหท้ ราบเนอื้ ท่ีป่า
ไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุตาม
ธรรมชาติของหมไู่ ม้ในปา่ น้ัน
10
ขอ้ มูลทวั่ ไปอทุ ยานแห่งชาตภิ ูกระดึง
ประวัตคิ วามเปน็ มา
อุทยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ ตามตานานกล่าวไวว้ า่ มีพรานปา่ ผหู้ นงึ่ ได้พยายามล่ากระทงิ ซึง่ หลบหนไี ป
ยังยอดเขาลูกหน่ึงในตาบลศรีฐาน (ปัจจุบันอยู่ในอาเภอภูกระดึง) ซ่ึงเป็นภูเขาที่ไม่เคยมีใครขึ้นมาก่อน เม่ือ
นายพรานได้ตามกระทิงขน้ึ ไปบนยอดเขาแหง่ น้ัน กไ็ ด้พบว่าพ้นื ทีบ่ นภูเขาลูกน้ัน เต็มไปด้วยพ้ืนทีร่ าบกว้างใหญ่
สวยงาม เตม็ ไปดว้ ยป่าสน พรรณไม้ และสัตวป์ า่ นานาชนดิ มนุษยจ์ งึ รู้จกั ภกู ระดึงแตน่ ัน้ เป็นตน้ มา
ภูกระดึง เป็นท่ีรู้จักกันมาต้ังแต่ในสมัยสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 6 มีปรากฏเป็น
หลกั ฐานเม่ือสมุหเทศาภิบาล (พระเจ้าวรวงค์เธอกรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม) ได้ทารายงานสภาพภูมิศาสตร์
เสนอต่อกระทรวงมหาดไทยในปี พ.ศ. 2486 ทางราชการได้ออกพระราชกฤษฎีกาป่าสงวนแหง่ ชาติ กรมป่าไม้
จงึ ได้เร่ิมดาเนินการสารวจเพ่ือจัดต้ังอุทยานแห่งชาติขนึ้ ที่ภูกระดึง จังหวัดเลย เป็นแห่งแรก แต่เนื่องจากขาด
แคลนงบประมาณและเจ้าหน้าทจี่ งึ ได้ดาเนนิ การไปเพียงเล็กน้อยและหยุดไป
เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2502 คณะรฐั มนตรีได้มีมติให้กาหนดป่าในท้องท่จี ังหวัดตา่ งๆ รวม 14 แห่ง
เป็นอุทยานแห่งชาติ เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเอาไว้เป็นการถาวร เพ่ือประโยชน์ส่วนรวม กรมป่าไม้จึง
ได้เสนอจัดต้ังป่าภูกระดึง ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติอุทยาน
แห่งชาติ พ.ศ. 2504 โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดป่าภูกระดึงในท้องที่ตาบลศรีฐาน กิ่งอาเภอภูกระดึง
อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เป็นอุทยานแห่งชาติ มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 217,581 ไร่ อุทยานแห่งชาติภูกระดึงได้รับ
การประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ลาดับที่ 2 ของประเทศไทย เมื่อวันท่ี 23 พฤศจิกายน 2505 ในวันที่ 6
กรกฎาคม พ.ศ. 2520 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ดาเนินการเพิกถอนเขตอุทยานแห่งชาติ ในบริเวณที่
กองทัพอากาศขอใช้ประโยชน์ต้ังเป็นสถานีถ่ายทอดโทรคมนาคมเพ่ือประโยชน์ในราชการทหาร มีเนื้อท่ี
ประมาณ 5 ไร่ ทางกรมป่าไม้จึงได้ดาเนินการขอเพิกถอนพ้ืนที่ดินดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2521 ปัจจุบันอุทยาน
แหง่ ชาติภูกระดงึ มีเนอื้ ทอี่ ยูป่ ระมาณ 217,576.25 ไร่
ท่ตี ั้งและอาณาเขต
อทุ ยานแห่งชาติภูกระดงึ ไดร้ ับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติลาดับที่ 2 ของประเทศไทย เมื่อวันท่ี
23 พฤศจิกายน 2505 ต้ังอยู่ในท้องท่ีตาบลศรีฐาน อาเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นท่ี 348.12
ตารางกิโลเมตร (217,576.25 ไร)่ ลักษณะภูมปิ ระเทศเป็นภเู ขาหนิ ทรายยอดตัด โดยมีทร่ี าบบนยอดภูกระดึง
ประมาณ 60 ตารางกโิ ลเมตร (37,500 ไร)่
หน่วยงานในพ้ืนที่ของอุทยานแห่งชาติภูกระดึง ประกอบด้วย หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย. 1
(วังกวาง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย. 2 (อีเลิศ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ท่ี ลย. 3 (นาน้อย)
หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย. 4 (พองหนีบ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ท่ี ลย. 5 (หนองผักบุ้ง) และ
หน่วยพทิ ักษ์อุทยานแห่งชาติ ท่ี ลย. 6 (ภูขไี้ ก่)
11
ภาพที่ 1 แผนทแ่ี สดงขอบเขตของอุทยานแหง่ ชาติภกู ระดึง
ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพทั่วไปของอุทยานแหง่ ชาติภูกระดึงเป็นภูเขาหินทรายยอดตัด ต้ังอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนอื ของ
ที่ราบสูงโคราช ใกล้กับด้านลาดทางทิศตะวันออกของเทือกเขาเพชรบูรณ์ พ้ืนที่ส่วนใหญ่ของภูเขามีความสูง
จากระดับน้าทะเล 400-1,200 เมตร ส่วนฐานหรือเชิงเขาเริ่มจากจุดต่าสุดของพื้นที่ที่ระดับความสูง 260
เมตร ไปจนถึงระดับความสูง 400 เมตร มีลักษณะเป็นที่ราบเชิงเขาล้อมรอบตัวภูกระดึง และพื้นที่ท่ีอยู่ใน
ระดับที่สูงข้ึน มีสภาพลาดชันยกตัวข้ึนเป็นขอบเขาและหน้าผาสูงชัน พ้ืนท่ีราบบนยอดตัดของภูเขามีพ้ืนที่
ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร (37,500 ไร่) มีลักษณะคล้ายรูปใบบอนหรือรูปหัวใจเมื่อมองจากด้านบน มีส่วน
ปลายใบอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และส่วนเว้าด้านในอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ราบบนเขา
ประกอบด้วยเนินเต้ียๆ ยอดที่สูงที่สุดอยู่ที่บริเวณคอกเมย สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 1,316 เมตร สภาพ
พนื้ ทีร่ าบบนยอดภูกระดึงมีสว่ นสูงอยู่ทาง ดา้ นตะวันตกและตะวันออกเฉียงใต้ และจะค่อยๆ ลาดเทลงมาทาง
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทาให้ลาธารสายต่างๆ บนภูเขาไหลไปรวมกันทางด้านนี้ กลายเป็นแหล่งต้นน้าของลา
น้าพอง
12
ลกั ษณะภมู ิอากาศ
ภูมิอากาศของอุทยานแห่งชาติภูกระดึง บริเวณท่ีระดับต่าตามเชิงเขา มีสภาพโดยท่ัวไปใกล้เคียงกับ
บริเวณอ่ืนๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดูฝน เริ่มต้ังแต่ เดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ฝนตกชุกท่ีสุดระหว่างเดือนสิงหาคมถึง
กันยายน อณุ หภมู ิเฉลยี่ รายปี 26 องศาเซลเซยี ส อณุ หภูมติ ่าสดุ ในเดือนมกราคม และอุณหภูมิสงู สุดในเดือน
เมษายน สภาพอากาศทั่วไปบนยอดภกู ระดึง แตกต่างจากสภาพอากาศในที่ราบต่าเป็นอยา่ งมาก โดยปริมาณ
น้าฝนจะเพ่ิมขึ้นอีกประมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ 30 ของปริมาณน้าฝนบนท่ีต่า เนื่องจากอิทธิพลของเมฆหรือ
หมอกท่ีปกคลุมยอดภูกระดึงเป็นประจา ในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม อุณหภูมิต่าสุดเฉล่ียระหว่าง 0-10
องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยระหว่าง 21-24 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคม-
เมษายน อุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ยระหว่าง 12-19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ียระหว่าง 23-30 องศา
เซลเซียส อากาศบนยอดภูกระดึง มักจะแปรปรวน มีเมฆหมอก ลอยต่าปกคลุมบ่อยครั้ง อากาศจึงค่อนข้าง
เยน็ ตลอดปี
ในช่วงฤดูฝน มักเกิดภัยธรรมชาติ เช่น เกิดการพังทลายของภูเขาและมีน้าป่า ทางอุทยานแห่งชาติจึง
กาหนดให้ปิด-เปิดการทอ่ งเท่ียวเฉพาะบนยอดเขาภูกระดึง เพื่อความปลอดภัยของนกั ท่องเท่ียว และให้สภาพ
ธรรมชาติและสภาพแวดล้อมได้มีการพักฟ้ืนตัว หลังจากนักท่องเที่ยวไปเย่ียมชมอย่างมากในแต่ละปี คือ ปิด
ฤดูการท่องเท่ียว ต้ังแต่วันที่ 1 มิถุนายน ถึง 30 กันยายนของทุกปี และเปิดฤดูการท่องเท่ียว ตั้งแต่วันที่ 1
ตลุ าคม ถึง 31 พฤษภาคม ของทกุ ปี
ลกั ษณะทางธรณีวิทยา
เกดิ ขน้ึ ในมหายุคมโี ซโซอกิ มีลักษณะโครงสรา้ งทางธรณเี ป็นหนิ ในชุดโคราช ประกอบด้วยชน้ั หิน
หมวดหินภพู าน เป็นหนิ ช้นั ทม่ี อี ายนุ ้อยท่ีสดุ อยู่ชนั้ บนสดุ ของโครงสร้างภูกระดึง พบทั่วไปบนหลังแปหรือท่ี
ระดับความสูงต้ังแต่ 990 เมตรข้ึนไป หมวดหนิ เสาขวั พบตั้งแต่ระดบั ความสูง 600 เมตรข้ึนไป หมวดหินพระ
วหิ ารพบในระดบั ความสงู 400 - 600 เมตร และหมวดหินภกู ระดงึ เป็นหินชนั้ ฐานของโครงสรา้ งภกู ระดงึ
ภาพที่ 2 แสดงความสูงและชุดหินแตล่ ะระดบั ชั้นความสูงของอุทยานแห่งชาติภกู ระดึง
13
ลกั ษณะทางนิเวศวทิ ยา
สตั วป์ า่ อทุ ยานแหง่ ชาตภิ กู ระดงึ ได้ช่ือวา่ เป็นแหลง่ ทีม่ ีสตั วป์ า่ อาศัยอย่อู ย่างชกุ ชมุ เน่ืองจาก
ลกั ษณะ ภมู ิประเทศประกอบไปดว้ ย ป่าไม้ ท่งุ หญ้า และลาธาร ซึง่ เป็นแหลง่ อาหารที่อุดมสมบรู ณ์ จาก
การสารวจพบสัตวบ์ กมีกระดูกสนั หลงั รวม 266 ชนดิ แบ่งเปน็ สตั วเ์ ลย้ี งลูกด้วยนม 36 ชนดิ เช่น เก้ง
กวางป่า หมูปา่ ลิงกงั ลงิ ลม บ่าง กระรอก กระแต หนูหร่ิงนาหางยาว ตนุ่ เมน่ หางพวง พงั พอน และอีเหน็
เปน็ ตน้ ในจานวนน้เี ปน็ สัตวป์ ่าใกล้สูญพนั ธุ์ 4 ชนิด คือ เลยี งผา ช้างปา่ เสอื ดาวและเสือโคร่ง สัตวป์ ีกจานวน
171 ชนดิ เช่น เหยี่ยวรุง้ นกเขาเปลา้ นกเขาใหญ่ นกกระปูดใหญ่ นกเคา้ กู่ นกตะขาบทุ่ง นกโพระดกคอสีฟ้า
นกหัวขวานสามนวิ้ หลงั ทอง นกตที อง นกนางแอน่ สะโพกแดง นกเดา้ ดนิ สวน นกอุ้มบาตร นกขี้เถา้ ใหญ่ นก
กระทาทุ่ง นกพญาไฟใหญ่ นกกางเขนดง นกจาบดนิ อกลายและนกขมิน้ ดง เป็นตน้ สตั ว์เลอื้ ยคลาน 39 ชนิด
เชน่ ตุ๊กแก จง้ิ จกหางแบนเล็ก กิง้ ก่าสวน จง้ิ เหลนบ้าน เตา่ เหลอื ง งทู างมะพรา้ ว งูลายสอบา้ น งูจงอาง งเู หา่
และงูเขยี วหางไหม้ เปน็ ต้น มีชนิดทใ่ี กล้สญู พนั ธุ์ 1 ชนิด คอื เตา่ เดือย นอกจากนี้ ยงั พบเตา่ ชนดิ หนง่ึ ซง่ึ หาได้
ยาก คอื เตา่ ปูลหู รือเต่าหาง เปน็ เตา่ ทีห่ างยาว อาศยั อยู่ตามลาธารในป่าเขาระดับสูงของประเทศไทย กมั พชู า
และลาว และยังพบสตั ว์สะเทินนา้ สะเทินบกจานวนมาก เช่น อึ่งอดี๊ หลงั ลาย เขยี ดหนอง คางคก กบหูใหญ่
และปาดแคระ เปน็ ตน้
สัตว์ป่าที่สามารถพบเห็นได้บ่อยเม่ือข้ึนไปถึงยอดภู คือ กวาง เน่ืองจากมีกลุ่มกวางจานวนหน่ึงที่
เจ้าหน้าท่ีของอุทยานได้เล้ียงเอาไว้ ทาให้กวางกลุ่มนี้ไม่วิง่ หนีเมื่อพบเห็นคน กวางตัวแรกที่เจ้าหน้าท่ีได้เล้ียง
เอาไว้ชือ่ คาหล้า เป็นกวางตัวเมยี ตัวท่ีสองเป็นตัวผู้ชือ่ คัมภีร์ นอกจากนี้ยังมีหมปู ่า ซง่ึ เคยพบตัวในบริเวณป่า
ปิด แต่ปัจจุบันมีกระจายอยู่ทั่วไป แม้ในส่วนลานกางเต็นท์เม่ือยามมีนักท่องเที่ยวไม่มาก และหมาไน เดิมจะ
อยูใ่ นส่วนป่าสนด้านบน หากนิ กันเป็นฝูงใหญ่ แต่ปจั จบุ นั เข้ามาหากินใกลบ้ รเิ วณท่ีทาการมากข้นึ สามารถพบ
เหน็ ไดบ้ ริเวณร้านค้าท่ที าการดว้ ย
พืชพรรณ สังคมพืชของอุทยานแห่งชาติภูกระดึง เป็นป่าท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ท่ีสุดป่าหน่ึง มีทั้งป่า
ผลัดใบ และป่าดงดิบ ทร่ี ะดบั ความสูงตา่ งๆ จาแนกออกได้เปน็
1) ป่าเต็งรัง พบบนที่ราบเชิงเขาและบนท่ีลาดชันจนถึงระดับความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ
600 เมตร ชนดิ พันธไุ์ ม้ทีส่ าคัญ ได้แก่ เตง็ รัง เหียง พลวง กราด รกฟ้า อ้อยช้าง กว้าว มะกอกเล่ือม มะค่าแต้
ชา้ งน้าว ตวิ้ ขน ยอปา่ ฯลฯ สว่ นพืชพ้ืนล่างมีหญา้ เพ็กข้ึนเปน็ กอหนาแนน่ แทรกด้วยไมพ้ มุ่ และพืชลม้ ลุก
2) ป่าเบญจพรรณ พบต้ังแต่บนพ้ืนท่ีราบเชิงเขาและท่ีลาดชันตามไหล่เขารอบภูกระดึง จนถึงระดับ
ความสูงจากน้าทะเลประมาณ 950 เมตร พันธ์ุไม้ท่ีสาคัญ ได้แก่ แดง ประดู่ปา่ กระบก ตะแบกเลือด ยมหิน
มะกอก ง้ิวป่า แสมสาร มะค่าโมง ตะคร้า สมอไทย สาโรง โมกมัน ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยหญ้าและกอ
ไผ่ของไผ่รวก ไผ่ไร่ ไผ่หลวง ไผ่ซางหม่น ไม้พุ่ม เช่น หนามคณฑา กะตังใบ สังกรณี ไผ่หวานบ้าน ฯลฯ ไม้เถา
เช่น แก้วมือไว สายหยุด นมวัว ตีนต่ัง หนอนตายหยาก กลอย ฯลฯ พืชล้มลุก เช่น บุกใหญ่ ผักปราบ แห้ว
กระตา่ ย ฯลฯ พชื กาฝากและองิ อาศัย เช่น ข้าวก่านกยงู ดอกดิน ชายผา้ สีดา เป็นต้น
3) ป่าดิบแล้ง พบตามฝ่ังลาธารของหุบเขาท่ีชุ่มชื้นทางทิศตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศ
ตะวันตก ต้ังแต่เชิงเขาจนถึงระดับความสูงประมาณ 950 เมตร จากระดับน้าทะเล พันธ์ุไม้สาคัญ ได้แก่ ก่อ
ตะเคยี นทอง ยางแดง ยมหอม ตะแบกเปลอื กบาง หว้า มะม่วงป่า สัตตบรรณ มะหาด คอแลน เชียด ฯลฯ
พืชพ้ืนล่างหนาแน่น เป็นพวกไม้พุ่ม ไม้เถา เช่น สร้อยอินทนิล กระทงลาย เถามวกขาว เล็บมือนาง กระไดลิง
ฯลฯ พืชล้มลุก เชน่ ขา่ คม ก้ามกุ้ง ฯลฯ หวายและเฟนิ หลายชนิด
14
4) ป่าดิบเขา พบตั้งแต่ระดับ 1,000 เมตรจากระดับน้าทะเลขึ้นไป ทางทิศเหนือและทิศตะวันตก
เฉียงเหนือ พันธ์ุไม้ท่ีสาคัญ ได้แก่ ก่วมแดง ทะโล้ สนสามพันปี พะอง จาปีป่า พญาไม้ ก่อเดือย ก่อหนาม ก่อ
หมู ส้านเขา รัก เหมือดคนดง เฉียงพร้านางแอ พะวา เดื่อหูกวาง ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยไม้พุ่ม เช่น
กุหลาบแดง มือพระนารายณ์ ฮอมคา จ๊าฮ่อม ฯลฯ ตามหน้าผาริมขอบภูพบปาล์มต้นสูงขึ้นห่างๆ ได้แก่ ค้อ
ดอย ไม้เถา เช่น กระจบั เขา เครือเขานา้ แกม้ ขาว หนามไขป่ ู ใบก้นปดิ ยา่ นหเู สือ เปน็ ตน้
5) ป่าสนเขา พบเฉพาะบนที่ราบยอดภูกระดึง ที่ระดับความสูงประมาณ 1,200-1,350 เมตรจาก
ระดับน้าทะเล พันธ์ุไม้ที่สาคัญ ได้แก่ สนสองใบ ก่อเต้ีย ทะโล้ สารภีดอย มะเข่ือเถื่อน รัก ฯลฯ พืชพื้นล่าง
ได้แก่ สนทราย ส้มแปะ กุหลาบขาว เม้าแดง พวงตุ้มหู นางคา ฯลฯ ตามลานหินมีพืชช้ันต่าพวกไลเคน
ประเภทแนบกับหินเป็นแผ่น และประเภทเป็นฟอง เรียก “ฟองหิน” ปกคลุมทั่วไป นอกจากนี้ จะพบเอ้ืองคา
หนิ ม้าวิง่ และเขากวาง ซึ่งเป็นกลว้ ยไม้ท่ีออกเป็นกอหนาแน่น พืชลม้ ลุก เชน่ ดาวเรืองภู ว่านคางคก ต่างหู
ขาว เนียมดอกธูป แววมยุรา หญ้าข้าวก่าขาว โสภา เทียนภู เปราะภู ดอกหรีด ขนนกยูง หญ้าเหลี่ยม น้าเต้า
พระฤาษี กูดเกี๊ยะ เป็นต้น บนพื้นดินท่ีชุ่มแฉะ มอสจาพวกข้าวตอกฤาษีหลายชนิดข้ึนทับถมแน่น คล้ายผืน
พรม บางแหง่ มีพืชลม้ ลุกขนาดเล็กหลายชนิดขึ้นปะปนกันแน่น เช่น กระดุมเงิน สาหรา่ ยขา้ วเหนียวดุสิตา และ
หญา้ ข้าวก่า
จุดทีน่ า่ สนใจในอุทยานแห่งชาตภิ กู ระดงึ
ผาหมากดูก อยหู่ ่างจากวังกวางประมาณ 2 กิโลเมตร เดินทางผ่านทุ่งหญ้าโลง่ มที ิวสนขึน้ เรยี งรายให้
ความร่มรื่น ข้างทางมีดอกไม้หลากหลายชนิดชูช่อสีสันงดงามชวนมอง เดินเล่นทอดน่องไปเร่ือยๆ สักพักก็จะ
ถงึ ลานกว้างให้น่ังชมพระอาทิตย์ตก ผาหมากดกู จะสามารถชมพระอาทติ ยต์ กได้เฉพาะในช่วงฤดหู นาวเท่านั้น
เพราะตง้ั อยู่ทางทศิ ใต้ ถ้ามาในช่วงฤดกู าลอื่นอาจจะเห็นไม่ชัดเจนนัก
ภาพท่ี 3 จุดชมพระอาทติ ยต์ กทีผ่ าหมากดูก อุทยานแหง่ ชาติภูกระดงึ
15
ผาหล่มสัก มีลักษณะเป็นแผ่นหินใหญ่ย่ืนลอยออกจากหน้าผา มีต้นสนเดียวดายทรวดทรงเป็น
เอกลักษณ์ ขึ้นคู่เคียงกับชะง่อนหินท่ียื่นล้าออกไป กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งภูกระดึงอันสุดคลาสสิกท่ีดึงดูด
เหล่านกั เดินทางให้มาเฝ้ารอชมอาทติ ย์อัสดงทผี่ าหลม่ สักแหง่ น้ี สาหรับความลาบากของการมาชมพระอาทติ ย์
ตกท่ีผาหล่มสัก ไม่ใช่ระยะทางการเดินถึง 9 กิโลเมตร แต่อยู่ที่การเดินกลับอีก 9 กิโลเมตร ในเส้นทางเลียบ
ผา (นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่ไป-กลับคนละทางกัน) ที่ต้องฝ่าความมืดหลังพระอาทิตย์ตก ส่ิงจาเป็นท่ีต้องติดตัว
มาชมพระอาทิตย์ตกที่นี่ คือ ไฟฉาย ไฟแช็ก เทียนไข หรืออุปกรณ์ให้แสงสว่างอ่ืนๆ รวมท้ังอุปกรณ์กันหนาว
ดว้ ย
ภาพที่ 4 จดุ ชมพระอาทติ ย์ตกทีผ่ าหล่มสัก อทุ ยานแห่งชาตภิ ูกระดึง
ผานกแอ่น ในช่วงเย็นของแต่ละวัน เจ้าหน้าที่จะประกาศบอกเวลาให้นักท่องเที่ยวมารวมตัวกัน
บริเวณหน้าศูนย์บริการนักท่องเท่ียว เพ่ือนาไปชมพระอาทิตย์ขึ้น จะไม่อนุญาตให้นักท่องเท่ียวเดินไปเอง
เพราะอาจเกิดอันตรายจากสัตว์ป่าหรืออันตรายจากการไม่ชานาญพื้นท่ีได้ การได้ชมพระอาทิตย์ข้ึนท่ีบริเวณ
ผานกแอ่น เหมือนกับได้ชาร์ตแบตให้ร่างกายเต็มที่ ก่อนจะออกไปตะลุยภูกระดึงกันท้ังวัน ทิวทัศน์ยามเช้า
นอกจากจะมีแสงอาทิตย์ที่ค่อยๆ สว่างข้ึนแล้ว ก็ยังมีสายหมอกขาวไหลเอ่ือยๆ ผ่านพื้นราบด้านล่างท่ียังคง
เขยี วขจี เปน็ ภาพของธรรมชาติทดี่ ูสวยสดงดงามไมย่ ังเลอื นหายไป
ภาพที่ 5 จดุ ชมพระอาทิตย์ข้ึนที่ผานกแอน่ อุทยานแห่งชาตภิ กู ระดงึ
16
สระอโนดาด แหลง่ น้าธรรมชาติที่มลี าธารไหลผ่านตลอดท้ังปี น้าใสๆ ทีไ่ หลผา่ นสอ่ งสะท้อนทอ้ งฟา้ สี
คราม เป็นจุดนั่งพักผ่อนให้ลมเย็นๆ พัดผ่าน ก่อนจะเดินทางต่อไปจนถึงน้าตกสอเหนือ และน้าตกสอใต้ เดิน
ไปจนถึงผาหล่มสัก อันเป็นจุดมุ่งหมายสุดท้าย นักท่องเท่ียวสามารถอยู่รอชมพระอาทิตย์ตกบริเวณลานกว้าง
บริเวณนั้น หรือหากจะเดินกลับโดยใช้เส้นทางจากผาหล่มสัก ผ่านผาแดง ผาเหยียบเมฆ ผานาน้อย ผาจาศีล
และผาหมากดูก กลบั สวู่ งั กวาง รวมระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร
ภาพท่ี 6 บรเิ วณสระอโนดาด อุทยานแห่งชาติภกู ระดึง
ลานพระแก้ว เป็นลานหินกว้างล้อมด้วยทิวสน ประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ให้นักท่องเที่ยวเข้าไป
กราบไหว้เพื่อความเป็นสิริมงคล ตามก่ิงไม้ใกล้ๆ กับองค์พระพุทธรูปมีกระดิ่งและสิ่งของท่ีนักท่องเท่ียวนามา
แก้บนผูกไว้ สองข้างทางเต็มไปด้วยดอกไม้หลากหลายสายพันธุ์ เช่น ดอกกระดุมเงิน (มณีเทวา) ดอกหยาด
นา้ ค้าง ใบเฟริ ์น ดอกหญ้า เปน็ ต้น
ภาพที่ 7 บริเวณลานพระแกว้ อุทยานแหง่ ชาติภกู ระดึง
17
รปู แบบและวิธกี ารสารวจทรัพยากร
การสารวจทรัพยากรป่าไปม้ใ่านไปมระ้ เทศไทยนั้น ได้ดาเนินการโดยกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วน
สารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ และสานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ต่างๆ
ในสังกดั กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์ุพืช
การสมุ่ ตวั อย่าง (Sampling Design)
การสารวจทรพั ยากรป่าไม้ ใชว้ ิธสี ุ่มตวั อย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพน้ื ทีท่ ี่
ภาพถ่ายดาวเทยี มแปลว่ามสี ภาพเป็นป่า โดยใหแ้ ตล่ ะกลุ่มแปลงตวั อย่าง (Sample Plot) มรี ะยะหา่ งเทา่ ๆ กนั
โดยกาหนดให้กลุ่มแปลงตวั อย่างแตล่ ะกล่มุ แปลงหา่ งกนั 2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสมุ่ กาหนดกลุ่มแปลง
ตัวอยา่ งแรกบนเส้นกริดแผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ปี ระเทศไทยมาตราสว่ น 1:50,000 ใหม้ ีระยะหา่ ง
ระหว่างเส้นกรดิ ทง้ั แนวตง้ั และแนวนอนเทา่ กับ 2.5 กโิ ลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนที่เทา่ กับ 2.5 ชอ่ ง
จดุ ตดั ของเสน้ กรดิ ทั้งสองแนว ก็จะเป็นตาแหนง่ ท่ตี ง้ั ของแปลงตัวอย่างแตล่ ะแปลง เมื่อดาเนนิ การเสร็จส้นิ
แลว้ จะทราบจานวนของหนว่ ยตัวอยา่ งและตาแหน่งท่ีตงั้ ของหน่วยตวั อยา่ ง โดยลกั ษณะและขนาดของแปลง
ตวั อย่างดังภาพท่ี 8
ภาพท่ี 8 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง
รูปร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design)
แปลงตวั อยา่ ง (Sample Plot) ท่ีใชใ้ นการสารวจทัง้ แปลงตวั อย่างถาวร และแปลงตัวอยา่ งชวั่ คราว
เปน็ แปลงที่มีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมีรปู ร่าง 2 ลักษณะด้วยกัน คือ
1. ลักษณะรูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาดับ
1.2 รูปวงกลมที่มีรศั มีเท่ากันจุดศนู ย์กลางต่างกนั จานวน 4 วง รศั มี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจดุ ศูนยก์ ลางของวงกลมอยูบ่ นเสน้ รอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตรตามทศิ หลกั ทั้ง 4 ทศิ
18
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดยมี
จุดเร่ิมต้นรว่ มกนั ณ จุดศูนย์กลางแปลงตวั อย่าง ทามมุ ฉากซึง่ กนั และกนั ซึ่งตัวมมุ Azimuth ของเสน้ ท่ี 1ได้
จากการสมุ่ ตวั อยา่ ง
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ทที่ าการสารวจขนาด
ของแปลงตัวอยา่ งและข้อมูลทที่ าการสารวจแสดงรายละเอียดไวใ้ นตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มูลท่ีดาเนินการสารวจ
รัศมีของวงกลม หรือ จานวน พนื้ ท่ีหรอื ความยาว ข้อมูลท่สี ารวจ
ความยาว (เมตร)
0.631 4 วง 0.0005 เฮคแตร์ กล้าไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮคแตร์ ลูกไม้
12.62 1 วง 0.0500 เฮคแตร์ ไม้ไผ่ หวายท่ียังไม่เลื้อย และตอไม้
17.84 1 วง 0.1000 เฮคแตร์ ต้นไม้และตรวจสอบปจั จยั ที่รบกวนพื้นท่ีปา่
17.84 (เส้นตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวาย
เลอ้ื ย และไม้เถาที่พาดผ่าน
การวิเคราะหข์ อ้ มูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้
1. การคานวณเนื้อที่ปา่ และปรมิ าณไม้ท้งั หมดของแต่ละพนื้ ท่ีอนรุ ักษ์
1.1 ใช้ข้อมลู พืน้ ท่ีอนุรกั ษ์จากแผนทแ่ี นบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพื้นท่ีอนุรกั ษ์
1.2 ใช้สัดสว่ นจานวนแปลงตัวอยา่ งที่พบในแตล่ ะชนิดป่า เปรยี บเทยี บกับจานวนแปลง
ตัวอย่างท่ีวางแปลงท้ังหมดในแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ที่อาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่าย
ดาวเทียมหรือภาพถ่ายทางอากาศ มาคานวณเป็นเนื้อท่ีป่าแต่ละชนิดโดยนาแปลงตัวอย่างที่วางแผนไว้มา
คานวณทกุ แปลง
1.3 แปลงตัวอยา่ งท่ไี ม่สามารถดาเนินการได้ กต็ ้องนามาคานวณดว้ ย โดยทาการประเมนิ
ลกั ษณะพ้นื ท่ีวา่ เป็นหน้าผา นา้ ตกหรือพ้นื ทอี่ ืน่ ๆ เพือ่ ประกอบลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ
1.4 ปรมิ าณไมท้ ้งั หมดของพนื้ ทอ่ี นุรักษ์ เป็นการคานวณโดยใช้ขอ้ มูลเน้ือทข่ี องพน้ื ที่อนุรกั ษ์
จากแผนท่ีแนบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพื้นที่อนุรักษ์ ซ่ึงบางพื้นท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือที่คลาดเคลื่อนจาก
ขอ้ เทจ็ จริงและส่งผลตอ่ การคานวณปริมาณไม้ทั้งหมด ทาให้การคานวณปรมิ าณไม้เปน็ การประมาณเบื้องต้น
2. การคานวณปรมิ าตรไม้
สมการปริมาตรไมท้ ี่ใช้ในการประเมินการกักเกบ็ ธาตุคารบ์ อนในพ้นื ที่ป่าไม้ แบบวธิ ี Volume
Based Approach โดยแบ่งกลุ่มของชนิดไม้เป็นจานวน 7 กลมุ่ ดงั น้ี
2.1 กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จนั ทนก์ ะพอ้ สนสองใบ
สมการที่ได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2= 0.94, sample size = 188
19
2.2 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กระพ้ีจั่น กระพ้ีเขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรยี ง พะยูง
ชงิ ชัน กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ
สมการท่ีได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2= 0.91, sample size = 135
2.3 กลุ่มท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอ้าย กระบก
ตะคร้าตะครอ้ ตาเสือ คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลี่ยน มะฮอกกานี ขอี้ า้ ย ตะบนู ตะบัน รกั ต้ิว
สะแกแสง ป่เู จ้า และไม้สกลุ สา้ น เสลา อินทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการที่ได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2= 0.89, sample size = 186
2.4 กลุ่มท่ี 4 ไดแ้ ก่ กางขี้มอด คนู พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ
และสกุลขี้เหลก็
สมการที่ได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2= 0.90, sample size = 36
2.5 กลุ่มที่ 5 ได้แก่ สกุลประดู่ เตมิ
สมการที่ได้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2= 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ่ ที่ 6 ได้แก่ สัก ตีนนก ผ่าเสย้ี น หมากเล็กหมากนอ้ ย ไขเ่ น่า กระจบั เขา กาสามปกี ส
วอง
สมการที่ได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2= 0.94, sample size = 186
2.7 กลุ่มท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอ่ืนๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไม้ในสกลุ ปอ กอ่ เปลา้ เป็นตน้
สมการท่ีได้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2= 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คือ ปริมาตรส่วนลาต้นเมื่อตัดโค่นท่ีความสูงเหนือดิน (โคน) 10
เซนตเิ มตรถงึ ก่งิ แรกที่ทาเปน็ สินค้าได้ มหี น่วยเป็นลกู บาศก์เมตร
DBH มหี น่วยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. การวิเคาะห์ข้อมูลท่ัวไป
ข้อมูลทั่วไปที่นาไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีตั้ง ตาแหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ที่ทาการ
เก็บข้อมูล ความสูงจากระดับน้าทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ีจะใช้
ประกอบในการวิเคราะห์ประเมินผลร่วมกับข้อมูลด้านอ่ืนๆ เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในการ
สารวจทรพั ยากรป่าไม้ครงั้ ต่อไป
4. การวิเคราะห์ขอ้ มลู องคป์ ระกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปรมิ าตร
5. การวิเคราะห์ข้อมลู ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)
20
6. การวิเคราะห์ข้อมลู ชนิดและปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแนน่ ของไม้ไผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นตั้ง (จานวนตน้ )
7. การวิเคราะหข์ อ้ มูลสังคมพืช
โดยมรี ายละเอียดการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังนี้
7.1) ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density: D) คือ จานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธ์ุท่ี
ศกึ ษา ทีป่ รากฏในแปลงตัวอย่างต่อหน่วยพนื้ ที่ที่ทาการสารวจ
7.2) ความถ่ี D= คือ จานวนตน้ ของพืชชนิดนั้นท้ังหมด
(Frequency: F)
นั้นตอ่ จานวนแปลงทท่ี าการสารวจ อัตรพาน้ื ทรี่ท้อัง้ ยหลมดะขขอองแงปจลางตนัววอนยา่ แงทปที่ ลากงาตรัวสาอรยวจ่างท่ีปรากฏพันธ์ุไม้ชนิด
7.3) F= จานวนแปลงตัวอยา่ งทพ่ี บชนดิ ทกี่ าหนด × 100 Area: BA)
ความเด่น (Dominance: น้าตัด (Basal
Do)จาในชว้นคแวปลางมตัวเอดย่า่นงทด้งั ้หามนดทพ่ีส้ืนารวทจ่ีห
หมายถึง พื้นที่หน้าตัดของลาต้นของต้นไม้ท่ีวัดระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพื้นท่ีที่ทาการสารวจ
7.4) Do = พืน้ ที่หนา้ ตดั ท้งั หมดของพชื ชนดิ ท่ีกาหนด
ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์
(Reพlนื้ aทt่ทีivงั้ หeมดDขeองnแsปiลtงyต:ัวอRยD่าง)ทคส่ี าือรวจค่าความสัมพัทธ์ของความ
หนาแน่นของไม้ท่ตี ้องการต่อคา่ ความหนาแน่นของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ
7.5) RDA (R=elativeคFวคาrวมeาหมqนหuานแeานแnน่นcร่นวyขมอ:ขงอRพงFชืพช)ืชนทคดิ ุกนือช้นั นิดค่า×ควา1ม0ส0ัมพัทธ์ของความถี่ของ
ค่าความถ่ีสัมพัทธ์
ชนิดไมท้ ต่ี อ้ งการต่อค่าความถ่ีทัง้ หมดของไมท้ ุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ
7.6) RFA (=RelativeควDคาวมoาถmม่ี รถวi่ีขnมอขaงอพnงชื พcชืชeนทดิ:กุนRช้นั นDดิ o×) คือ1ค00่าความสัมพันธ์ของความเด่น
ค่าความเด่นสัมพัทธ์
ในรปู พ้ืนทีห่ น้าตดั ของไม้ชนดิ ท่ีกาหนดตอ่ ความเด่นรวมของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ
7.7) ค่าดัชนีควRาDมoสAาคัญขอ=งชนิดไมค้ วค(าวIมmาเมดเp่นดรoน่ วขrมอtขaงอพnงืชพcชืชeนทดิ กุ Vนชน้ัaนิดlu×e In1d0e0x: IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสัมพัทธ์ต่างๆ ของชนิดไม้ในสังคม ได้แก่ ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้าน
ความถ่ี และค่าความสัมพัทธด์ ้านความเด่น IVI = RDA + RFA + RDoA
8. วเิ คราะห์ขอ้ มูลความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยทาการวเิ คราะห์คา่ ต่างๆดงั นี้
8.1) ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏใน
สังคมและจานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
Diversity ตามวิธกี ารของ Kreb (1972) ซ่ึงมสี ตู รการคานวณดังตอ่ ไปน้ี
โดย H’ คือ คา่ ดัชนีความหHล′า=กช∑นดิ is=ข1อ(งpชนi)ิด(พlnนั ธp์ไุ iม)้
pi คอื สดั สว่ นระหว่างจานวนตน้ ไมช้ นดิ ท่ี i ตอ่ จานวนตน้ ไม้ทงั้ หมด
S คือ จานวนชนิดพันธุ์ไม้ทงั้ หมด
21
8.2) ความร่ารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหวา่ งจานวนชนิด
กบั จานวนต้นทงั้ หมดท่ที าการสารวจ ซ่ึงจะเพิ่มข้ึนเม่ือเพ่ิมพื้นที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ารวยท่ีนิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการคานวณ
ดังนี้
8.2.1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
8.2.2) Menhinick index (R2)
R2 = S/√n
เม่อื S คือ จานวนชนิดท้ังหมดในสังคม
n คือ จานวนตน้ ท้งั หมดที่สารวจพบ
8.3) ความสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า
ดชั นีความสมา่ เสมอจะมีค่ามากทีส่ ุดเมื่อทุกชนิดในสังคมมีจานวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซึ่งวธิ ีการท่ีนิยมใช้กันมาก
ในหมู่นักนิเวศวิทยา คือ วธิ ขี อง Pielou (1975) ซ่ึงมสี ูตรการคานวณดังน้ี
E = H/ ln(S)
= ln (N1)/ln (N0)
เมอ่ื H คอื คา่ ดัชนคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จานวนชนดิ ทั้งหมด (N0)
N1 คือ eH
9. การศกึ ษาคณุ ค่าทางนเิ วศวิทยา
เป็นคุณค่าท่ีป่ามีองค์ประกอบ และหน้าท่ีตามสภาพธรรมชาติ ปราศจากการรบกวนหรือมีการรบกวน
โดยเฉพาะจากมนุษยน์ ้อย ไม่ทาให้องค์ประกอบและหน้าท่ีเปลย่ี นไปจากเดิมหรือเลวลงกว่าเดิมซงึ่ การประเมิน
คณุ คา่ ทางนิเวศวทิ ยารวมท้งั พิจารณาจากปา่ ในพ้นื ท่ที ศี่ ึกษา แบง่ การพจิ ารณาดังน้ี
9.1) องค์ประกอบของปา่ (Structure) โดยพิจารณาจาก 4 ประเด็น ดังน้ี
1) ชนิด หมายถึง จานวนชนิดของปา่ และชนิดของไม้ที่พบในบรเิ วณพ้ืนที่ศึกษา โดย
อทุ ศิ กุฎอนิ ทร์ (2536) กล่าวว่า พ้ืนที่ใดก็ตามทีม่ ีความหลากหลายของชนิดพันธแ์ุ ละความมากมายของจานวน
ของส่งิ มีชีวิตถอื ว่าพนื้ ท่นี นั้ มคี วามหลากหลายทางชวี ภาพสูงและถือไดว้ า่ เปน็ พน้ื ที่ท่มี ีคุณคา่ ทางนิเวศสูงด้วย
2) ปรมิ าณ หมายถงึ ความมากมายในดา้ นจานวนของตน้ ไม้
3) สัดส่วน หมายถึง สัดส่วนของต้นไม้ขนาดตา่ งๆ ท่ีกระจายอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งใน
สภาพปกติสัดส่วนของไม้ขนาดใหญ่มีน้อยกว่าไม้ขนาดเล็ก ซ่ึงทาให้การทดแทนของป่าเป็นไปอย่างต่อเน่ือง
และรกั ษาสมดลุ ของป่าใหค้ งอยตู่ ลอดไป
4) การกระจาย หมายถึง การขยายหรือแพร่พันธ์ุของชนิดป่าและชนิดไม้ในบริเวณ
พ้ืนทศ่ี กึ ษา
9.2) หนา้ ที่ของป่า (Function)
หน้าท่ีของป่าไม้ที่สาคัญ คือ การเป็นผู้ผลิต (Producer) ในระบบนิเวศ โดยเป็น
ตัวกลางในการหมุนเวียนธาตุอาหารและถ่ายทอดพลังงานไปสู่ผู้บริโภคในระดับต่างๆ ป่าที่มีกระบวนการ
หมุนเวียนธาตอุ าหารและถา่ ยทอดพลังงานอยตู่ ลอดเวลาถือวา่ เป็นปา่ ท่ีมคี ุณค่าทางนเิ วศสูง
9.3) กจิ กรรมของมนษุ ย์
กิจกรรมของมนุษย์ท่ีมีผลกระทบต่อป่า ประกอบไปด้วย กิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริม
ความยั่งยนื ของปา่ เชน่ การฟน้ื ฟูสภาพป่า การปอ้ งกนั รักษาป่า การปลูกป่าทดแทน เปน็ ต้น กจิ กรรมใดๆ ท่ี
22
ช่วยสง่ เสรมิ ความยัง่ ยนื ใหก้ ับปา่ ถอื ว่าพ้นื ท่นี น้ั มีคุณคา่ ทางนิเวศสงู สว่ นกจิ กรรมทที่ าลายความยง่ั ยนื ของปา่
เช่น การบกุ รุกพื้นที่ป่า การตัดไมท้ าลายป่า เป็นต้น
9.4) คุณคา่ ของป่าในด้านการเป็นพนื้ ที่อนรุ ักษ์
คุณค่าดา้ นการเป็นพื้นที่อนุรักษ์ของพ้นื ทีล่ ุม่ น้า เป็นพ้ืนท่ีรวมและอนรุ กั ษพ์ ันธสุ์ ัตว์
ป่าและพันธ์ุไม้ป่าท่ีหายาก เป็นพื้นท่ีต้นน้าลาธารท่ีใช้อุปโภคและบริโภคของชุมชนในพื้นที่และบริเวณ
ข้างเคียง อกี ทง้ั ยังเปน็ แหล่งทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาตทิ ่ีสวยงาม
10. การประเมนิ สถานภาพทรพั ยากรป่าไม้
ผเู้ ชย่ี วชาญไดแ้ บ่งสถานภาพของระบบสิ่งแวดลอ้ มออกเปน็ 4 สถานภาพ ซง่ึ มีลกั ษณะดงั นี้
10.1) ระดับสมดุลธรรมชาติ (Nature) หมายถึง ทรัพยากรป่าไม้ไม่ถูกรบกวนจากปัจจัย
ตา่ งๆ มีองค์ประกอบหลากหลาย ทั้งชนิดและปรมิ าณในอัตราส่วนท่เี หมาะสม ซ่งึ สามารถทาหนา้ ที่ได้ปกติตาม
ธรรมชาติ
10.2) ระดับเตือนภัย (Warning) หมายถึง โครงสร้างและองค์ประกอบบางส่วนของ
ทรัพยากรป่าไม้ถูกรบกวน ทาให้การทาหน้าท่ีของระบบไม่สมบูรณ์ แต่สามารถกลับตัวฟ้ืนสู่สภาพเดิมได้ใน
เวลาไมน่ าน
10.3) ระดับเส่ียงภัย (Risky) หมายถึง มีการรบกวนโครงสร้าง และองค์ประกอบของ
ทรัพยากรป่าไม้ ทาให้บางสว่ นมจี านวนลดลง และมชี นิดอืน่ เขา้ มาทดแทน หรอื มบี างอย่างมีจานวนมากเกนิ ไป
ทาให้การทางานของระบบนิเวศในทรัพยากรป่าไม้เปลี่ยนไปจากเดิม ต้องใช้เวลานานมากกว่าจะกลับคืนสู่
สภาพเดมิ
10.4) ระดับวิกฤต (Crisis) หมายถึง ทรัพยากรป่าไม้ ถูกรบกวนทาให้โครงสร้างและ
องค์ประกอบบางชนิดเหลือน้อยหรือสูญพันธ์ุไปจากระบบหรือไม่ทาหน้าท่ีของตนเอง ทาให้การทางานของ
ระบบนิเวศไม่ครบวงจร หรือมีประสิทธิภาพลดลงแต่สามารถฟ้ืนกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติได้ โดยต้องใช้
เทคโนโลยีเข้าช่วยจงึ จะกลบั คนื สสู่ ภาพเดิมได้
23
ผลการสารวจและวิเคราะห์ข้อมลู ทรพั ยากรปา่
1. การวางแปลงตัวอย่าง ไม้ปา่ ไม้
จากผลการดาเนินการวางแปลงสารวจ เพื่อประเมนิ สถานภาพและศักยภาพของทรพั ยากรป่าไม้
ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึง โดยแบ่งพ้ืนที่ดาเนินการวางแปลงสารวจ ตามพื้นที่รับผิดชอบของสานัก
บริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 8 (ขอนแก่น) ซึ่งรับผิดชอบดาเนินการสารวจพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูกระดึง อาเภอภู
กระดึง จังหวดั เลย จานวนทัง้ สน้ิ 41 แปลง ดงั ภาพที่ 9-10
ภาพท่ี 9 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลักษณะภมู ิประเทศของอุทยานแหง่ ชาติภูกระดงึ
ภาพที่ 10 แปลงตวั อย่างท่ไี ดด้ าเนินการสารวจภาคสนามในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดึง
24
2. พนื้ ท่ปี า่ ไม้
จากการสารวจ พบว่า มชี นดิ ป่าหรือลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินอยู่ 9 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่าดิบแล้ง
ป่าดิบเขา ป่าสนเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าไผ่ พ้ืนที่เกษตรกรรม แหล่งน้า และทุ่งหญ้าธรรมชาติ
โดยป่าเบญจพรรณพบมากสุด จานวน 21 แปลง คิดเป็นพื้นท่ี 17,830.64 เฮคแตร์ หรือ 111,441.49 ไร่ คิด
เปน็ ร้อยละ 51.22 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมา คือ ป่าดิบเขา พบจานวน 5 แปลง คิดเป็นพน้ื ท่ี 4,245.39 เฮค
แตร์ หรอื 26,533.69 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 12.20 ของพืน้ ทีท่ ั้งหมด รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 2
ตารางท่ี 2 พื้นที่ป่าไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินในอุทยานแห่งชาติภูกระดึง
(Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน พ้ืนที่ รอ้ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮคแตร์ ของพื้นทีท่ ัง้ หมด
ป่าดบิ แล้ง (Dry Evergreen Forest) 33.96 21,226.95 3,396.31 9.76
ปา่ ดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 42.45 26,533.69 4,245.39 12.20
ป่าสนเขา (Pine Forest) 8.49 5,306.74 849.08 2.44
ปา่ เบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 178.31 111,441.49 17,830.64 51.22
ปา่ เต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) 33.96 21,226.95 3,396.31 9.76
ป่าไผ่ (Bamboo) 8.49 5,306.74 849.08 2.44
พื้นที่เกษตรกรรม (Agricultural Land) 8.49 5,306.74 849.08 2.44
แหลง่ น้า (Water Body) 8.49 5,306.74 849.08 2.44
ทงุ่ หญา้ ธรรมชาติ (Grassland) 25.47 15,920.21 2,547.23 7.32
รวม (Total) 348.12 217,576.25 34,812.20 100.00
หมายเหตุ : - การคานวณพ้ืนท่ีป่าไม้ของชนิดป่าแต่ละชนิด ใช้สัดส่วนของข้อมูลที่พบจากการสารวจภาคสนามใน ปี
พ.ศ. 2556 - ร้อยละของพื้นที่สารวจ คานวณจากข้อมลู แปลงท่ีสารวจพบ ซึ่งมีพื้นที่ดังตารางท่ี 2 - ร้อยละของพื้นที่ท้ังหมด
คานวณจากพ้นื ทแี่ นบท้ายกฤษฎีกาของอุทยานแหง่ ชาติภูกระดึง ซง่ึ มีพน้ื ทเ่ี ท่ากับ 348.12 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 217,576.25
ไร่
ภาพท่ี 11 พืน้ ที่ป่าไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ในพื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติภูก
25
ภาพท่ี 12 สภาพท่ัวไปของป่าดบิ แล้ง อุทยานแห่งชาติภูกระดงึ
26
ภาพท่ี 13 สภาพท่ัวไปของป่าดบิ เขา อุทยานแห่งชาติภูกระดงึ
27
ภาพที่ 14 สภาพท่วั ไปของปา่ สนเขา อุทยานแห่งชาติภูกระดึง
28
ภาพท่ี 15 สภาพท่ัวไปของป่าเบญจพรรณ อทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดึง
29
ภาพท่ี 16 สภาพท่ัวไปของป่าเตง็ รัง อทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดึง
30
ภาพที่ 17 สภาพทว่ั ไปของป่าไผ่ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง
31
ภาพท่ี 18 สภาพทวั่ ไปของพ้ืนทเ่ี กษตรกรรม อุทยานแหง่ ชาติภูกระดึง
32
ภาพท่ี 19 สภาพทวั่ ไปของพ้ืนทแ่ี หล่งนา้ อุทยานแหง่ ชาติภูกระดึง
33
ภาพที่ 20 สภาพท่วั ไปของพื้นทท่ี งุ่ หญ้าธรรมชาติ อทุ ยานแห่งชาติภูกระดึง
34
3. ปริมาณไม้
จากการวเิ คราะห์เกี่ยวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปรมิ าตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพ้นื ที่อุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดงึ จานวนท้ังสนิ้ 41 แปลง พบว่า
ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสารวจพบมีท้ังหมด 9 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าสน
เขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าไผ่ พ้ืนท่ีเกษตรกรรม แหล่งน้าและทุ่งหญ้าธรรมชาติ พบไม้ยืนต้นที่มีความสูง
มากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรอื เท่ากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป มีมากกว่า
180 ชนิด รวมจานวน 13,755,064 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 4,330,365.98 ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแน่น
ของตน้ ไมเ้ ฉล่ีย 63.22 ต้นต่อไร่ พบปรมิ าณไมม้ ากสดุ ในปา่ เบญจพรรณ จานวน 6,113,362 ต้น และรองลงมา
คือ ป่าดิบเขา พบจานวน 3,523,674 ต้น สาหรับปรมิ าตรไม้พบมากสุดในป่าเบญจพรรณ จานวน 2,531,401.39
ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าดิบเขา จานวน 739,059.61 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียดดังตารางท่ี 3 และ 4
ตามลาดบั
ตารางที่ 3 ปริมาณไมท้ ั้งหมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ ในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูกระดงึ
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน ปริมาณไมท้ ัง้ หมด
(Landuse Type) จานวนตน้ ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดิบแลง้ (Dry Evergreen Forest) 1,273,617 515,999.16
ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 3,523,674 739,059.61
ป่าสนเขา (Pine Forest) 186,797 33,830.67
ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous
Forest) 6,113,362 2,531,401.39
ป่าเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) 2,504,780 475,971.93
ปา่ ไผ่ (Bamboo) 33,963 17,236.28
พน้ื ที่เกษตรกรรม (Agricultural Land) 42,454 7,535.57
แหลง่ น้า (Water Body) 76,417 9,331.37
รวม (Total) 13,755,064 4,330,365.98
หมายเหตุ : ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินทเ่ี ปน็ แหลง่ น้า ประกอบด้วยส่วนท่เี ป็นแหลง่ น้าร้อยละ 80 ของพื้นท่ี
แปลงสารวจ และป่าสนเขาร้อยละ 20 ของแปลงสารวจ
35
ภาพท่ี 21 ปริมาณไมท้ ้ังหมด (ตน้ ) ที่พบในพน้ื ที่อุทยานแห่งชาติภกู ระดึง
ภาพท่ี 22 ปรมิ าตรไมท้ ั้งหมด (ลบ.ม.) ทีพ่ บในพื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดึง
36
ตารางท่ี 4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไม้ต่อหน่วยพ้นื ท่ีจาแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน
ในอุทยานแห่งชาตภิ ูกระดึง (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
ลบ.ม./เฮค
(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮคแตร์ ลบ.ม./ไร่ แตร์
ป่าดิบแลง้ (Dry Evergreen Forest) 60.00 375.00 24.31 151.93
ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 132.80 830.00 27.85 174.09
ป่าสนเขา (Pine Forest) 32.20 220.00 6.38 39.84
ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous
Forest) 54.86 342.86 22.72 141.97
ป่าเตง็ รัง (Dry Dipterocarp Forest) 118.00 737.50 22.42 140.14
ป่าไผ่ (Bamboo) 6.40 40.00 3.25 20.30
พ้ืนทเ่ี กษตรกรรม (Agricultural Land) 8.00 50.00 1.42 8.88
แหลง่ น้า (Water Body) 14.40 90.00 1.76 10.99
เฉลี่ย (Average) 63.22 395.12 19.90 124.39
ภาพท่ี 23 ความหนาแน่นตน้ ไม้ (ต้น/ไร)่ ในพนื้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภูกระดึง
37
ภาพที่ 24 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในพนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติภูกระดงึ
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทั้งหมดในอุทยานแห่งชาตภิ กู ระดงึ
ขนาดความโต (GBH) จานวนต้นเปน็ (ต้น) ร้อยละ (%)
15-45 ซม. 8,354,928 60.74
45-100 ซม. 3,905,759 28.40
>100 ซม. 1,494,377 10.86
รวม (Total) 13,755,064 100.00
ภาพที่ 25 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในพนื้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาตภิ กู ระดึง
38
4. ชนดิ พนั ธ์ุไม้
ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ท่ีสารวจพบในภาคสนาม จาแนกโดยใช้เจา้ หน้าที่ผเู้ ชยี่ วชาญทางดา้ นพันธ์ไุ ม้ ช่วยจาแนก
ชนิดพันธ์ไุ ม้ท่ีถูกต้อง และบางครั้งจาเป็นต้องใช้ราษฎรในพ้ืนท่ซี ึ่งมีความรู้ในชนิดพันธไุ์ ม้ประจาถิ่น ชว่ ยในการเก็บ
ข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ เพ่ือนามาให้ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธ์ุไม้ในสานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 8
(ขอนแก่น) เจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง และสานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ช่วย
จาแนกชื่อทางการและชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องอีกคร้ังหนึ่ง และชนิดพันธุ์ไม้ส่วนใหญ่ท่ีพบ มักจะเป็นพันธุ์ไม้
ที่รู้จักและคุ้นเคยสาหรับเจ้าหน้าที่ที่ทาการสารวจอยู่แล้ว โดยชนิดพันธุ์ไม้ที่พบทั้งหมดในแปลงสารวจ มี
มากกว่า 56 วงศ์ มากกว่า 180 ชนิด ปริมาณไม้รวม 13,755,064 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม
4,330,365.98 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 63.22 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 19.90 ลูกบาศก์
เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) ไทร (Ficus annulata) รัง (Shorea siamensis) แดง
(Xylia xylocarpa) ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) กระบก (Irvingia
malayana) มะกอก (Spondias pinnata) และ รกฟา้ (Terminalia alata) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 6
ป่าดิบแล้ง มีปริมาณไม้รวม 1,273,617 ต้น คดิ เปน็ ปริมาตรไม้รวม 515,999.16 ลกู บาศก์เมตร
มคี ่าความหนาแน่นเฉล่ีย 60.00 ต้นตอ่ ไร่ มปี ริมาตรไม้เฉล่ีย 24.31 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนดิ ไมท้ ี่มปี ริมาณไม้
มากที่สดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) ลาไยปา่ (Paranephelium xestophyllum)
ส้านห่ิง (Dillenia parviflora) สมอไทย (Terminalia chebula) ปอหู (Hibiscus macrophyllus) แหลบุก
(Phoebe lanceolata) มะแฟน (Protium serratum) ลาป้าง (Pterospermum diversifolium) ลาบิดดง
(Diospyros filipendula) และมะดกู (Siphonodon celastrineus) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 7
ปา่ ดบิ เขา มปี ริมาณไม้รวม 3,523,674 ตน้ คดิ เป็นปรมิ าตรไม้รวม 739,059.61 ลกู บาศกเ์ มตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 132.80 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 27.85 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณ
ไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) แหลบุ ก (Phoebe
lanceolata) ก่อหมวก (Quercus lineata) พะอง (Calophyllum dryobalanoides) มั งตาน (Schima
wallichii) แดงคลอง (Syzygium syzygioides) หว้า (Syzygium cumini) ดอกใต้ใบ (Lygodium foliosa)
กะอวม (Acronychia pedunculata) และเมย่ี งอาม (Camellia oleifera) รายละเอียดดังตารางที่ 8
ป่าสนเขา มีปริมาณไม้รวม 186,797 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 33,830.67 ลูกบาศก์เมตร มี
คา่ ความหนาแน่นเฉลี่ย 35.20 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 6.38 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีพบในป่าสน
เขา คือ สนสามใบ (Pinus kesiya) รายละเอียดดังตารางที่ 9
ป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 6,113,853 ต้น คิดเปน็ ปริมาตรไมร้ วม 2,531,401.39 ลูกบาศกเ์ มตร
มคี ่าความหนาแน่นเฉลยี่ 54.86 ตน้ ตอ่ ไร่ มปี ริมาตรไม้เฉล่ีย 22.72 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนดิ ไม้ทีม่ ปี รมิ าณไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ไทร (Ficus annulata)
แดง (Xylia xylocarpa) ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) กระบก (Irvingia malayana) มะกอก (Spondias
pinnata) รกฟ้า (Terminaliaalata) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) ตะคร้า (Garuga pinnata)
และประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รายละเอียดดังตารางที่ 10
ปา่ เตง็ รงั มีปริมาณไม้รวม 2,504,780 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 475,971.93 ลูกบาศกเ์ มตร
มคี ่าความหนาแน่นเฉลี่ย 118.00 ตน้ ต่อไร่ มปี ริมาตรไม้เฉลี่ย 22.42 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนดิ ไม้ที่มีปริมาณ
ไม้มากทส่ี ดุ 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtuse) กอ่ แพะ (Quercus
kerrii) มะเกลอื เลอื ด (Terminalia mucronata) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สะแกนา
39
(Combretum quadrangulare) เทพทาโร (Cinnamomum porrectum) ผ่าเส้ียน (Vitex canescens) กระทุ่ม
เนนิ (Mitragyna rotundifolia) และ สาธร (Millettia leucantha) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 11
ป่าไผ่ มีปริมาณไม้รวม 33,963 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 17,236.28 ลูกบาศก์เมตร มี
ค่าความหนาแนน่ เฉล่ีย 6.40 ตน้ ต่อไร่ มปี ริมาตรไม้เฉล่ีย 3.25 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนิดไม้ท่ีพบในป่าไผ่ คือ
มังตาน (Schima wallichii) และ ก่อหมวก (Quercus lineata) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 12
พื้นท่ีเกษตรกรรม มีปริมาณไมร้ วม 42,454 ตน้ คดิ เปน็ ปริมาตรไมร้ วม 7,535.57 ลูกบาศกเ์ มตร
มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 8.00 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 1.42 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีพบในพ้ืนที่
เกษตรกรรม คอื พุทรา (Ziziphus mauritiana) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 13
แหล่งน้า มีปริมาณไม้รวม 76,417 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 9,331.37 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉลี่ย 14.40 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 1.76 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีพบใกล้แหล่งน้า คือ
สนสองใบ (Pinus merkusii) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 14
ชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึง พบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 7 ชนิด ได้แก่
ไผ่บง (Bambusa nutans) ไผ่ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก
(Thyrsostachyssiamensis) ไผ่ป่า (Bambusa bambos) ไผ่ซอด (Gigantochloa cochinchinensis) ไผ่ซางนวล
(Dendrocalamus membranaceus) มีปริมาณไม้ไผ่จานวน 3,328,386 กอ รวมทั้งสิ้น 58,875,072 ลา
รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 15
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ ในอุทยานแห่งชาติภูกระดงึ พบว่ามีชนิดกล้าไมม้ ากกวา่ 46 ชนิด
รวมท้ังสิ้น 230,949,229 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 1,061.46 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ฉนวน (Dalbergia nigrescens) สาธร
(Millettia leucantha) โคล งเค ลง (Melastoma malabathricum) พ ลองใบ เล็ก (Memecylon
geddesianum) เสี้ ย ว ป่ า (Bauhinia saccocalyx) รั ง (Shorea siamensis) เก็ ด ด า (Dalbergia
assamica) เต็ง (Shorea obtuse) แหลบกุ ขน (Phoebe declinata) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 16
ชนิดและปริมาณของลูกไม้ ในอุทยานแห่งชาติภูกระดึง พบว่ามีชนิดของลูกไม้มากกว่า 62 ชนิด รวมท้ังส้ิน
55,529,704 ตน้ มีความหนาแน่นของลกู ไม้ 255.22 ต้นตอ่ ไร่ โดยชนิดไมท้ ี่มีปรมิ าณมากทีส่ ุด 10 อนั ดับแรก
ได้ แก่ ก ายาน (Styrax apricus) โค ล งเค ล ง (Melastoma malabathricum) พ ลั บ พ ล า (Microcos
tomentosa) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) พลองใบเล็ก (Memecylon geddesianum) แหลบุกขน
(Phoebe declinata) ข่อย (Streblus asper) แสมสาร (Senna garrettiana) กะอวม (Acronychia
pedunculata) และ สาธร (Acronychia pedunculata) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 17
ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ ในอุทยานแห่งชาตภิ ูกระดึง พบว่ามีชนิดของตอไม้มากกว่า 5 ชนิด
รวมทั้งสิ้น 236,695 ตอ มีความหนาแน่นของตอไม้ 1.25 ตอต่อไร่ โดยชนิดตอไม้ไม้ท่ีพบ ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) กายาน (Styrax apricus) เต็ง (Shorea obtusa) และสนสามใบ (Pinus kesiya)
รายละเอยี ดดังตารางท่ี 18
40
ตารางท่ี 6 ปริมาณไม้ทั้งหมดของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ กู ระดงึ (30 ชนดิ แรกท่ีมปี ริมาตรไมส้ งู สุด)
ลาดบั ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความ ปรมิ าตร
หนาแนน่ ไม้
(ลบ.ม./
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) ไร)่
1 ตะแบกเปลือก Lagerstroemia 271,705 366,065.57 1.25 1.68
บาง duperreana
Castanopsis
2 ก่อเดือย acuminatissima 551,901 268,174.51 2.54 1.23
3 รัง Shorea siamensis 611,336 172,513.98 2.81 0.79
4 แดง Xylia xylocarpa 441,521 130,690.09 2.03 0.60
5 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 144,343 122,775.84 0.66 0.56
6 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 42,454 116,006.14 0.20 0.53
7 กระบก Irvingia malayana 25,472 106,220.51 0.12 0.49
8 มะกอก Spondias pinnata 25,472 96,807.63 0.12 0.44
9 รกฟ้า Terminalia alata 118,871 92,635.26 0.55 0.43
10 แหลบกุ Phoebe lanceolata 76,417 88,111.38 0.35 0.40
Paranephelium
11 ลาไยปา่ xestophyllum 59,435 86,419.16 0.27 0.40
12 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 220,760 76,789.77 1.01 0.35
13 เตง็ Shorea obtuse 288,687 74,424.24 1.33 0.34
14 กอ่ หมวก Quercus lineata 42,454 67,618.88 0.20 0.31
15 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 271,705 66,629.70 1.25 0.31
16 สาธร Millettia leucantha 339,631 49,035.11 1.56 0.23
17 ตะครา้ Garuga pinnata 76,417 48,187.73 0.35 0.22
18 เมยี่ งอาม Camellia oleifera 127,362 47,480.44 0.59 0.22
19 งิ้วป่า Bombax anceps 101,889 45,356.90 0.47 0.21
20 ผ่าเส้ียน Vitex canescens 161,325 44,282.82 0.74 0.20
21 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 483,974 44,001.77 2.22 0.20
22 สมอพิเภก Terminalia bellirica 8,491 43,956.77 0.04 0.20
23 ตะครอ้ Schleichera oleosa 144,343 41,273.68 0.66 0.19
24 มังตาน Schima wallichii 246,233 40,491.68 1.13 0.19
25 กะอวม Acronychia pedunculata 636,809 40,411.87 2.93 0.19
26 กระพจ้ี นั่ Millettia brandisiana 178,306 37,227.83 0.82 0.17
27 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 314,159 36,100.25 1.44 0.17
28 กระทมุ่ เนิน Mitragyna rotundifolia 84,908 35,150.13 0.39 0.16
29 ซ้อ Gmelina arborea 50,945 34,239.92 0.23 0.16
30 ตนี นก Vitex pinnata 25,472 33,322.92 0.12 0.15
31 อ่นื ๆ Others 7,582,267 1,777,963.49 34.85 8.17
รวม 13,755,064 4,330,365.98 63.22 19.90
หมายเหตุ : มชี นิดพันธุ์ไม้ที่สารวจพบท้ังหมด 180 ชนดิ เมอื่ วิเคราะห์ผลปรากฏว่า ไทร (Ficus annulata) มี
ปริมาตร 213,068.49 ลกู บาศก์เมตร ความหนาแน่น 0.04 ต้นต่อไร่ คิดเป็น 0.98 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่
41
ตารางที่ 7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดบิ แล้งของอทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดงึ (30 ชนดิ แรกท่มี ปี ริมาตรไมส้ งู สุด)
ลาดบั ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณ ปริมาตรไม้ ความ ปริมาตรไม้
ไม้ หนาแน่น
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 42,454 116,006.14 2.00 5.47
Paranephelium
2 ลาไยป่า xestophyllum 59,435 86,419.16 2.80 4.07
3 ส้านหิง่ Dillenia parviflora 8,491 24,827.89 0.40 1.17
4 สมอไทย Terminalia chebula 8,491 18,769.72 0.40 0.88
5 ปอหู Hibiscus macrophyllus 33,963 11,462.55 1.60 0.54
6 แหลบุก Phoebe lanceolata 16,982 10,885.18 0.80 0.51
7 มะแฟน Protium serratum 33,963 9,612.41 1.60 0.45
Pterospermum
8 ลาป้าง diversifolium 25,472 8,461.91 1.20 0.40
9 ลาบดิ ดง Diospyros filipendula 33,963 8,385.49 1.60 0.40
10 มะดูก Siphonodon celastrineus 8,491 7,119.52 0.40 0.34
11 ยมหนิ Chukrasia tabularis 8,491 6,945.46 0.40 0.33
12 ตะไครต้ ้น Litsea cubeba 25,472 6,441.96 1.20 0.30
13 ยางโอน Polyalthia viridis 42,454 5,152.21 2.00 0.24
14 ส้านเหบ็ Saurauia roxburghii 8,491 5,080.88 0.40 0.24
15 หัวแหวน Vaccinium sprengelii 50,945 4,580.78 2.40 0.22
16 เหมอื ดปลาซิว Symplocos theifolia 8,491 4,376.15 0.40 0.21
17 พญารากดา Diospyros rubra 67,926 3,784.34 3.20 0.18
ตะแบกเปลอื ก Lagerstroemia
18 บาง duperreana 16,982 3,530.47 0.80 0.17
19 พลบั พลา Microcos tomentosa 8,491 3,335.18 0.40 0.16
20 ปอฝา้ ย Sterculia hypochra 8,491 2,703.46 0.40 0.13
21 เชียด Cinnamomum iners 33,963 2,313.74 1.60 0.11
22 กะอวม Acronychia pedunculata 33,963 1,726.18 1.60 0.08
23 เฉยี งพร้านางแอ Carallia brachiata 8,491 1,307.58 0.40 0.06
24 ม้นุ เขา Phoebe grandis 8,491 1,253.24 0.40 0.06
25 ปอต่อม Hibiscus glanduliferus 8,491 1,047.76 0.40 0.05
26 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 16,982 993.42 0.80 0.05
27 หวา้ หิน Syzygium claviflorum 8,491 953.51 0.40 0.04
28 กาลน Elaeocarpus floribundus 16,982 950.12 0.80 0.04
29 กาพ้ี Dalbergia ovate 16,982 917.85 0.80 0.04
30 หาด Artocarpus lacucha 16,982 675.87 0.80 0.03
31 อ่นื ๆ Others 585,864 155,979.03 27.60 7.35
รวม 1,273,617 515,999.16 60.00 24.31
หมายเหตุ : มชี นิดพันธไุ์ ม้ที่สารวจพบทัง้ หมด 48 ชนดิ
42
ตารางท่ี 8 ปริมาณไม้ในป่าดิบเขาของอุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดึง (30 ชนดิ แรกท่มี ีปริมาตรไมส้ งู สดุ )
ลาดั ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณ ปริมาตรไม้ ความ ปรมิ าตรไม้
บ ไม้ หนาแนน่
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 กอ่ เดอื ย Castanopsis 551,901 268,174.51 20.80 10.11
acuminatissima
2 แหลบกุ Phoebe lanceolata 25,472 76,833.92 0.96 2.90
3 กอ่ หมวก Quercus lineata 25,472 67,356.51 0.96 2.54
Calophyllum
4 พะอง dryobalanoides 25,472 29,246.49 0.96 1.10
5 มังตาน Schima wallichii 237,742 26,306.99 8.96 0.99
6 แดงคลอง Syzygium syzygioides 25,472 19,277.47 0.96 0.73
7 หวา้ Syzygium cumini 59,435 19,171.33 2.24 0.72
8 ดอกใตใ้ บ Lygodium foliosa 50,945 18,254.33 1.92 0.69
9 กะอวม Acronychia pedunculata 390,576 12,601.17 14.72 0.47
10 เมี่ยงอาม Camellia oleifera 118,871 11,876.05 4.48 0.45
11 ไครม้ ด Eurya nitida 348,122 11,832.75 13.12 0.45
12 เสมด็ ชุน Syzygium gratum 101,889 10,522.62 3.84 0.40
13 มนั ปลา Adinandra laotica 8,491 9,931.67 0.32 0.37
14 พญาไม้ Podocarpus neriifolius 8,491 9,395.90 0.32 0.37
15 ชมพู่น้า Syzygium siamense 93,399 9,235.42 3.52 0.35
16 กว่ มแดง Acer calcaratum 16,982 9,051.17 0.64 0.35
17 กระดกู ไก่ Euonymus javanicus 16,982 8,872.87 0.64 0.34
18 ซ้อ Gmelina arborea 33,963 7,946.52 1.28 0.33
19 ยางบง Persea kurzii 8,491 7,732.55 0.32 0.29
20 ก่อขาว Castanopsis argentea 76,417 5,399.29 2.88 0.20
21 เหมอื ดปลาซิว Symplocos theifolia 59,435 5,037.58 2.24 0.19
22 สารภปี ่า Anneslea fragrans 195,288 4,702.19 7.36 0.18
23 หูกวาง Terminalia catappa 16,982 4,511.15 0.64 0.17
24 กลว้ ยฤาษี Diospyros glandulosa 135,852 3,162.82 5.12 0.12
25 รามใหญ่ Ardisia elliptica 8,491 3,009.98 0.32 0.11
เฉยี งพร้านางแ
26 อ Carallia brachiata 42,454 2,501.38 1.60 0.09
27 มังคดุ ปา่ Garcinia costata 33,963 2,224.58 1.28 0.08
28 ก่อสรอ้ ย Carpinus viminea 8,491 1,602.21 0.32 0.06
29 สนสามใบ Pinus kesiya 33,963 1,524.94 1.28 0.06
30 กายาน Styrax apricus 16,982 1,160.69 0.64 0.04
31 อืน่ ๆ Others 747,189 68,645.41 28.16 2.59
รวม 3,523,674 739,059.61 132.80 27.85
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธไุ์ ม้ที่สารวจพบทงั้ หมด 44 ชนิด
43
ตารางท่ี 9 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ สนเขาของอุทยานแหง่ ชาติภกู ระดงึ
ลาดับ ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณ ปรมิ าตรไม้ ความ ปรมิ าตรไม้
ไม้ หนาแน่น
(ลบ.ม./ไร่)
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ 5.80
0.57
1 สนสามใบ Pinus kesiya 93,399 30,793.51 17.60 6.38
2 Unknown Unknown 93,399 3,037.15 17.60
รวม 186,797 33,830.67 35.20
44
ตารางที่ 10 ปริมาณไม้ในปา่ เบญจพรรณของอุทยานแห่งชาติภูกระดึง (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปรมิ าตรไม้สูงสดุ )
ลาดบั ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความ ปรมิ าตรไม้
หนาแนน่
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ตะแบกเปลอื ก Lagerstroemia 254,723 362,535.10 2.29 3.25
บาง duperreana
2 ไทร Ficus annulata 8,491 213,068.49 0.08 1.91
3 แดง Xylia xylocarpa 356,613 123,729.35 3.20 1.11
Hymenodictyon
4 สม้ กบ orixense 144,343 122,775.84 1.30 1.10
5 กระบก Irvingia malayana 16,982 105,831.64 0.15 0.95
6 มะกอก Spondias pinnata 25,472 96,807.63 0.23 0.87
7 รกฟา้ Terminalia alata 93,399 83,117.10 0.84 0.75
8 มะเกลอื เลือด Terminalia mucronata 135,852 50,830.06 1.22 0.46
9 ตะครา้ Garuga pinnata 76,417 48,187.73 0.69 0.43
Pterocarpus
10 ประดู่ macrocarpus 178,306 48,016.21 1.60 0.43
11 งิ้วปา่ Bombax anceps 101,889 45,356.90 0.91 0.41
12 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 483,974 44,001.77 4.34 0.39
13 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 8,491 43,956.77 0.08 0.39
14 ตะครอ้ Schleichera oleosa 135,852 41,165.85 1.22 0.37
15 สาธร Millettia leucantha 237,742 37,333.96 2.13 0.34
16 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 314,159 36,100.25 2.82 0.32
17 เม่ยี งอาม Camellia oleifera 8,491 35,604.39 0.08 0.32
18 กระพจี้ นั่ Millettia brandisiana 161,325 34,177.09 1.45 0.31
19 ตนี นก Vitex pinnata 25,472 33,322.92 0.23 0.30
Fernandoa
20 แคหางค่าง adenophylla 42,454 32,709.03 0.38 0.29
21 ตะแบกนา Lagerstroemia 93,399 32,686.96 0.84 0.29
floribunda
22 สะแกแสง Cananga latifolia 161,325 32,585.92 1.45 0.29
23 สา้ นใบใหญ่ Dillenia grandifolia 25,472 32,572.33 0.23 0.29
24 ผา่ เสย้ี น Vitex canescens 93,399 31,991.56 0.84 0.29
25 ปอเลยี งฝา้ ย Eriolaena candollei 135,852 31,397.21 1.22 0.28
26 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 42,454 27,677.40 0.38 0.25
27 กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrate 33,963 26,188.11 0.30 0.23
Acronychia
28 กะอวม pedunculata 212,270 26,084.53 1.90 0.23
29 หาด Artocarpus lacucha 16,982 25,121.67 0.15 0.23
30 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 8,491 24,540.90 0.08 0.22
31 อน่ื ๆ Others 2,479,308 601,926.71 22.25 5.40
รวม 6,113,362 2,531,401.39 54.86 22.72
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธไุ์ ม้ท่ีสารวจพบท้งั หมด 101 ชนดิ
45
ตารางท่ี 11 ปริมาณไม้ในป่าเต็งรงั ของอุทยานแห่งชาตภิ ูกระดึง (30 ชนดิ แรกท่มี ีปริมาตรไมส้ งู สุด)
ลาดบั ชนดิ พันธุไ์ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความ ปริมาตรไม้
หนาแน่น
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 รัง Shorea siamensis 611,336 172,513.98 28.80 8.13
2 เตง็ Shorea obtusa 288,687 74,424.24 13.60 3.51
3 ก่อแพะ Quercus kerrii 246,233 32,675.92 11.60 1.54
4 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 84,908 25,959.71 4.00 1.22
5 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 93,399 18,613.49 4.40 0.88
Combretum
6 สะแกนา quadrangulare 33,963 15,293.59 1.60 0.72
7 เทพทาโร Cinnamomum porrectum 8,491 14,409.70 0.40 0.68
8 ผ่าเสี้ยน Vitex canescens 67,926 12,291.25 3.20 0.58
9 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 76,417 11,975.40 3.60 0.56
10 สาธร Millettia leucantha 101,889 11,701.14 4.80 0.55
11 กระแจะ Naringi crenulata 25,472 11,026.13 1.20 0.52
12 รกฟา้ Terminalia alata 25,472 9,518.16 1.20 0.45
13 แดง Xylia xylocarpa 84,908 6,960.74 4.00 0.33
14 ขวา้ ว Haldina cordifolia 16,982 5,917.22 0.80 0.28
15 ยอปา่ Morinda coreia 76,417 4,900.88 3.60 0.23
16 ชงิ ชัน Dalbergia oliveri 8,491 4,630.87 0.40 0.22
Stereospermum
17 แคทราย neuranthum 8,491 4,251.33 0.40 0.20
18 หาด Artocarpus lacucha 8,491 3,054.98 0.40 0.14
19 กระพจ้ี ่ัน Millettia brandisiana 16,982 3,050.74 0.80 0.14
20 หมักมอ่ Rothmannia wittii 16,982 2,507.33 0.80 0.12
21 โลด Aporosa villosa 76,417 2,360.44 3.60 0.11
22 กระเชา Holoptelea integrifolia 67,926 1,890.90 3.20 0.09
23 ยอเถอ่ื น Morinda elliptica 59,435 1,791.55 2.80 0.08
24 เลยี งมนั Berrya cordifolia 8,491 1,421.36 0.40 0.07
25 ตับเต่าต้น Diospyros ehretioides 16,982 1,158.14 0.80 0.05
มะมว่ งหวั แมง
26 วัน Buchanania lanzan 33,963 989.18 1.60 0.05
27 ตมู กาขาว Strychnos nux-blanda 25,472 914.46 1.20 0.04
28 แสมสาร Senna garrettiana 25,472 813.42 1.20 0.04
29 เก็ดแดง Dalbergia dongnaiensis 16,982 737.85 0.80 0.03
30 เก็ดแดง Dalbergia dongnaiensis 50,945 684.36 0.80 0.03
31 อ่นื ๆ Others 220,760 17,533.46 12.80 0.83
รวม 2,504,780 475,971.93 118.00 22.42
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไุ์ มท้ ่ีสารวจพบท้งั หมด 45 ชนิด
46
ตารางท่ี 12 ปรมิ าณไม้ในป่าไผข่ องอุทยานแห่งชาติภกู ระดึง
ลาดับ ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณ ปริมาตรไม้ ความ ปริมาตรไม้
ไม้ หนาแนน่
(ลบ.ม./ไร)่
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ 2.67
0.05
1 มังตาน Schima wallichii 8,491 14,184.70 1.60 0.53
2 กอ่ หมวก Quercus lineata 16,982 262.37 3.20 3.25
3 Unknown Unknown 8,491 2,789.22 1.60
รวม 33,963 17,236.28 6.40
ตารางท่ี 13 ปรมิ าณไมใ้ นพื้นท่ีเกษตรกรรมของอทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดงึ
ลาดบั ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณ ปรมิ าตร ความ ปริมาตรไม้
ไม้ ไม้ หนาแน่น (ลบ.ม./ไร่)
1.42
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) 1.42
1 พุทรา Ziziphus 42,454 7,535.57 8.00
mauritiana
รวม 42,454 7,535.57 8.00
ตารางท่ี 14 ปรมิ าณไม้ในแหลง่ นา้ ของอุทยานแห่งชาตภิ กู ระดงึ
ลาดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณ ปรมิ าตร ความ ปรมิ าตรไม้
ไม้ ไม้ หนาแนน่
(ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
(ต้น) (ลบ.ม.) 4.80 1.39
9.60 0.37
1 สนสองใบ Pinus merkusii 25,472 7,357.26 14.40 1.76
2 Unknown Unknown 50,945 1,974.11
รวม 76,417 9,331.37
47
ตารางท่ี 15 ชนิดและปริมาณไมไ้ ผ่ หวาย และไมก้ อ ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาตภิ กู ระดงึ
ลาดบั ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ไผท่ ง้ั หมด
จานวนกอ จานวนลา
1 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 1,052,857 16,624,948
2 ไผ่ปา่ Bambusa bambos 458,502 12,990,894
Gigantochloa
3 ไผ่ซอด cochinchinensis 645,299 11,530,480
4 ไผไ่ ร่ Gigantochloa albociliata 611,336 8,270,020
5 ไผบ่ ง Bambusa nutans 203,779 3,956,704
Dendrocalamus
6 ไผซ่ างนวล membranaceus 288,687 2,818,939
7 ซาง Dendrocalamus strictus 67,926 2,683,087
รวม 3,328,386 58,875,072
48
ตารางท่ี 16 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูกระดงึ
ลาดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณกล้าไม้ทัง้ หมด ความหนาแนน่
จานวน
(ต้น) (ต้น/ไร่)
1 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 47,548,371 218.54
2 ฉนวน Dalbergia nigrescens 20,377,873 93.66
3 สาธร Millettia leucantha 13,585,249 62.44
Melastoma
4 โคลงเคลง malabathricum 8,490,780 39.02
5 พลองใบเล็ก Memecylon geddesianum 8,490,780 39.02
6 เสีย้ ว Desmodium renifolium 6,792,624 31.22
7 รงั Shorea siamensis 6,792,624 31.22
8 เก็ดดา Dalbergia assamica 5,094,468 23.41
9 เต็ง Shorea obtusa 5,094,468 23.41
10 แหลบุกขน Phoebe declinata 5,094,468 23.41
11 กราวเครอื Millettia extensa 5,094,468 23.41
12 ข้ีอน้ Helicteres elongata 5,094,468 23.41
13 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 5,094,468 23.41
14 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 5,094,468 23.41
15 พลับพลา Microcos tomentosa 5,094,468 23.41
16 เปลา้ นอ้ ย Croton longissimus 3,396,312 15.61
17 กระบก Irvingia malayana 3,396,312 15.61
18 ขอ่ ย Streblus asper 3,396,312 15.61
19 ข้หี นอน Schoepfia fragrans 3,396,312 15.61
20 งิว้ ปา่ Bombax anceps 3,396,312 15.61
21 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri 3,396,312 15.61
22 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 3,396,312 15.61
23 ตะครอ้ Schleichera oleosa 3,396,312 15.61
24 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 3,396,312 15.61
25 มะกอก Spondias pinnata 3,396,312 15.61
26 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 3,396,312 15.61
27 เชยี ด Cinnamomum iners 1,698,156 7.80
28 เพย้ี ฟาน Clausena wallichii 1,698,156 7.80
29 เลอื ดแรด Knema globularia 1,698,156 7.80
30 เสมด็ ชนุ Syzygium gratum 1,698,156 7.80
31 อ่นื ๆ Others 33,963,122 156.10
รวม 230,949,229 1,061.46
หมายเหตุ : มีชนิดพันธไ์ุ มท้ สี่ ารวจพบท้ังหมด 47 ชนิด
49
ตารางท่ี 17 ชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ทีพ่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ กู ระดึง
ลาดับ ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ปริมาณลกู ไมท้ งั้ หมด ความหนาแนน่
จานวน
(ต้น/ไร่)
(ต้น) 46.83
21.85
1 กายาน Styrax apricus 10,188,937 11.71
2 โคลงเคลง Melastoma malabathricum 4,754,837 10.15
3 พลบั พลา Microcos tomentosa 2,547,234 8.59
4 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 2,207,603 8.59
5 พลองใบเลก็ Memecylon geddesianum 1,867,972 7.80
6 แหลบกุ ขน Phoebe declinata 1,867,972 7.02
7 ขอ่ ย Streblus asper 1,698,156 7.02
8 แสมสาร Senna garrettiana 1,528,340 6.24
9 กะอวม Acronychia pedunculata 1,528,340 6.24
10 สาธร Acronychia pedunculata 1,358,525 6.24
11 ชมพนู่ ้า Syzygium siamense 1,358,525 6.24
12 เปลา้ นอ้ ย Croton longissimus 1,358,525 6.24
13 เหมอื ดปลาซิว Symplocos theifolia 1,358,525 5.46
14 ก่วมแดง Acer calcaratum 1,358,525 4.68
15 ต้วิ ขน Cratoxylum formosum 1,188,709 3.90
16 กอ่ หมวก Quercus lineata 1,018,894
17 แดง Xylia xylocarpa 849,078 3.90
ตะแบกเปลอื ก
18 บาง Lagerstroemia duperreana 849,078 3.90
3.90
19 ลาไยป่า Paranephelium xestophyllum 849,078 3.12
20 เชยี ด Cinnamomum iners 849,078 3.12
21 กอ้ ม Ehretia laevis Roxb 679,262 3.12
22 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 679,262 3.12
23 เม็ก Macaranga tanarius 679,262 3.12
24 แดงดง Syzygium syzygioides 679,262 3.12
25 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 679,262 2.34
26 สนสามใบ Pinus kesiya 679,262 2.34
27 เสย้ี ว Bauhinia saccocalyx 509,447 2.34
28 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 509,447 2.34
29 ตะแบกเลอื ด Terminalia mucronata 509,447 40.59
30 มะดกู Siphonodon celastrineus 509,447 255.22
31 อื่นๆ Others 8,830,412
รวม 55,529,704
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไ์ุ มท้ ่ีสารวจพบทงั้ หมด 62 ชนิด
50
ตารางท่ี 18 ชนดิ และปริมาณของตอไม้ (Stump) ที่พบในอุทยานแหง่ ชาตภิ กู ระดึง
ลาดบั ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณตอไม้ท้ังหมด ความหนาแน่น
จานวน
(ตอ) (ตอ/ไร่)
1 รัง Shorea siamensis 162,728 0.86
2 กายาน Styrax apricus 14,793 0.08
3 เต็ง Shorea obtusa 14,793 0.08
4 สนสามใบ Pinus kesiya 14,793 0.08
5 Unknown Unknown 29,587 0.16
รวม 236,695 1.25
5. สงั คมพชื
จากผลการสารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติภูกระดึง พบว่า มี
สงั คมพืช 9 ประเภท คอื ป่าดิบแลง้ ป่าดิบเขา ปา่ เบญจพรรณ ปา่ เตง็ รัง ป่าสนเขา ปา่ ไผ่ พื้นที่เกษตรกรรม
แหล่งน้า และทุ่งหญ้าธรรมชาติ และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชพบความหนาแน่นของพรรณพืช
(Density) ความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสาคัญของพรรณไม้ (IVI) ในพื้นท่ี
อุทยานแห่งชาติภูกระดึง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบก
เป ลื อ ก บ า ง (Lagerstroemia duperreana) แ ด ง (Xylia xylocarpa) ก่ อ เดื อ ย ( Castanopsis
acuminatissima) รัง (Shorea siamensis) กะอวม (Acronychia pedunculata) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) สาธร (Millettia leucantha)เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) มะเกลือเลือด (Terminalia
mucronata) และตว้ิ ขน (Cratoxylum formosum) ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 19
ในพื้นที่ป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับ
แรก ได้แก่ ลาไยป่า (Paranephelium xestophyllum) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) ปอหู
(Hibiscus macrophyllus) พญารากดา (Diospyros rubra) ยางโอน (Polyalthia viridis) ส้านหิ่ง (Dillenia
parviflora) แหลบุกขน (Phoebe lanceolata) หัวแหวน (Vaccinium sprengelii) มะแฟน (Protium
serratum) และสมอไทย (Terminalia chebula) ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 20
ในพ้ืนท่ีป่าดิบเขา มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) กะอวม (Acronychia pedunculata) ไคร้มด (Eurya
nitida) มังตาน (Schima wallichii) เม่ียงอาม (Camellia oleifera) แหลบุกขน (Phoebe declinata)
ก่อหมวก (Quercus lineata) สารภีป่า (Anneslea fragrans) เสม็ดชุน (Syzygium gratum) และกล้วยฤาษี
(Diospyros glandulosa) ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 21
ในพ้ืนท่ีป่าสนเขา มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) คือ สนสามใบ (Pinus
kesiya) ดังรายละเอียดในตารางท่ี 22
ในพื้นท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) แดง (Xylia xylocarpa) เปล้าใหญ่ (Croton
roxburghii) ติว้ ขน (Cratoxylum formosum) สาธร (Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus