The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kph.wanwisa, 2020-11-05 01:21:42

อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง

อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง

รายงานการสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม

อทุ ยานแหง ชาตหิ วยนาํ้ ดัง จังหวัดเชยี งใหม

กลมุ งานวชิ าการ สํานกั บริหารพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษท ี่ 16 (เชียงใหม)

สวนสาํ รวจและวิเคราะหท รพั ยากรปาไม
สาํ นักฟน ฟูและพัฒนาพ้ืนที่ปา อนรุ กั ษ
กรมอุทยานแหงชาติ สตั วป า และพันธุพ ชื

พ.ศ. 2560



บทสรุปสาํ หรบั ผบู รหิ าร

ตามแผนแมบทการพิทักษทรัพยากรปาไมของชาติประเทศไทยมีพื้นท่ีรวมทั้งประเทศประมาณ 320
ลานไร ในป พ.ศ. 2552 ลดลงเหลือประมาณ 107 ลา นไร ประมาณรอยละ 33.44 ของพื้นทป่ี ระเทศ และในป
พ.ศ. 2556 ลดลงเหลือ 102.1 ลานไร หรือมีพ้ืนที่ปาไมเหลืออยูเพียงรอยละ 31.57 ของพ้ืนท่ีประเทศสาเหตุ
ของการลดลงของพน้ื ท่ีปา ไม เกิดจากปจ จัยหลายประการ เชน การบกุ รุกเพอ่ื ขยายพนื้ ทีท่ างการเกษตร การบุก
รุกจับจองของนายทุน การออกโฉนดที่ดินหรือ เอกสารสิทธ์ทิ ี่ไมถูกตอง ฯลฯ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรปาไม
จึงเปนอีกทางหนึ่งท่ีทําใหทราบถึงสถานภาพ และศักยภาพของทรัพยากร เพ่ือนํามาใชในการดําเนินการตามภาระ
รบั ผดิ ชอบตอ ไป ซึง่ กรมอทุ ยานแหงชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ชื ไดด ําเนนิ การมาอยางตอ เนื่อง

ปงบประมาณ พ.ศ. 2556-2558 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดสรรงบประมาณในการ
ดําเนินการสํารวจทรัพยากรปาไม ในพื้นที่เปาหมายอุทยานแหงชาติหวยนํ้าดัง โดยมีเนื้อที่ 782,575 ไร
หรือประมาณ 1,252.12 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ปาอนุรักษ ในทองที่อําเภอแมแตง อําเภอเวียงแหง
อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม และอําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน โดยกลุมงานวิชาการ สํานักบริหารพื้นที่
อนุรักษท่ี 16 (เชียงใหม) และสวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปาไม สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ
ไดรวมกันดาํ เนินการเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐานดานทรัพยากรปาไม จาํ นวน 155 แปลง เพอ่ื ใหไดขอมูลท่ีสามารถ
นําไปใชในการประเมินมูลคาทั้งทางดานเศรษฐกิจและส่ิงแวดลอม ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังใชใน
การประเมินสถานภาพ และศักยภาพของปา ทรัพยากรปาไม และทรัพยากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อเปนขอมูล
พื้นฐานในการดําเนินการ ในภารกิจตาง ๆ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ตอไป สําหรับการ
วางแปลงตัวอยางถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซอนกัน คือ วงกลมรัศมี
3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ และมีวงกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยูตามทศิ หลักทง้ั 4 ทศิ

ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข อมลู พบวา มลี ักษณะการใชประโยชนทด่ี นิ ท่สี ํารวจพบ 6 ประเภท ไดแก
ปาดิบแลง ปาดิบเขา ปาสนเขา ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และพืชท่ีอื่น ๆ โดยปาดิบเขาพบมากที่สุด จํานวน 53
แปลง จํานวน 267,590.16 ไร คดิ เปนรอ ยละ 34.19 ของพ้ืนทส่ี ํารวจ รองลงมา คือ ปาเบญจพรรณ พบจํานวน 47
แปลง จํานวน 237,296.94 ไร คิดเปนรอยละ 30.32 ของพ้ืนที่สํารวจ พบไมยืนตน (Trees) ในแปลงสํารวจ
ทง้ั หมด มี 77 วงศ 221 สกลุ 419 ชนดิ รวมจํานวน 10,583 ตน ซง่ึ เมือ่ เรียงลําดับจากจํานวนตนท่ีพบมากสุดไปหา
นอยสุด 10 อันดับแรก คือ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) รัง (Shorea siamensis) กอเดือย (Castanopsis
acuminatissima) มังตาน (Schima wallichii) เต็ง (Shorea obtusa) กอหรั่ง (Castanopsis armata) สนสองใบ
(Pinus merkusii) สนสามใบ (Pinus kesiya) กอตาควาย (Quercus brandisiana) และ คาหด (Engelhardtia
spicata) ตามลําดับ

กลาไม (Seedling) ที่สํารวจพบในพ้ืนที่อุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง จํานวน 176 ชนิด รวมท้ังสิ้น
42,313,578 ตน มีความหนาแนนของกลาไม 54.07 ตนตอไร โดยชนิดไมที่มีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ไดแ ก เต็ง (Shorea obtusa) กาว (Tristaniopsis burmanica) กอเดือย (Castanopsis acuminatissima)
ขวาว (Haldina cordifolia) หวั แหวน (Vaccinium sprengelii) รัง (Shorea siamensis) พะยงู (Dalbergia
cochinchinensis) ตาฉีเ่ คย (Craibiodendron stellatum) ขาวสารปา (Pavetta tomentosa) และ กอ แพะ
(Quercus kerrii) ตามลาํ ดับ

ลูกไม (Sapling) ที่พบในอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง มีจํานวน 189 ชนิด รวมท้ังส้ิน 154,293,497 ตน มี
ความหนาแนนของลูกไม 197.16 ตนตอไร โดยชนิดไมที่มีปริมาณลูกไมมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ไดแก พลวง
(Dipterocarpus tuberculatus) กํายาน (Styrax benzoides) สานเห็บ (Saurauia roxburghii) กอเดือย
(Castanopsis acuminatissima) ลําดวนดง (Mitrephora thorelii) เต็ง (Shorea obtusa) พญารากดํา
(Diospyros variegata) แดง (Xylia xylocarpa) อูน (Viburnum sambucinum) และ แหลบุก (Phoebe
lanceolata) ตามลําดับ

ไมไผ ท่ีสํารวจพบในพื้นที่อุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง มี 5 ชนิด คือ ไผซาง (Dendrocalamus
strictus) ไผไร (Gigantochloa albociliata) ไผบง (Bambusa nutans) ไผซางนวล (Dendrocalamus
membranaceus) ไผหอม (Bambusa polymorpha) และมปี รมิ าณไมไผจํานวน 7,044,185 กอ รวมทง้ั ส้ิน
76,193,522 ลํา ความหนาแนน 9.00 กอตอ ไร และ 97.36 ลาํ ตอไร ตามลําดับ

ผลการวิเคราะหขอมูลสังคมพืช พบวาชนิดไมที่มีในอุทยานแหงชาติหวยนํ้าดัง มีชนิดไมที่มีคาดัชนี
ความสําคัญของชนิดไม (IVI) สูงสดุ 10 อันดบั แรก ไดแก พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) เตง็ (Shorea
obtuse) รัง (Shorea siamensis) มังตาน (Schima wallichii) กอเดือย (Castanopsis acuminatissima)
กอตาควาย (Quercus brandisiana) กอหรั่ง (Castanopsis armata) แขงกวาง (Wendlandia tinctoria)
กํายาน (Styrax benzoides) และสนสามใบ (Pinus kesiya) ตามลําดับ

สวนขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งประกอบดวย คาความหลากหลายของชนิดพันธุ (Species
Diversity) พบวาปาดิบเขามีคามากท่ีสุด คือ 4.80 รองลงมา คือ ปาเบญจพรรณ 4.69 คาความมากมายของ
ชนิดพันธุ (Species Richness) พบวาปาดิบเขามีคามากท่ีสุด คือ 33.52 รองลงมา คือ ปาเบญจพรรณ 32.48
และคา ความสม่าํ เสมอของชนิดพันธุ (Species Evenness) พบวาพื้นท่อี ืน่ ๆ มีคามากทีส่ ุด คือ 0.93 รองลงมา
คอื ปาดิบแลง 0.91

ผลการวิเคราะหขอมูลโครงสรางปาในทุกชนิดปาหรือทุกลักษณะการใชประโยชนที่ดิน พบวา เปนไม
ยืนตนขนาดเสนรอบวงเพียงอก (GBH) ระหวาง 15-45 เซนติเมตร มีจํานวน 54,624,745 ตน คิดเปนรอยละ
63.89 ของปริมาณไมทัง้ หมด ไมย นื ตนท่มี ขี นาดเสนรอบวงเพียงอก (GBH) ระหวา ง > 45-100 เซนตเิ มตร มีจาํ นวน
23,249,041 ตน คิดเปนรอยละ 27.19 ของปริมาณไมท้ังหมด และไมยืนตนท่ีมีขนาดเสนรอบวงเพียงอก
(GBH) มากกวา 100 เซนติเมตรขึน้ ไป จาํ นวน 7,617,737 ตน คิดเปนรอยละ 8.91 ของปริมาณไมท ั้งหมด

จากผลการดําเนินงานดังกลาว ทําใหทราบขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรปาไม โดยเฉพาะดาน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธุพืชในพื้นที่ตาง ๆ ของอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง อีกทั้งยังเปน
แนวทางในการสํารวจทรัพยากรปาไม เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะหขอมูลอยางเปน
ระบบ และแบบแผน เพื่อนําไปใชในการติดตาม และประเมินการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรปาไมในพื้นท่ี
อุทยานแหงชาติหวยนํา้ ดังตอไป

สสาารรบบญััญ i

เรอ่ื ง หนา

สารบัญ i
สารบัญตาราง iii
สารบัญภาพ v
คาํ นาํ 1
วตั ถุประสงค 2
เปาหมายการดําเนินงาน 2
ขอ มูลทั่วไปอทุ ยานแหง ชาติหว ยนา้ํ ดงั 2
2
ประวัตคิ วามเปน มา 4
ทต่ี ัง้ และอาณาเขต 5
การเดนิ ทางและเสนทางคมนาคม 6
ลกั ษณะภูมิประเทศ 7
ลักษณะภมู ิอากาศ 8
พชื พรรณและสัตวปา 8
จุดทน่ี าสนใจ 9
รูปแบบและวิธีการสาํ รวจทรัพยากรปาไม 9
การสมุ ตัวอยาง (Sampling Design) 10
รปู รางและขนาดของแปลงตัวอยาง (Plot Design) 10
ขนาดของแปลงตัวอยา งและขอมลู ท่ที ําการสาํ รวจ 11
การวเิ คราะหขอมลู การสาํ รวจทรัพยากรปา ไม 11
1. การคํานวณเนื้อท่ปี า และปรมิ าณไมท งั้ หมดของแตละพ้นื ่ีอนุรักษ 11
2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม 12
3. ขอ มูลท่วั ไป 12
4. การวเิ คราะหข อมลู องคประกอบของหมูไม 12
5. การวิเคราะหขอมูลชนดิ และปริมาณของลกู ไม (Sapling) และกลา ไม (Seedling) 12
6. การวิเคราะหขอมูลชนดิ และปริมาณของไมไ ผ หวาย 12
7. การวิเคราะหขอมูลสังคมพืช 13
8. วเิ คราะหข อมูลเก่ียวกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ 14
9. ศกึ ษาคุณคา ทางนิเวศวิทยา 15
10. การประเมนิ สถานภาพทรพั ยากรปาไม 16
ผลการสาํ รวจและวิเคราะหขอ มูลทรัพยากรปาไม 16
1. แปลงตัวอยาง

สสาารรบบญััญ ((ตตออ)) ii

2. พืน้ ท่ีป่าไม้ 17
3. ปรมิ าณไม้ 21
4. ชนิดพนั ธุไ์ ม้ 26
5. ขอ้ มลู สงั คมพืช 39
6. ขอ มลู เกยี่ วกับความหลากหลายทางชวี ภาพ 48
สรผุ ลการสาํ รวจและวเิ คราะหข อมูลทรัพยากรปาไม 48
1. การวิเคราะหข อมูลท่วั ไป 49
2. การวเิ คราะหขอมลู เกยี่ วกับชนดิ ไมแ ละปริมาณไมย นื ตน (Trees) 49
3. การวเิ คราะหข อมลู เกีย่ วกับชนิดไมและปริมาณไมยนื ตน (Trees) 49
4. ขอ มลู สงั คมพืช 51
5. การวเิ คราะหขอมลู เก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ 53
6. ลกั ษณะโครงสรา งปา 53
7. การวิเคราะหขอมลู เกีย่ วกับผลกระทบที่เกดิ ขึน้ ในแปลงตัวอยา ง 53
ปญ หาและอุปสรรค 53
ขอ เสนอแนะ 54
ภาคผนวก 55

iii

สสาารรบบญัญั ตตาารราางง

ตารางท่ี หนา

1 ขนาดของแปลงตัวอยางและขอมูลที่ดําเนินการสาํ รวจ 11

2 พ้ืนที่ปาไมจําแนกตามลักษณะการใชประโยชนท่ีดินอุทยานแหงชาติหวยนํ้าดัง (Area by 18

Landuse Type)

3 ปริมาณไมท ั้งหมดจําแนกตามลักษณะการใชประโยชนท่ดี ินในเนื้อที่อุทยานแหงชาติหว ยนํ้าดัง 22

(Volume by Landuse Type)

4 ความหนาแนนและปริมาตรไมตอหนวยพื้นท่ีจําแนกตามลักษณะการใชประโยชนท่ีดินใน

อทุ ยานแหงชาตหิ ว ยนํ้าดัง (Density and Volume per Area by Landuse Type) 23

5 การกระจายขนาดความโตของไมท ัง้ หมดในอุทยานแหง ชาติหวยนํา้ ดัง 24

6 ปรมิ าณไมท ัง้ หมดของอทุ ยานแหง ชาตหิ ว ยนา้ํ ดงั (30 ชนิดแรกทีม่ ปี รมิ าตรไมสงู สุด) 29

7 ปรมิ าณไมในปาดบิ แลง ของอทุ ยานแหงชาตหิ วยน้ําดงั (30 ชนดิ แรกท่มี ีปรมิ าตรไมส ูงสุด) 30

8 ปรมิ าณไมใ นปา ดิบเขาของอทุ ยานแหง ชาตหิ ว ยน้ําดัง (30 ชนดิ แรกทีม่ ีปริมาตรไมสงู สดุ ) 31

9 ปรมิ าณไมใ นปาสนเขาของอุทยานแหง ชาติหว ยน้ําดัง (30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าตรไมสูงสดุ ) 32

10 ปรมิ าณไมใ นปา เบญจพรรณของอทุ ยานแหงชาตหิ วยน้ําดงั (30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าตรไมสงู สดุ ) 33

11 ปรมิ าณไมในปา เต็งรังของอทุ ยานแหง ชาตหิ วยนา้ํ ดัง (30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าตรไมส ูงสดุ ) 34

12 ปรมิ าณไมใ นพนื้ ทีอ่ ืน่ ๆ ของอุทยานแหง ชาติหวยนํา้ ดงั 35

13 ชนิดและปริมาณของกลาไม (Seedling) ที่พบในอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง (30 ชนิดแรกที่มี

ปรมิ าณกลา ไมสงู สุด) 36

14 ชนิดและปริมาณของลูกไม (Sapling) ที่พบในอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง (30 ชนิดแรกท่ีมี

ปรมิ าณกลา ไมส งู สดุ ) 37

15 ชนดิ และปริมาณของไมไผท ่ีพบในอุทยานแหง ชาตหิ วยน้ําดงั 38

16 ชนดิ และปริมาณของตอไมท้งั หมดในอทุ ยานแหงชาตหิ วยนํ้าดัง 38

17 ดชั นีความสาํ คัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของอุทยานแหง ชาตหิ วยนํ้าดัง

(20 อันดบั แรก) 41

18 ดัชนีความสําคัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของปาดิบแลงในอุทยาน

แหง ชาติหว ยนํ้าดงั (20 อันดับแรก) 42

19 ดัชนีความสําคัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของปาดิบเขาในอุทยาน

แหง ชาตหิ ว ยน้าํ ดงั (20 อันดบั แรก) 43

20 ดัชนีความสําคัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของปาสนเขาในอุทยาน

แหงชาตหิ วยนาํ้ ดัง (20 อันดับแรก) 44

21 ดัชนีความสําคัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของปาเบญจพรรณในอุทยาน 45

แหงชาตหิ วยน้าํ ดัง (20 อนั ดับแรก)

สารบัญตาราง (ตอ ) iv

ตารางท่ี หนา

22 ดัชนคี วามสําคญั ของชนิดไม (Importance Value Index : IVI) ของปา เตง็ รังในอุทยาน 46
แหงชาติหว ยนาํ้ ดัง (20 อนั ดับแรก) 47
48
23 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม (Importance Value Index : IVI) ของพนื้ ที่อ่นื ๆ ในอุทยาน
แหง ชาติหวยนํ้าดงั (20 อันดับแรก)

24 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธไุ มอุทยานแหง ชาติหว ยน้าํ ดัง

สารบัญรูปภาพ v

ภาพที่ หนา

1 แสดงที่ต้ังและอาณาเขตของอุทยานแหง ชาตหิ วยนํ้าดัง 5
2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของอุทยานแหงชาตหิ ว ยนาํ้ ดงั 6
3 ดอยชา ง ยอดเขาสงู ทส่ี ุดในอุทยานแหง ชาตหิ วยน้าํ ดงั 7
4 ลกั ษณะและขนาดแลงตวั อยาง 10
5 แผนที่แสดงขอบเขตและลักษณะภูมิประเทศของอุทยานแหงชาติหว ยนา้ํ ดงั 16
6 แปลงตัวอยางท่ีไดดําเนนิ การสาํ รวจภาคสนามในอุทยานแหง ชาติหวยน้ําดัง 17
7 พื้นที่ปาไมจ ําแนกตามลักษณะการใชประโยชนท ีด่ นิ ในอุทยานแหง ชาตหิ ว ยนาํ้ ดัง 18
8 ลกั ษณะทว่ั ไปของปาดิบแลง ในพนื้ ที่อทยานแหง ชาตหิ ว ยน้ําดงั 19
9 ลักษณะท่ัวไปของปาดิบเขาในพน้ื ท่ีอทยานแหง ชาตหิ ว ยน้ําดงั 19
10 ลกั ษณะท่ัวไปของปา สนเขาในพืน้ ที่อทยานแหง ชาตหิ วยนํ้าดงั 20
11 ลักษณะทวั่ ไปของปาสนเขาในพนื้ ที่อทยานแหงชาตหิ วยนํ้าดงั 20
12 ลกั ษณะทว่ั ไปของปาเต็งรังในพนื้ ท่ีอุทยานแหงชตหิ วยนํ้าดัง 21
13 ปริมาณตนไมทั้งหมดในปา แตละประเภทในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติหวยน้าํ ดงั 22
14 ความหนาแนน (ตน/ไร) ในปาแตล ะประเภทในพืน้ ที่อุทยานแหงชาตหิ วยนํ้าดงั 23
15 ปริมาณไม (ลบ.ม./ไร) ในปาแตละประเภทในพ้นื ท่ีอุทยานแหง ชาตหิ วยน้ําดงั 24
16 การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไม (ตน) ในพ้นื ท่ีอุทยานแหง ชาตหิ ว ยนา้ํ ดงั 25
17 การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไม (รอยละ) ในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติหว ยนํ้าดัง 25

1

คคำำนนำำ

ตามแผนแม่บทการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชาติ ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีรวมท้ังประเทศประมาณ 320
ล้านไร่ ในปี พ.ศ. 2504 พ้ืนที่ป่าไม้ของประเทศไทยมีประมาณ 171 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 53.44 ของพื้นที่
ประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 ลดลงเหลือประมาณ 107 ล้านไร่ ประมาณร้อยละ 33.44 ของพื้นท่ีประเทศ
และในปี พ.ศ. 2556 ลดลงเหลอื 102.1 ลา้ นไร่ หรือมพี ืน้ ทีป่ า่ ไม้เหลืออย่เู พยี งร้อยละ 31.57 ของพืน้ ทปี่ ระเทศ
สาเหตุของการลดลงของพื้นที่ปา่ ไม้ เกิดจากปัจจัยหลายประการ เช่น การบุกรุกเพื่อขยายพ้ืนท่ีทางการเกษตร
การบุกรุกจับจองของนายทุน การออกโฉนดท่ีดินหรือ เอกสารสิทธิ์ที่ไม่ถูกต้อง ฯลฯ พื้นท่ีป่าไม้ส่วนใหญ่อยู่ใน
ความรับผิดชอบของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ท่ีจะต้องดาเนินการอนุรักษ์ สงวนและฟ้ืนฟู
ทรัพยากรป่าไม้ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างย่งั ยืน จึงจาเป็นที่จะต้อง
ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2558 กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณในการดาเนินการสารวจทรัพยากรป่าไม้ ในพ้ืนท่ีเป้าหมายอุทยาน
แหง่ ชาติหว้ ยน้าดัง เน้ือท่ี 782,575 ไร่ หรือประมาณ 12,52.12 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพ้นื ทีป่ ่าอนุรักษ์ ใน
ทอ้ งท่ีอาเภอแม่แตง อาเภอเวยี งแหง อาเภอเชียงดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ และอาเภอปาย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน โดย
กลุ่มงานวิชาการ สานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่) และส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สานักฟืน้ ฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ไดร้ ว่ มกนั ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู พ้ืนฐานด้านทรัพยากรป่าไม้ เพื่อให้
ไดข้ อ้ มลู ทสี่ ามารถนาไปใช้ในการประเมินมูลค่าทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ
รวมท้ังใชใ้ นการประเมินสถานภาพและศักยภาพของป่า ทรัพยากรป่าไม้ และทรัพยากรอน่ื ๆ ท่เี กี่ยวข้อง เพอ่ื เป็น
ขอ้ มูลพ้ืนฐานในการดาเนินการ ในภารกจิ ตา่ ง ๆ ของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์พุ ืชตอ่ ไป

22

วตั ถวปุตั รถะปุ สรงะคส์ งค์

1. เพ่ือให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาลังผลิตและความหลากหลายของ
พืชพันธใ์ุ นพ้นื ท่ีอนุรักษ์ต่าง ๆ ของประเทศไทย

2. เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ เกย่ี วกับรปู แบบ วธิ กี ารสารวจ และการวเิ คราะห์ข้อมูล
อย่างเป็นระบบและแบบแผน

3. เพอื่ เปน็ แนวทางในการวางระบบติดตามการเปล่ยี นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพน้ื ท่ี

4. เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐาน เก่ียวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้ มาใช้ในการวางแผนเพาะชากล้าไม้เพื่อ
ปลูกเสรมิ ป่าในแตล่ ะพ้ืนที่

เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2558 ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการดาเนินกิจกรรมสารวจ
ทรัพยากรป่าไม้ เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพ่ือติดต้ังระบบติดตามความ
เปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังทรัพยากรอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง จังหวัด
เชยี งใหม่และจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน จานวน 155 แปลง

การสารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง
ซ้อนกนั คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดบั และมวี งกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศ
หลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
ดาเนนิ การเกบ็ ข้อมูลการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ต่าง ๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสงู จานวนกล้าไม้
และลกู ไม้ ชนดิ ปา่ ลักษณะตา่ ง ๆ ของพน้ื ทท่ี ีต่ น้ ไม้ขน้ึ อยู่ ขอ้ มูลลกั ษณะภูมปิ ระเทศ เช่น ระดับความสูง ความ
ลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และ พืชชั้น
ล่าง แล้วนามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของ
หมู่ไม้ กาลงั ผลิตของป่า ตลอดจนการสบื พันธ์ุตามธรรมชาติของหม่ไู มใ้ นปา่ นั้น

ข้อมูลท่ัวไปอุทยำนแหง่ ชำติหว้ ยนำดงั

ประวตั คิ วำมเป็นมำ

อุทยานแห่งชาตหิ ว้ ยนา้ ดัง สงั กดั สานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท์ ่ี 16 (เชยี งใหม่) กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์
ป่า และพันธ์ุพืช มีพื้นที่รับผิดชอบ 2 จังหวัด 4 อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่แตง อาเภอเวียงแหง อาเภอเชียงดาว
จังหวัดเชียงใหม่ และอาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ประกอบด้วยสภาพป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์
เป็นป่าต้นน้าลาธารท่ีสาคัญของแม่น้าปิงตอนบน ในท้องที่จังหวัดเชยี งใหม่ และเป็นแหล่งต้นน้าของแม่น้าปาย
ในทอ้ งท่ีจังหวดั แม่ฮ่องสอน มีสตั วป์ า่ นานาชนิด และจุดเด่นทางธรรมชาติท่ีสวยงาม ไดแ้ ก่ ดอยช้าง ดอยสามหม่ืน
ซึง่ เป็นภเู ขาสูงชันสลบั ซบั ซ้อน มสี ภาพเปน็ ป่าธรรมชาติท่ีความอุดมสมบูรณ์ ซึ่งสามารถชมทวิ ทัศน์ของยอดเขาทั้ง

3

สอง ลอยอยู่บนทะเลหมอกอันงดงามได้บริเวณจุดชมวิวดอยก่ิวลม อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง ตาบลกื้ดช้าง
อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ รวมท้ังมีแหล่งน้าพุร้อนธรรมชาติ อันเป็นท่ีนิยมของนักท่องเท่ียวท้ังชาวไทย
และชาวตา่ งชาติ ได้แก่ นา้ พุรอ้ นโปง่ เดือด ตาบลป่าแป๋ อาเภอแม่แตง จงั หวัดเชยี งใหม่ และโปง่ น้าร้อนท่าปาย
ตาบลแมฮ่ ้ี อาเภอปาย จังหวดั แม่ฮ่องสอน

ในอดีต ตามมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการข้าราชการพลเรือน (อ.ก.พ.) ประจากรมป่าไม้ คร้ังที่
9/2530 เม่อื วนั ท่ี 2 มิถนุ ายน 2530 ให้กองอนรุ ักษ์ต้นน้าและกองอุทยานแห่งชาติประสานงานกันจดั ส่งเจ้าหน้าที่
ไปสารวจพื้นที่ บริเวณหน่วยพัฒนาต้นน้าที่ 2 (ห้วยน้าดัง) จังหวัดเชียงใหม่บางส่วน เพ่ือพิจารณาจัดตั้งเป็น
อุทยานแห่งชาติตามข้อเสนอแนะของกองอนรุ ักษ์ตน้ น้า กองอทุ ยานแหง่ ชาติได้มหี นังสือ ท่ี กษ 0713/ ลงวันท่ี
3 ธันวาคม 2530 กรมป่าไม้ให้ นายณรงค์ เจริญไชย เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 ไปทาการสารวจพ้ืนที่ร่วมกับหัวหน้า
หนว่ ยพฒั นาต้นนา้ ท่ี 2 (ห้วยนา้ ดงั ) หัวหนา้ หน่วยพัฒนาต้นนา้ ที่ 4 (แม่แจ่มหลวง) และหวั หนา้ หน่วยพัฒนาต้นน้าที่ 9
(หว้ ยน้ารู) ซงึ่ ไดร้ ายงานผลการสารวจตามหนังสือ ท่ี กษ 0713 (ทป)/86 ลงวนั ท่ี 3 เมษายน 2531 แตเ่ นือ่ งจากยัง
ขาดรายละเอยี ดตา่ ง ๆ และขอบเขตพ้ืนทที่ ีเ่ หมาะสมในการกาหนดเขตอุทยานแห่งชาติ ประกอบกับวนอุทยาน
โป่งเดือด จังหวัดเชียงใหม่ มีหนังสือ ที่ กษ 0713 (ปด)/10 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2531 แจ้งว่า เนื้อที่ใกล้เคียง
วนอุทยาน มคี วามเหมาะสมท่จี ะรวมกับพน้ื ทีห่ นว่ ยพัฒนาตน้ นา้ ท่ี 2 (ห้วยน้าดัง) จัดตัง้ เปน็ อทุ ยานแห่งชาติ

กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ (เดิม) จึงได้มีหนังสือ ท่ี กษ 0713/950 ลงวันท่ี 16 สิงหาคม 2531
เสนอกรมป่าไม้ ให้ นายสวัสดิ์ ทวีรัตน์ เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 หัวหน้าวนอุทยานโป่งเดือด ไปสารวจเบ้ืองต้น
บริเวณดังกล่าว ได้รับรายงานผลการสารวจตามหนังสือ ท่ี กษ 0713 (ปด)/74 ลงวันที่ 14 ธนั วาคม 2531 วา่ ได้
ทาการสารวจร่วมกับนายณรงค์ เจริญไชย เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 พื้นที่บริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์
ภูเขาสูงชนั สลับซบั ซ้อน เป็นปา่ ต้นน้าลาธาร มจี ดุ เดน่ ทางธรรมชาติทีส่ วยงามเหมาะสมจะจัดตั้งเป็นอทุ ยานแห่งชาติ
จากน้นั กองอทุ ยานแห่งชาตฯิ ไดม้ ีหนงั สอื ที่ กษ 0713/206 ลงวนั ท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2532 เสนอกรมปา่ ไม้ขอ
ความเห็นชอบ เพ่ือนาเรื่องการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดังเข้าพิจารณาในที่ประชุมคณะกรรมการอุทยาน
แห่งชาติ เพื่อให้ความเห็นชอบกาหนดบริเวณพ้ืนท่ีหน่วยพัฒนาต้นน้าที่ 2 (ห้วยน้าดัง) หน่วยพัฒนาต้นน้าท่ี 4
(แม่จอกหลวง) หน่วยพัฒนาต้นนา้ ที่ 9 (ห้วยน้ารู) บางส่วน และพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ปายฝ่งั ซ้ายตอนบน
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แตงในท้องที่ตาบลกี๊ดช้าง อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และตาบลแม่อี้ อาเภอปาย
จังหวดั แมฮ่ ่องสอน เปน็ อุทยานแหง่ ชาติตามพระราชบญั ญัติอุทยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504 ตอ่ ไป

ต่อมาได้มีวิทยุกองอุทยานแห่งชาติ ที่ กษ 0712 ทับ 97 ลงวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2534 ให้ อุทยาน
แห่งชาติห้วยน้าดัง ประสานงานกับหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแม่เลา-แม่แสะ และให้สารวจพ้ืนที่บางส่วนของ
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแม่เลา-แม่แสะ และพ้ืนที่วนอุทยานโป่งเดือด ในท้องท่ีตาบลเมืองคอง อาเภอเชียงดาว และ
ตาบลปา่ แป๋ ตาบลเมืองกาย อาเภอแมแ่ ตง จงั หวัดเชยี งใหม่ เพ่อื กาหนดใหเ้ ปน็ อทุ ยานแห่งชาตเิ พิ่มเตมิ ประมาณ
118,906.25 ไร่ หรือ 190.25 ตารางกิโลเมตร เน่อื งจากพบวา่ พ้นื ท่ีส่วนใหญม่ ีสภาพป่าท่ีอุดมสมบูรณ์ มศี กั ยภาพ
สูงมาก มีจุดเดน่ ที่สวยงาม เช่น โปง่ เดอื ด นา้ ตก ลุม่ นา้ แม่แตง รวมท้ังความหลากหลายของพชื พรรณ และสัตว์ป่า
ท่ชี กุ ชม มคี วามเหมาะสมอย่างยิง่ ทตี่ ้องเรง่ ดาเนนิ การกาหนดใหเ้ ปน็ อุทยานแหง่ ชาติโดยด่วน

44

อุทยานแห่งชาติหว้ ยน้าดัง ไดป้ ระกาศให้เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ โดยไดม้ ีพระราชกฤษฎีกากาหนดบริเวณ
ท่ีดนิ ปา่ สงวนแห่งชาติป่าเชียงดาวและป่าแม่แตง ในท้องที่ตาบลเปยี งหลวง ตาบลเมืองแหง อาเภอเวยี งแหง จังหวัด
เชียงใหม่ ตาบลกื้ดช้าง ตาบลป่าแป๋ อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ปาย ฝ่ังซ้าย
ตอนบน ในท้องที่ตาบลเวียงเหนือ ตาบลแม่ฮี้ อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม
112 ตอนที่ 33ก ลงวนั ที่ 14 สิงหาคม 2538 มเี นือ้ ท่ปี ระมาณ 782,575 ไร่ หรอื 1,252.12 ตารางกิโลเมตร นับเป็น
อทุ ยานแหง่ ชาตลิ าดบั ที่ 81 ของประเทศไทย

ทตี่ ังและอำณำเขต

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับพรมแดนไทย - พมา่ ท้องท่ีตาบลเปียงหลวง อาเภอเวียงแหง
จงั หวดั เชยี งใหม่ และตาบลแม่นาเติง อาเภอปาย จังหวดั แม่ฮ่องสอน

ทิศใต้ ติดต่อกับเขตรักษาพนั ธุ์สัตว์ป่าแม่เลา - แมแ่ สะ ท้องที่ตาบลป่าแป๋ อาเภอแมแ่ ตง
จงั หวดั เชียงใหม่ และท้องที่อาเภอปาย จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน

ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับเขตรักษาพันธ์สุ ตั วป์ ่าดอยเชียงดาว ท้องท่ตี าบลเมืองคอง อาเภอเชยี งดาว
จงั หวัดเชยี งใหม่

ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับแม่นา้ ของ และเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ลุม่ น้าปาย ท้องท่ตี าบลแม่นาเตงิ
อาเภอปาย จงั หวัดแม่ฮ่องสอน

5

ภำพที่ 1 แสดงทตี่ งั และอำณำเขตของอุทยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดงั
กำรเดินทำงและเส้นทำงคมนำคม

การเดินทางไปยังอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง จากอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มุ่งหน้าอาเภอ แม่แตง
จังหวัดเชียงใหม่ ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 107 ระยะทางประมาณ 35 กิโลเมตร ถึงทางแยก แม่มาลัย
เลี้ยวซ้ายบริเวณตลาดสดแมม่ าลัยไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1095 มุ่งหน้าอาเภอปาย จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน
ระหว่างทางช่วงหลักกิโลเมตรที่ 42-43 จะพบป้ายน้าพุร้อนโป่งเดือดทางด้านขวามือ เล้ียวขวาไปตามเส้นทาง
ระยะทางประมาณ 6.5 กิโลเมตร จะถึงแหล่งท่องเที่ยวน้าพุรอ้ นโป่งเดือด บริเวณหนว่ ยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ
ห้วยน้าดัง นด. 1 (โป่งเดอื ด)

จากหน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานฯ นด. 1 (โปง่ เดือด) ย้อนกลับมาเสน้ ทางหลวงหมายเลข 1095 มุ่งหนา้ อาเภอ
ปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ระหว่างทางช่วงหลักกิโลเมตรท่ี 65 - 66 จะพบป้ายอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง
ทางดา้ นขวามือ เลย้ี วขวาผ่านดา่ นเกบ็ ค่าบริการไปตามเส้นทางหลวงชนบท ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ถึง
ทท่ี าการอทุ ยานฯ เดนิ ทางตอ่ ไปอกี ประมาณ 2 กิโลเมตร จะถึงจุดชมววิ ดอยกิ่วลม

66
จากจุดชมวิวดอยก่ิวลมฯ ย้อนกลับมาเส้นทางหลวงหมายเลข 1095 มุ่งหน้าอาเภอปาย จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ระหว่างทางช่วงหลักกิโลเมตรท่ี 87-88 ผ่านปากเข้าหมู่บ้านแม่ปิงไปประมาณ 200 เมตร จะพบ
ปา้ ยโป่งนา้ รอ้ นท่าปายทางด้านขวามือ เล้ียวขวาไปตามเสน้ ทาง ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร จะถึงแหลง่ ท่องเท่ียว
โปง่ นา้ ร้อนท่าปาย บริเวณหน่วยพทิ ักษ์อุทยานแหง่ ชาติห้วยน้าดัง นด. 2 (โป่งร้อน)
ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง เป็นเทือกเขา และหุบเขาสลับกันเป็นแนวยาวขนาน
ในแนวเหนือใต้ของเทือกเขาแดนลาว เทือกเขาถนนธงชัย และเทือกเขาผีปันน้า เกิดจากการเปล่ียนแปลงทาง
ธรณีทม่ี ีการแทรกดันของหินหนืด และแรงบีบอัดในแนวตะวันออก-ตะวันตก ทาใหพ้ ืน้ ผวิ โก่งงอกลายเป็นภูเขา
และเทือกเขา และประกอบไปด้วยหุบเขาที่เกิดจากรอยเล่ือนท่ีทรุดต่าลงสึกกร่อนตามกระบวนการทางฟิสิกส์
และทางเคมี ตลอดจนการทับถมของตะกอนน้าพา ทาให้เกิดเป็นที่ราบระหว่างภูเขาท้ังสองฝ่ังของลาน้า มี
ความสูงตั้งแต่ 400-1,962 เมตรจากระดับน้าทะเลปานกลาง มีภูเขาท่ีสูงท่ีสุด คือ ดอยช้าง เป็นแหล่งต้นน้าลา
ธารของลาน้าสายสาคัญ ได้แก่ แม่น้าแตงและแม่น้าปาย ซึ่งอยู่ในพ้ืนที่ลุ่มน้าชั้น A ถึงช้ัน 1A มีลาห้วย น้อยใหญ่
มากมาย ได้แก่ หว้ ยเฮ๊ยี ะ หว้ ยแมย่ ะ ห้วยฮ่อม ห้วยน้าดงั ห้วยแม่สลาหลวง ห้วยโปง่ หว้ ยแม่แพลม น้างุม หว้ ยงู
ห้วยแม่เย็นหลวง หว้ ยนอ้ ย ห้วยหก หว้ ยแมฮ่ ้ี หว้ ยขาน ห้วยแม่ปิง ห้วยแมจ่ อกหลวง เป็นต้น

ภำพท่ี 2 ลักษณะภูมปิ ระเทศของอทุ ยำนแหง่ ชำติห้วยนำดัง

7

ภำพที่ 3 ดอยชำ้ ง ยอดเขำสูงท่ีสดุ ในอุทยำนแห่งชำติห้วยนำดงั
ลกั ษณะภูมิอำกำศ

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของอทุ ยานแห่งชาตหิ ้วยนา้ ดัง บรเิ วณจดุ ชมววิ ดอยกิ่วลม มีอากาศเย็นสบาย
ตลอดปี อุณหภมู ิเฉล่ยี ประมาณ 21 องศาเซลเซียส อากาศหนาวเย็นในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพนั ธ์ อุณหภูมิ
ต่าสุดประมาณ 0-2 องศาเซลเซียส ช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 34 องศา
เซลเซียส อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดังคาบเกี่ยวพื้นที่ 2 จังหวดั ไดแ้ ก่ จังหวัดเชียงใหม่ และจงั หวัดแม่ฮ่องสอน พ้นื ท่ี
ป่าอยู่ในเขตมรสุม ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ อีกท้ังยังอยู่
ภายใตอ้ ิทธิพลของลมพายุไซโคลนดว้ ย จึงทาใหส้ ภาพอากาศโดยท่ัวไปมี 3 ฤดู ดงั น้ี

ฤดูฝน เริ่มต้ังแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ทิศทางลมจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ อุณหภูมิสูงสุด
ประมาณ 24 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดประมาณ 10 องศาเซลเซียส ปริมาณน้าฝนรวมตลอดปีประมาณ
1,500-1,900 มิลลิเมตร

ฤดูหนาว เร่ิมตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ทิศทางลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนืออุณหภูมิ
สงู สดุ ประมาณ 20 องศาเซลเซียส อณุ หภูมิต่าสุดเฉลีย่ ประมาณ 2 องศาเซลเซยี ส

ฤดูร้อน เริ่มต้ังแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน ทิศทางลมจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ อุณหภูมิสูงสุด
ประมาณ 28 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู ิต่าสุดเฉล่ียประมาณ 12 องศาเซลเซยี ส

88

พืชพรรณและสัตว์ปำ่

พืชพรรณ อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง มีสภาพทางธรรมชาติท่ียังคงความอุดมสมบูรณ์จึงทาให้เกิด
สงั คมพืชหลากหลายชนิด ประกอบด้วย

ป่าดิบเขา พบในพื้นที่หุบเขาและพื้นท่ีลาดชันท่ีระดับความสูง 1,650-1,900 เมตรเหนือระดับน้าทะเลปาน
กลาง ชนดิ ไมท้ ส่ี าคญั ได้แก่ ก่อกระดุม ก่อแดง สนสามใบ มะมือ กว่ ม เต้าหลวง จาปหี ลวง มณฑาดอย เหมือด
ดง เด่ือปล้องหิน ขม้ินต้น นางพญาเสือโคร่ง สารภีป่า กาลังเสือโคร่ง กะทัง เป็นต้น ไม้พุ่มและพืชพ้ืนล่าง ได้แก่
ตา่ งไกป่ า่ พลูช้าง พญาดง หญา้ คมบาง ตองกง ดาดตะกั่ว และดาหลา เปน็ ตน้

ป่าดิบแล้ง กระจายปกคลุมบริเวณสองฝั่งลาน้าที่ระดับความสูง 500-800 เมตรเหนือระดับน้าทะเลปาน
กลาง พันธุ์ไม้ท่ีสาคัญ ได้แก่ เติม อวบดา หว้า ง้ิวป่า ปอตูบหูช้าง ผ่าเสี้ยน เป็นต้น ไม้พุ่มและพืชพื้นล่าง ได้แก่
เอื้องหมายนา มันดง ม้าสามต๋อน เฒ่าหลังลาย หญ้าถอดปล้อง ตองก๊อ เครืออ่อน กลอย สายหยุด หัสคุณ และ
เลบ็ เหย่ียว เป็นต้น

ป่าเบญจพรรณ พบกระจายตวั ทีร่ ะดบั ความสูงต่ากว่า 900 เมตรเหนอื ระดบั น้าทะเลปานกลาง มพี นั ธ์ุ
ไมท้ ส่ี าคัญ ได้แก่ กาสามปกี กกุ๊ แคหัวหมูแดง ตะคร้า ประดู่ มะเกลือ มะกอก ตังหน ชงิ ชนั โมก เปน็ ตน้ ไมพ้ ุ่ม
และพืชพืน้ ลา่ ง ไดแ้ ก่ คนทา คัดเค้าเครือ เฒา่ หลังลาย ผกั แวน่ สะบา้ ลงิ สาบเสอื บกุ ลเิ ภา เกล็ดปลา หญ้าขัด
และพ่อคา้ ตเี มยี เปน็ ต้น

ป่าเต็งรงั พบกระจายโดยท่วั ไปท่ีระดับความสงู ต่ากว่า 800 เมตรเหนอื ระดับนา้ ทะเลปานกลาง ชนดิ ไม้
ทีส่ าคญั ได้แก่ เต็ง เหยี ง พลวง รงั พะยอม ตนี นก ติ้วขน สมอไทย ส้านใหญ่ มะขามป้อม ยอป่า แสลงใจ เคด็ เป็นต้น
ไม้พุ่มและไม้พ้นื ล่าง ไดแ้ ก่ กะตงั ใบ โสมชบา กระมอบ หนาดคา ตาฉ่เี คย ขา้ วสารปา่ และยาบขไี่ ก่ เป็นตน้

สตั ว์ปำ่ ด้วยความอดุ มสมบูรณ์ของสภาพป่า จึงชกุ ชุมไปด้วยสัตว์ปา่ นานาชนิด ไดแ้ ก่ ชา้ งป่า กวางป่า
หมีควาย เกง้ กระจงเล็ก เลียงผา หมูป่า แมวดาว ชะมดเชด็ ลงิ วอก ชะนมี ือขาว พังพอน เม่นใหญ่ ไก่ป่า ไก่ฟ้า
สเี งนิ นกเขาเปล้า นกขนุ ทอง นกขมนิ้ ทา้ ยทอยดา นกปรอดคอลาย เหยี่ยวตา่ งสี กะทา่ ง เตา่ ปูลู เต่าใบไม้ ก้งิ ก่า
แก้วแย้ ตะกวด งูเหลือม งูเขียวดอกหมาก งูเห่า กบทูด ปาด เขียดป่าไผ่ และอ่ึงลาย เป็นต้น ในบริเวณแม่นา้
และลาห้วยต่าง ๆ พบปลาจาด ปลามอน ปลาเลียหิน ปลาเวียน ปลาค้อปลาค้างคาว ปลาติดหิน และปลาก้าง
เป็นต้น

จุดเดน่ ท่ีนำ่ สนใจ

อุทยานแหง่ ชาติหว้ ยนา้ ดัง มีแหล่งทอ่ งเทีย่ วท่ีสาคัญ เปน็ จุดเด่นทนี่ ่าสนใจ จานวน 3 แหง่ ได้แก่

จุดชมวิวดอยกิ่วลม เป็นจุดชมวิวทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยมจาก
นักท่องเท่ียวเป็นจานวนมาก มีพรรณไม้ดอกเมืองหนาวให้นักท่องเท่ียวได้ชมความสวยงาม อยู่บริเวณที่ทาการ
อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 1,615 เมตร ประกอบด้วยส่ิงอานวยความสะดวก

9

มากมาย ได้แก่ ศนู ย์บริการนักทอ่ งเทยี่ ว บ้านพักรับรองสาหรบั นักท่องเที่ยว ร้านอาหารและร้านจาหนา่ ยสินค้า
ของท่ีระลกึ และลานกางเต็นทส์ าหรบั พกั คา้ งแรม

นำพุร้อนโป่งเดือด เป็นน้าพุร้อนแบบไกเซอร์ ประกอบด้วยบ่อน้าพุร้อนขนาดใหญ่ท่ีมีน้าร้อนเดือดพุ่ง
ข้ึนมาด้วยแรงดันใต้พิภพตลอดเวลา ความสูงประมาณ 1-2 เมตร อุณหภูมิน้าใต้ผิวดินประมาณ 176 องศาเซลเซียส
และอุณหภูมิน้าบนผิวดินประมาณ 90-99 องศาเซลเซียส ต้ังอยู่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติหว้ ยน้าดัง
นด. 1 (โป่งเดือด) ตาบลป่าแป๋ อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยสิ่งอานวยความสะดวกมาก ได้แก่
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว บ้านพักสาหรับนักท่องเที่ยว สระอาบน้าแร่ ห้องอาบน้าแร่ท้ังในร่มและกลางแจ้ง
รา้ นอาหารและเคร่ืองดืม่ และลานกางเตน็ ท์สาหรบั พักคา้ งแรม

โปง่ นำรอ้ นท่ำปำย เป็นบอ่ น้าร้อนท่ีเดือดข้ึนเป็นตาน้าแบบฮ็อทสปริง อุณหภูมิของน้าประมาณ 80 องศา
เซลเซียส ไหลเป็นธารน้าร้อนไปตามลาห้วยธรรมชาติ เป็นท่ีนิยมของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติเป็นจานวนมาก
ตั้งอยู่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง นด. 2 (โป่งร้อน) ตาบลแม่ฮี้ อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
มบี อ่ อาบนา้ แร่แบบธรรมชาติและลานกางเตน็ ทส์ าหรบั พกั ค้างแรม

รปู แบบและวธิ ีกำรสำรวจทรพั ยำกรป่ำไม้

การสารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดาเนินการโดยกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วน
สารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ และสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ต่าง ๆ ใน
สงั กัดกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ์ ืช

กำรสุ่มตวั อยำ่ ง (Sampling Design)

การสารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นท่ีป่า
อนุรักษ์ โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่า ๆ กัน โดยกาหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน
2.5x2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกาหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนที่ (Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ี
ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวตั้งและแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร
คอื ระยะชอ่ งกริดในแผนทเ่ี ท่ากับ 2.5 ช่อง จดุ ตัดของเส้นกริดท้ังสองแนวก็จะเป็นตาแหน่งทีต่ ้ังของแปลงตัวอย่าง
แตล่ ะแปลง เมอื่ ดาเนนิ การเสรจ็ สน้ิ แล้ว จะทราบจานวนหนว่ ยตัวอยา่ งและตาแหน่งที่ตั้งของหนว่ ยตัวอย่างโดย
ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง ดังภาพท่ี 4

1010

ภำพที่ 4 ลักษณะและขนำดของแปลงตวั อยำ่ ง
รปู ร่ำงและขนำดของแปลงตัวอยำ่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสารวจมีทั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างชั่วคราวเป็น
แปลงทม่ี ีขนาดคงท่ี (Fixed-Area Plot) และมีรูปร่าง 2 ลักษณะด้วยกนั คอื

1. ลกั ษณะรูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกันจานวน 3 วงคือวงกลมรัศมี 3.99, 12.62 และ
17.84 เมตร ตามลาดับ
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดยจุด
ศนู ย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทั้ง 4 ทิศ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตรโดยมี
จุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทามุมฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1 ได้
จากการสมุ่ ตวั อยา่ ง
ขนำดของแปลงตัวอยำ่ งและข้อมูลทที่ ำกำรสำรวจ
ขนาดของแปลงตวั อยา่ ง และขอ้ มูลที่ทาการสารวจแสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 1

11

ตำรำงที่ 1 ขนำดของแปลงตัวอยำ่ งและข้อมูลทด่ี ำเนินกำรสำรวจ

รศั มขี องวงกลม หรือ จำนวน พืนทห่ี รอื ควำมยำว ขอ้ มลู ทสี่ ำรวจ
ควำมยำว (เมตร)

0.631 4 วง 0.0005 เฮคแตร์ กลา้ ไม้

3.99 1 วง 0.0050 เฮคแตร์ ลกู ไม้และการปกคลุมพน้ื ท่ีของกลา้ ไม้และลกู ไม้

12.62 1 วง 0.0500 เฮคแตร์ ไมไ้ ผ่ หวายที่ยงั ไมเ่ ลือ้ ย และตอไม้

17.84 1 วง 0.1000 เฮคแตร์ ต้นไม้และตรวจสอบปัจจัยท่ีรบกวนพน้ื ที่ปา่

17.84 (เส้นตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร/เส้น Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลอื้ ย

และไมเ้ ถาทีพ่ าดผ่าน

กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู กำรสำรวจทรัพยำกรป่ำไม้

1. กำรคำนวณเนอื ทปี่ ำ่ และปรมิ ำณไมท้ งั หมดของแต่ละพืนท่อี นรุ กั ษ์

1.1 ใช้ข้อมูลพ้นื ท่ีอนรุ ักษจ์ ากแผนทแี่ นบท้ายกฤษฎีกาของแตล่ ะพน้ื ทอี่ นรุ ักษ์

1.2 ใช้สัดส่วนจานวนแปลงตัวอย่างที่พบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจานวนแปลงตัวอย่างท่ีวาง
แปลงทั้งหมดในแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ที่อาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคานวณเป็นเนื้อทปี่ ่าแตล่ ะชนดิ โดยนาแปลงตวั อยา่ งที่วางแผนไวม้ าคานวณทกุ แปลง

1.3 แปลงตัวอย่างท่ีไม่สามารถดาเนินการสารวจได้ต้องนามาคานวณด้วย โดยทาการประเมินลักษณะพ้ืน
ทวี่ ่า เป็นหน้าผา นา้ ตก หรอื พนื้ ทอี่ ่ืน ๆ เพื่อประกอบลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ

1.4 ปริมาณไม้ท้ังหมดของพื้นท่ีอนุรกั ษ์ เป็นการคานวณโดยใชข้ ้อมูลเน้ือที่อนุรักษ์จากแผนที่แนบท้าย
กฤษฎีกาของแต่ละพ้ืนที่อนุรักษ์ ซึ่งบางพ้ืนท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลเนื้อท่ีคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อการ
คานวณปริมาณไมท้ ง้ั หมด ทาใหก้ ารคานวณปรมิ าณไมเ้ ป็นการประมาณเบ้ืองต้น

2. กำรคำนวณปรมิ ำตรไม้

สมการปริมาตรไมท้ ี่ใช้ในการประเมินการกกั เก็บธาตุคาร์บอนในพน้ื ท่ปี า่ ไม้ แบบวิธี Volume Based
Approach โดยแบง่ กลมุ่ ของชนิดไมเ้ ป็นจานวน 7 กลุม่ ดังน้ี

2.1 กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทน์กะพอ้ สนสองใบ

2.2 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กระพ้ีจ่ัน กระพ้ีเขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน
กระพ้ี ถอ่ น แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื

2.3 กลุ่มท่ี 3 ไดแ้ ก่ รกฟา้ สมอพเิ ภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขีอ้ า้ ย กระบก ตะครา้ ตะคร้อ
ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เล่ียน มะฮอกกานี ขี้อ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ติ้ว สะแกแสง ปู่
เจ้า และไม้สกุลสา้ น เสลา อนิ ทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค

1212

2.4 กลุ่มท่ี 4 ไดแ้ ก่ กางขมี้ อด คูน พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถนิ พิมาน มะขามป่า หลมุ พอ และสกลุ
ข้เี หลก็

2.5 กลมุ่ ท่ี 5 ได้แก่ สกุลประดู่ เตมิ
2.6 กลมุ่ ที่ 6 ได้แก่ สัก ตนี นก ผา่ เส้ยี น หมากเลก็ หมากนอ้ ย ไขเ่ นา่ กระจับเขา กาสามปีก สวอง
2.7 กล่มุ ที่ 7 ไดแ้ ก่ ไม้ชนิดอ่นื ๆ เช่น กุ๊ก ขวา้ ว ง้ิวปา่ ทองหลางป่า มะมว่ งปา่ ซอ้ โมกมัน แสมสาร และ
ไมใ้ นสกุลปอ ก่อ เปล้า เปน็ ตน้
3. ขอ้ มูลท่ัวไป
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ที่ตั้ง ตาแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทาการเก็บข้อมูล ความสูงจาก
ระดับน้าทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ี จะใช้ประกอบในการวิเคราะห์
ประเมินผลรว่ มกับข้อมูลด้านอื่น ๆ เพื่อติดตามความเปลย่ี นแปลงของพ้ืนท่ีในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ครั้งต่อไป
4. กำรวเิ ครำะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมไู่ ม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปริมาตร
5. กำรวิเครำะห์ข้อมูลชนดิ และปริมำณของลกู ไม้ (Sapling) และกลำ้ ไม้ (Seedling)
6. กำรวิเครำะห์ข้อมูลชนดิ และปรมิ ำณของไม้ไผ่ หวำย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเสน้ ต้ัง (จานวนตน้ )
7. กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู สงั คมพืช
โดยมรี ายละเอยี ดการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดังน้ี
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density: D) คือ จานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธ์ุท่ีศึกษาท่ี
ปรากฏในแปลงตวั อย่างต่อหน่วยพนื้ ท่ีทท่ี าการสารวจ

D= จานวนตน้ ของไมช้ นดิ น้นั ทั้งหมด
.

พืน้ ทแ่ี ปลงตวั อยา่ งทั้งหมดทที่ าการสารวจ

7.2 ความถี่ (Frequency: F) คือ อัตราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่างที่ปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดนั้นต่อ

จานวนแปลงทท่ี าการสารวจ

F = จานวนแปลงตัวอยา่ งที่พบไม้ชนดิ ท่กี าหนด X 100
จานวนแปลงตวั อยา่ งท้งั หมดที่ทาการสารวจ

13

7.3 ความเด่น (Dominance: Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด (Basal Area: BA) หมายถึง
พนื้ ทห่ี น้าตัดของลาต้นของต้นไม้ที่วัดระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพนื้ ท่ีทท่ี าการสารวจ

Do = พ้นื ที่หนา้ ตดั ทัง้ หมดของไมช้ นิดทีก่ าหนด X 100
พื้นท่แี ปลงตัวอย่างท่ีทาการสารวจ

7.4 ค่าความหนาแนน่ สัมพัทธ์ (Relative Density: RD) คอื คา่ ความสัมพัทธ์ของความหนาแน่นของไม้ที่
ตอ้ งการตอ่ คา่ ความหนาแนน่ ของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นร้อยละ

RD = ความหนาแนน่ ของไม้ชนดิ น้นั X 100
ความหนาแนน่ รวมของไม้ทุกชนดิ

7.5 ค่าความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency: RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของชนิดไม้ท่ี
ต้องการต่อคา่ ความถ่ีทัง้ หมดของไมท้ ุกชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RF = ความถขี่ องไม้ชนิดนั้น X 100
ความถร่ี วมของไมท้ กุ ชนดิ

7.6 คา่ ความเดน่ สัมพทั ธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ คา่ ความสัมพันธข์ องความเด่น
ในรปู พื้นท่หี น้าตดั ของไมช้ นดิ ทีก่ าหนดต่อความเดน่ รวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ

RDo = ความเด่นของไมช้ นิดน้นั X 100
ความเด่นรวมของไมท้ ุกชนดิ

7.7 ค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) คือ ผลรวมของค่าความสัมพัทธ์ต่างๆ
ของชนิดไม้ในสังคม ได้แก่ ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถ่ี และค่าความ
สมั พทั ธ์ดา้ นความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเครำะห์ข้อมูลควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ
โดยทาการวเิ คราะหค์ ่าต่าง ๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพนั ธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจานวนชนิดพันธุท์ ป่ี รากฏในสงั คม

และจานวนตน้ ทมี่ ีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity
ตามวธิ ีการของ Kreb (1972) ซึง่ มีสตู รการคานวณดงั ต่อไปนี้

s
H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

1414

โดย H คือ คา่ ดชั นีความหลากชนิดของชนดิ พนั ธ์ุไม้
Pi คือ สัดส่วนระหวา่ งจานวนตน้ ไม้ชนิดท่ีi ต่อจานวนตน้ ไม้ทั้งหมด
S คือ จานวนชนิดพันธุ์ไมท้ ั้งหมด

8.2 ความรา่ รวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศยั ความสัมพันธร์ ะหว่างจานวนชนดิ กบั จานวน
ต้นทั้งหมดที่ทาการสารวจ ซง่ึ จะเพ่ิมขนึ้ เม่ือเพิ่มพื้นท่แี ปลงตัวอย่าง และดชั นีความรา่ รวยที่นิยมใช้กนั คือ วธิ ี
ของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick1964) โดยมีสตู รการคานวณ
ดงั น้ี

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)
R2 = S/√n

เมื่อ S คือ จานวนชนิดทั้งหมดในสังคม
n คือ จานวนตน้ ทงั้ หมดทีส่ ารวจพบ

8.3 ความสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีต้งั อยู่บนสมมติฐานท่ีวา่ ดัชนีความ
สม่าเสมอจะมีค่ามากที่สุดเมื่อทุกชนิดในสังคมมีจานวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่นัก
นิเวศวิทยา คอื วิธีของ Pielou (1975) ซง่ึ มสี ตู รการคานวณดงั นี้

E = H/ ln(S) =ln (N1)/ln (N0)
เมอ่ื H คือ คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คือ จานวนชนิดทัง้ หมด (N0)
N1 คือ eH

9. ศึกษำคณุ คำ่ ทำงนเิ วศวิทยำ

เป็นคุณค่าท่ีป่ามีองค์ประกอบและหน้าท่ีตามสภาพธรรมชาติ ปราศจากการรบกวนจากมนุษย์ ไม่ทา
ให้องค์ประกอบและหน้าท่ีเปลี่ยนไปจากเดิมหรือเลวลงกว่าเดิม ซ่ึงการประเมินคุณค่าทางนิเวศวิทยารวมท้ัง
พจิ ารณาจากป่าในพ้นื ท่ีทศ่ี ึกษาแบง่ การพิจารณา ดงั นี้

9.1 องค์ประกอบของป่า (Structure) โดยพิจารณาจาก 4 ประเดน็ ดงั นี้

(1) ชนิด หมายถึง จานวนชนิดของป่า และชนิดของไม้ที่พบในบริเวณพื้นที่ศึกษาโดยอุทิศ กุฎอินทร์
(2536) กลา่ วว่า พน้ื ทีใ่ ดก็ตามที่มคี วามหลากหลายของชนดิ พันธ์ุ และความมากมายของจานวนของสิง่ มชี ีวิตถอื
ว่าพ้ืนท่ีนัน้ มีความหลากหลายทางชวี ภาพสงู และถือไดว้ า่ เป็นพ้นื ทที่ ่ีมคี ณุ คา่ ทางนิเวศสงู ด้วย

(2) ปรมิ าณ หมายถงึ ความมากมายในด้านจานวนของตน้ ไม้

15

(3) สัดส่วน หมายถึง สัดสว่ นของต้นไมข้ นาดต่าง ๆ ท่ีกระจายอยู่ตามธรรมชาติ ซงึ่ ในสภาพปกติสดั ส่วน
ของไม้ขนาดใหญ่มีนอ้ ยกวา่ ไม้ขนาดเล็กซง่ึ ทาให้การทดแทนของปา่ เป็นไปอย่างต่อเนื่องและรกั ษาสมดุลของปา่
ให้คงอยู่ตลอดไป

(4) การกระจาย หมายถงึ การขยายหรอื แพร่พันธ์ุของชนิดป่าและชนิดไม้ในบรเิ วณพนื้ ท่ีศกึ ษา

9.2 หนา้ ทข่ี องป่า (Function) หน้าทีข่ องป่าไม้ทสี่ าคัญคือการเป็นผผู้ ลิต (Producer) ในระบบนิเวศ โดย
เป็นตัวกลางในการหมุนเวียนธาตุอาหารและถ่ายทอดพลังงานไปสู่ผู้บริโภคในระดับต่าง ๆ ป่าที่มีกระบวนการ
หมนุ เวยี นธาตอุ าหารและถา่ ยทอดพลงั งานอยูต่ ลอดเวลาถือว่าเป็นป่าที่มีคุณคา่ ทางนเิ วศสูง

9.3 กิจกรรมของมนุษย์ กิจกรรมของมนษุ ยท์ ี่มีผลกระทบต่อปา่ ประกอบไปดว้ ย กจิ กรรมทช่ี ว่ ยสง่ เสริม
ความยั่งยืนของป่า เช่น การฟื้นฟูสภาพป่าการป้องกันรกั ษาป่าการปลกู ป่าทดแทนเป็นต้นกิจกรรมใด ๆ ที่ช่วย
ส่งเสริมความย่ังยืนให้กับป่า ถือว่าพื้นที่นั้นมีคุณค่าทางนิเวศสูงส่วนกิจกรรมท่ีทาลายความยั่งยืนของป่า เช่น
การบกุ รุกพ้ืนทีป่ ่า การตดั ไมท้ าลายปา่ เป็นตน้

9.4 คุณค่าของป่าในด้านการเป็นพื้นท่ีอนุรักษ์ คุณค่าด้านการเป็นพ้ืนที่อนุรักษ์ของพื้นที่ลุ่มน้า เป็น
พ้ืนท่ีรวมและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า และพันธ์ุไม้ป่าท่ีหายาก เป็นพื้นที่ต้นน้าลาธารท่ีใช้อุปโภคและบริโภคของ
ชุมชนในพื้นที่ และบริเวณข้างเคียง อกี ท้ังยังเป็นแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางธรรมชาติทีส่ วยงาม

10. กำรประเมินสถำนภำพทรพั ยำกรป่ำไม้

ผู้เชย่ี วชาญได้แบ่งสถานภาพของระบบส่ิงแวดล้อมออกเปน็ 4 สถานภาพ ซง่ึ แต่ละสถานภาพมีลักษณะ
ดังนี้

10.1 ระดับสมดุลธรรมชาติ (Nature) หมายถึง ทรัพยากรป่าไม้ไม่ถูกรบกวนจากปัจจัยต่างๆ มี
องค์ประกอบหลากหลาย ท้งั ชนดิ และปริมาณในอัตราส่วนที่เหมาะสม ซึ่งสามารถทาหนา้ ทีไ่ ด้ปกติตามธรรมชาติ

10.2 ระดับเตือนภัย (Warning) หมายถึง โครงสร้างและองค์ประกอบบางส่วนของทรัพยากรป่าไม้ถูก
รบกวนทาใหก้ ารทาหน้าทข่ี องระบบไมส่ มบูรณ์ แตส่ ามารถกลับตวั ฟ้ืนสู่สภาพเดิมไดใ้ นเวลาไม่นาน

10.3 ระดับเส่ียงภัย (Risky) หมายถึง มีการรบกวนโครงสร้าง และองค์ประกอบของทรัพยากรป่าไม้ ทา
ให้บางส่วนมีจานวนลดลง และมีชนิดอื่นเข้ามาทดแทน หรือมีบางอย่างมีจานวนมากเกินไป ทาให้การทางาน
ของระบบนิเวศในทรพั ยากรป่าไม้เปลย่ี นไปจากเดมิ ตอ้ งใช้เวลานานมากกว่าจะกลบั คืนสูส่ ภาพเดมิ

10.4 ระดับวิกฤติ (Crisis) หมายถึง ในทรัพยากรป่าไม้ ถูกรบกวนทาให้โครงสร้างและองค์ประกอบบาง
ชนิดเหลือน้อย หรือสูญพันธ์ุไปจากระบบหรือไม่ทาหน้าท่ีของตนเอง ทาให้การทางานของระบบนิเวศไม่ครบ
วงจร หรือมีประสิทธิภาพลดลงแต่สามารถฟื้นกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติได้โดยต้องใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยจึงจะ
กลับคนื สู่สภาพเดมิ ได้

1616

ผลกำรสำรวจและวเิ ครำะห์ข้อมูลทรพั ยำกรปำ่ ไม้

1. กำรวำงแปลงตวั อย่ำง

ภำพที่ 5 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมิประเทศของอุทยำนแห่งชำตหิ ว้ ยนำดงั

17

*Droppoint เน่ืองจากพื้นท่ีเป็นเส้นทางลาเลียงยาเสพตดิ /พื้นที่ในการควบคมุ ของทหาร/พื้นทเ่ี สีย่ งภยั จงึ ไมส่ ามารถทา
การสารวจได้

ภำพท่ี 6 แปลงตัวอยำ่ งท่ไี ดด้ ำเนินกำรสำรวจภำคสนำมในอทุ ยำนแหง่ ชำติหว้ ยนำดัง
2. พืนทปี่ ่ำไม้

จากการสารวจ พบว่า มชี นดิ ป่าหรอื ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ินอยู่ 6 ประเภท ไดแ้ ก่ ปา่ ดบิ แล้ง ปา่
ดบิ เขา ปา่ สนเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรงั และพ้ืนท่ีอ่นื ๆ โดยป่าดบิ เขาพบมากทีส่ ุด มีจานวน 53 แปลง คดิ
เป็นเฮคแตรไ์ ด้ 42,814.43 เฮกแตร์ หรือ 267,590.16 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 34.19 ของพืน้ ท่ีสารวจ รองลงมา คือ
ปา่ เบญจพรรณ พบจานวน 47 แปลง คดิ เปน็ เฮคแตร์ได้ 37,967.51 เฮคแตร์ หรือ 237,296.94 ไร่ คิดเป็นรอ้ ย
ละ 30.32 ของพ้นื ที่สารวจ รายละเอยี ดดังตารางที่ 2

1818

ตำรำงท่ี 2 พืนท่ปี ำ่ ไมจ้ ำแนกตำมลักษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ในอุทยำนแหง่ ชำตหิ ้วยนำดัง

(Area by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ พืนที่ รอ้ ยละ

(Landuse Type) ตร.กม. เฮคแตร์ ไร่ ของพนื ที่ทังหมด

ปา่ ดิบแล้ง 88.86 8,886.01 55,537.58 7.10

(Dry Evergreen Forest)

ป่าดิบเขา 428.14 42,814.43 267,590.16 34.19

(Hill Evergreen Forest)

ป่าสนเขา 40.39 4,039.10 25,244.35 3.23

(Pine Forest)

ป่าเบญจพรรณ 379.68 37,967.51 237,296.94 30.32

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าเต็งรงั 250.42 25,042.40 156,515.00 20.00

(Dry Dipterocarp Forest)

พ้นื ทีอ่ ื่นๆ 64.63 6,462.55 40,390.97 5.16

(Others)

รวม (Total) 1,252.12 125,212.00 782,575.00 100.00

ภำพที่ 7 พืนที่ป่ำไมจ้ ำแนกตำมลกั ษณะกำรใช้ประโยชน์ที่ดินในอทุ ยำนแห่งชำติห้วยนำดัง

19
ภำพที่ 8 ลกั ษณะทั่วไปของป่ำดบิ แลง้ ในพืนทอ่ี ุทยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดัง
ภำพที่ 9 ลกั ษณะท่ัวไปของป่ำดิบเขำในพนื ท่ีอทุ ยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดัง

2020
ภำพท่ี 10 ลักษณะท่วั ไปของปำ่ สนเขำในพืนที่อุทยำนแห่งชำติห้วยนำดัง
ภำพที่ 11 ลักษณะทัว่ ไปของปำ่ เบญจพรรณพืนท่ีอทุ ยำนแห่งชำตหิ ว้ ยนำดงั

21

ภำพที่ 12 ลักษณะทั่วไปของปำ่ เตง็ รังในพืนที่อทุ ยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดัง
3. ปรมิ ำณไม้

จากการวิเคราะห์เก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตรและความหนาแน่นของต้นไม้ในพ้ืนที่ป่า โดยการ
สารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพ้นื ทีเ่ ขตจานวนท้ังสิ้น 155 แปลง พบลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
ที่สารวจพบท้ัง 6 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าสนเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังและพ้ืนท่ีอ่ืน ๆ พบ
ไม้ยืนต้นท่ีมีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15
เซนตเิ มตรขึ้นไป ทั้งหมดมี 77 วงศ์ 221 สกุล 419 ชนิด 10,583 ตน้

ปริมาตรไม้ทั้งหมด 20,879,404.22 ลูกบาศก์เมตร เฉล่ีย 26.68 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ หรือ 166.75
ลูกบาศก์เมตรต่อเฮคแตร์ มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉล่ีย 682.77 ต้นต่อเฮคแตร์ และเฉลี่ย 109.24 ต้นต่อไร่
พบปรมิ าณไม้มากสุดในป่าดิบเขา จานวน 34,001,117 ต้น และรองลงมา คอื ป่าเต็งรัง พบจานวน 22,085,781 ตน้
สาหรบั ปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าดิบเขา จานวน 9,801,133.79 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ
จานวน 4,798,805.34 ลูกบาศก์เมตร รายละเอยี ดดังตารางที่ 3 และ 4 ตามลาดับ

2222

ตำรำงที่ 3 ปริมำณไม้ทังหมดจำแนกตำมลกั ษณะกำรใช้ประโยชนท์ ดี่ ินในเนือทอี่ ุทยำนแห่งชำติห้วยนำดัง

(Volume by Landuse Type)

ลักษณะกำรใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ จำนวน ปรมิ ำตร

(Landuse Type) (ต้น) (ลบ.ม.)

ปา่ ดบิ แลง้ 7,003,794 1,488,790.61

(Dry Evergreen Forest)

ปา่ ดิบเขา 34,001,117 9,801,133.79

(Hill Evergreen Forest)

ป่าสนเขา 2,964,697 641,842.29

(Pine Forest)

ป่าเบญจพรรณ 19,193,788 4,798,805.34

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ เต็งรัง 22,085,781 4,052,834.48

(Dry Dipterocarp Forest)

พน้ื ทอี่ ืน่ ๆ 242,346 95,997.70

(Others)

รวม (Total) 85,491,523 20,879,404.22

ภำพที่ 13 ปริมำณตน้ ไม้ทงั หมดในปำ่ แต่ละประเภทในพืนท่อี ทุ ยำนแห่งชำติห้วยนำดัง

23

ตำรำงท่ี 4 ควำมหนำแนน่ และปริมำตรไมต้ ่อหน่วยพนื ทจ่ี ำแนกตำมลักษณะกำรใช้ประโยชน์ท่ดี ิน

ในอุทยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดัง (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใช้ประโยชนท์ ี่ดิน ควำมหนำแน่น ปริมำตร

(Landuse Type) ต้น/ไร่ ตน้ /เฮคแตร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮคแตร์

ป่าดบิ แลง้ 126.11 788.18 26.81 167.54

(Dry Evergreen Forest)

ปา่ ดิบเขา 127.06 794.15 36.63 228.92

(Hill Evergreen Forest)

ป่าสนเขา 117.44 734.00 25.43 158.91

(Pine Forest)

ป่าเบญจพรรณ 80.89 505.53 20.22 126.39

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ เต็งรัง 141.11 881.94 25.89 161.84

(Dry Dipterocarp Forest)

พน้ื ทอ่ี ื่นๆ 6.00 37.50 2.38 14.85

(Others)

เฉล่ยี (Average) 109.24 682.77 26.68 166.75

ภำพท่ี 14 ควำมหนำแนน่ (ตน้ /ไร่) ในป่ำแตล่ ะประเภทในพนื ที่อุทยำนแหง่ ชำตหิ ้วยนำดัง

2424

ภำพท่ี 15 ปรมิ ำตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในปำ่ แตล่ ะประเภทในพนื ที่อุทยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดงั

ตำรำงท่ี 5 กำรกระจำยขนำดควำมโตของไมท้ ังหมดในอุทยำนแหง่ ชำตหิ ้วยนำดัง

ขนำดควำมโต (GBH) ปรมิ ำณไมท้ ังหมด (ต้น) รอ้ ยละ (%)

15 - 45 ซม. 54,624,745 63.89

> 45 - 100 ซม. 23,249,041 27.19

> 100 ซม. 7,617,737 8.91

รวม 85,491,523 100.00

25
ภำพท่ี 16 กำรกระจำยขนำดควำมโตของปรมิ ำณไม้ (ต้น) ในพนื ท่ีอุทยำนแหง่ ชำติห้วยนำดัง
ภำพที่ 17 กำรกระจำยขนำดควำมโตของปริมำณไม้ (ร้อยละ) ในพนื ที่อทุ ยำนแหง่ ชำติหว้ ยนำดัง

2626

4. ชนิดพันธไุ์ ม้

ชนดิ พันธ์ไุ ม้ทส่ี ารวจพบในภาคสนาม จาแนกโดยใช้เจา้ หน้าท่ผี ู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธุ์ไม้ช่วยจาแนกชนิด
พันธ์ุไม้ท่ีถูกต้อง และบางครั้งจาเป็นต้องใช้ราษฎรในพ้ืนที่ซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจาถิ่นช่วยในการเก็บ
ข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธ์ุไม้ เพ่ือนามาให้ผู้เช่ียวชาญด้านพันธุ์ไม้ในสานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ที่ 16
(เชียงใหม่) เจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง และสานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ช่วยจาแนก
ชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องอีกคร้ังหน่ึง ชนิดพันธุ์ไม้ส่วนใหญ่ท่ีพบ มักจะเป็นพันธุ์ไม้ท่ีรู้จักและคุ้นเคย
สาหรบั เจา้ หนา้ ทที่ ท่ี าการสารวจอยู่แล้ว โดยชนิดพนั ธุ์ไม้ทพ่ี บท้ังหมดในแปลงสารวจ มี 77 วงศ์ 221 สกุล 419 ชนดิ
10,583 ต้น และต้นไม้ท่ียังไม่ทราบชนิด (Unknow) อีกจานวน 179 ต้น ซึ่งเม่ือเรียงลาดับจากปริมาตรไม้ที่พบ
มากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) รัง (Shorea siamensis) ก่อเดือย
(Castanopsis acuminatissima) มังตาน (Schima wallichii) เต็ง (Shorea obtusa) ก่อหรง่ั (Castanopsis
armata) สนสองใบ (Pinus merkusii) สนสามใบ (Pinus kesiya) ก่อตาควาย (Quercus brandisiana) คา่ หด
(Engelhardtia spicata) ตามลาดับ รายละเอียดดังตารางท่ี 6

ในป่าดบิ แล้ง มีปริมาณไม้รวม 7,003,794 ตน้ คดิ เปน็ ปรมิ าตรไม้รวม 1,488,790.61 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉลี่ย 126.11 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 26.81 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้มาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อหร่ัง (Castanopsis armata) มังตาน (Schima wallichii) มาง (Canarium
euphyllum) จุมปี (Michelia baillonii) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) ก่อเหน่ง (Lithocarpus
grandifolius) ยมหิน (Chukrasia tabularis) ค่าหด (Engelhardtia spicata) ตะคร้า (Garuga pinnata)
เตมิ (Bischofia javensis) ตามลาดบั รายละเอียดดงั ตารางท่ี 7

ในป่าดิบเขา มีปริมาณไม้รวม 34,001,117 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 9,801,133.79 ลูกบาศก์เมตร มี
ค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 127.06 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 36.63 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) มังตาน (Schima wallichii) ก่อหรั่ง
(Castanopsis armata) สนสามใบ (Pinus kesiya) ค่าหด (Engelhardtia spicata) มะเมา่ ดง (Antidesma
bunius) ชิบะดุ (Mastixia euonymoides) มะมุ่นดง (Elaeocarpus sphaericus) ก่อตาควาย (Quercus
brandisiana) ก่อแพะ (Quercus kerrii) ตามลาดับ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 8

ในป่าสนเขา ปริมาณไม้รวม 2,964,697 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 641,842.29 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉล่ีย 117.44 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 25.43 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สนสองใบ (Pinus merkusii) ก่อตาควาย (Quercus brandisiana) พลวง
(Dipterocarpus tuberculatus) สนสามใบ (Pinus kesiya) ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) ก้าว
(Tristaniopsis burmanica) รักใหญ่ (Gluta usitata) เต็ง (Shorea obtusa) กางหลวง (Albizia chinensis)
รงั (Shorea siamensis) ตามลาดับ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 9

27

ในป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 19,193,788 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 4,798,805.34
ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 80.89 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 20.22 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มี
ปริมาตรไมม้ ากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สัก (Tectona grandis) รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa)
มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) ง้ิวป่าดอกแดง (Bombax insigne) มะกอกเกลื้อน (Canarium
subulatum) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) งิ้วป่า (Bombax anceps) พะยอม (Shorea roxburghii)
มะสา้ น (Dillenia aurea) ตามลาดับ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 10

ในป่าเต็งรงั มีปรมิ าณไมร้ วม 22,085,781 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 4,052,834.48 ลกู บาศกเ์ มตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉล่ีย 141.11 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 25.89 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้มาก
ท่ีสุด อันดับแรก ได้แก่ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) รัง (Shorea siamensis) เต็ง (Shorea
obtusa) สนสองใบ (Pinus merkusii) ก่อแดง (Lithocarpus trachycarpus) รักใหญ่ (Gluta usitata) กอ่ ตาควาย
(Quercus brandisiana) รกฟ้า (Terminalia alata) ก้าว (Tristaniopsis burmanica) สนสามใบ (Pinus
kesiya) ตามลาดับ ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 11

ในพน้ื ท่ีอืน่ ๆ มีปริมาณไม้รวม 242,346 ต้น คดิ เป็นปริมาตรไม้รวม 95,997.70 ลกู บาศกเ์ มตร มคี า่ ความ
หนาแน่นเฉลี่ย 6.00 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 2.38 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากท่ีสุด 10
อันดับแรก ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ซ้อ (Gmelina arborea) เด่ือปล้องหิน (Ficus semicordata)
มะแฟน (Protium serratum) ลาไยป่า (Paranephelium xestophyllum) มะยมป่า (Ailanthus triphysa) สมพง
(Tetrameles nudiflora) กระทุ่ม (Anthocephalus chinensis) ปอเลียงฝ้าย (Eriolaena candollei) รัก
(Gluta glabra) ตามลาดบั ดงั รายละเอียดในตารางที่ 12

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ท่ีพบในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง จานวน 176 ชนิด รวมทั้งส้ิน
42,313,578 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 54.07 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) ก้าว (Tristaniopsis burmanica) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima)
ขวา้ ว (Haldina cordifolia) หัวแหวน (Vaccinium sprengelii) รัง (Shorea siamensis) พะยงู (Dalbergia
cochinchinensis) ตาฉี่เคย (Craibiodendron stellatum) ข้าวสารป่า (Pavetta tomentosa) ก่อแพะ
(Quercus kerrii) ตามลาดับ ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 13

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง มีจานวน 189 ชนิด รวมทั้งส้ิน
154,293,497 ต้น มีความหนาแน่นของลูกไม้ 197.15 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) กายาน (Styrax benzoides) ส้านเห็บ (Saurauia roxburghii)
ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) ลาดวนดง (Mitrephora thorelii) เต็ง (Shorea obtusa) พญารากดา
(Diospyros variegata) แดง (Xylia xylocarpa) อูน (Viburnum sambucinum) แหลบุก (Phoebe lanceolata)
ตามลาดบั รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 14

2828

สาหรับไม้ไผ่ ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง ชนิดพันธ์ุของไม้ไผ่ที่พบมี 5 ชนิด คือ ไผ่ซาง
(Dendrocalamus strictus) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่บง (Bambusa nutans) ไผ่ซางนวล
(Dendrocalamus membranaceus) ไผ่หอม (Bambusa polymorpha) พบปริมาณไม้ไผ่จานวน 7,044,185 กอ
รวมทั้งสนิ้ 76,193,522 ลา ความหนาแน่น 9.00 กอตอ่ ไร่ และ 97.36 ลาตอ่ ไร่ ดังรายละเอียดในตารางที่ 15

ชนิดและปริมาณของตอไมท้ ่ีพบในพืน้ ท่ีอุทยานแห่งชาติหว้ ยนา้ ดงั รวมทงั้ สิน้ 1,130,947 ตอ มี
ความหนาแนน่ ของตอไม้ 1.45 ตอตอ่ ไร่ โดยชนิดตอไมท้ ่ีพบ 10 อนั ดบั แรก คือ สกั (Tectona grandis) ก่อ
แดง (Lithocarpus trachycarpus) รกฟ้า (Terminalia alata) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) รัง
(Shorea siamensis) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) พะยอม (Shorea roxburghii) ฮักน้อย
(Gluta obovata) ปอแตง (Colona elobata) และเก็ดดา (Dalbergia assamica) ตามลาดบั รายละเอียดดงั
ตารางท่ี 16

29

ตำรำงท่ี 6 ปริมำณไมท้ ังหมดของอทุ ยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดงั (30 ชนดิ แรกที่มปี ริมำตรไมส้ ูงสดุ )

ลำดบั ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ชื่อวิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ปรมิ ำตรไม้ ควำมหนำแน่น ปริมำตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

1 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 5,775,908 1,091,596.08 7.38 1.39
2 รงั Shorea siamensis 3,207,043 1,035,358.56 4.10 1.32

3 กอ่ เดือย Castanopsis acuminatissima 1,526,779 996,772.92 1.95 1.27
4 มังตาน Schima wallichii 1,672,186 873,936.97 2.14 1.12

5 เต็ง Shorea obtusa 5,460,859 798,559.10 6.98 1.02
6 ก่อหรง่ั Castanopsis armata 1,211,729 744,655.09 1.55 0.95
7 สนสองใบ Pinus merkusii 724,490.01 0.56 0.93
436,222

8 สนสามใบ Pinus kesiya 622,021 602,977.37 0.79 0.77
9 ก่อตาควาย Quercus brandisiana 2,245,738 511,776.65 2.87 0.65
10 ค่าหด Engelhardtia spicata 468,236.74 0.74 0.60
581,630

11 สกั Tectona grandis 977,461 372,461.48 1.25 0.48
12 มะเม่าดง Antidesma bunius 355,441 314,812.71 0.45 0.40
13 รักใหญ่ Gluta usitata 751,272 288,928.99 0.96 0.37

14 ซิบะดุ Mastixia euonymoides 48,469 285,346.20 0.06 0.36
15 มะมนุ่ ดง Elaeocarpus sphaericus 218,111 278,418.22 0.28 0.36

16 กอ่ แพะ Quercus kerrii 775,507 257,451.34 0.99 0.33
17 แดง Xylia xylocarpa 1,130,947 249,242.89 1.45 0.32
18 พะยอม Shorea roxburghii 240,625.08 0.73 0.31
573,552

19 กอ่ แดง Lithocarpus trachycarpus 775,507 238,640.66 0.99 0.30
20 จมุ ปี Michelia baillonii 347,362 214,369.53 0.44 0.27

21 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 355,441 213,563.20 0.45 0.27

22 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 832,054 211,550.11 1.06 0.27
274,659 206,674.31 0.35 0.26
23 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus

24 มะส้าน Dillenia aurea 306,971 195,462.27 0.39 0.25
1,114,791 188,396.70 1.42 0.24
25 ก้าว Tristaniopsis burmanica 179,065.84 0.36 0.23
282,737
26 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans

27 งิว้ ปา่ Bombax anceps 258,502 166,850.47 0.33 0.21
28 กอ่ แปน้ Castanopsis diversifolia 105,017 157,785.95 0.13 0.20

29 ง้วิ ปา่ ดอกแดง Bombax insigne 96,938 156,319.79 0.12 0.20
630,099 155,341.65 0.81 0.20
30 กอ่ หยมุ Castanopsis argyrophylla 52,540,571 8,459,737.37 67.14 10.81

31 อน่ื ๆ Others

รวม (Total) 85,491,522 20,879,404.22 109.22 26.68

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธไ์ุ มท้ สี่ ารวจพบท้ังหมด 419 ชนดิ

3030

ตำรำงที่ 7 ปริมำณไมใ้ นป่ำดิบแลง้ ของอุทยำนแห่งชำตหิ ้วยนำดงั (30 ชนิดแรกท่ีมีปริมำตรไมส้ งู สุด)

ลำดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชอื่ วทิ ยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ปรมิ ำตรไม้ ควำมหนำแนน่ ปรมิ ำตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)

1 ก่อหร่ัง Castanopsis armata 185,798.45 83,734.35 3.35 1.51
2 มังตาน Schima wallichii 88,860.13 69,020.15 1.60 1.24

3 มาง Canarium euphyllum 32,312.77 64,682.54 0.58 1.17
4 จุมปี Michelia baillonii 48,469.16 59,682.91 0.87 1.08

5 ก่อเดือย Castanopsis acuminatissima 64,625.55 50,559.50 1.16 0.91
6 กอ่ เหนง่ Lithocarpus grandifolius 8,078.19 49,450.20 0.15 0.89
7 ยมหนิ Chukrasia tabularis 8,078.19 48,086.32 0.15 0.87

8 คา่ หด Engelhardtia spicata 72,703.74 43,780.96 1.31 0.79
9 ตะคร้า Garuga pinnata 56,547.35 42,789.96 1.02 0.77
10 เตมิ Bischofia javensis 48,469.16 41,235.87 0.87 0.74

11 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 129,251.10 40,174.60 2.33 0.72
12 หมีเหม็น Litsea glutinosa 96,938.32 33,654.83 1.75 0.61
13 สมพง Tetrameles nudiflora 40,390.97 29,978.16 0.73 0.54

14 ทังใบช่อ Nothaphoebe umbelliflora 24,234.58 29,764.92 0.44 0.54
15 ยางโอน Polyalthia viridis 88,860.13 28,672.03 1.60 0.52

16 จาปีป่า Michelia floribunda 8,078.19 27,997.54 0.15 0.50
32,312.77 26,115.31 0.58 0.47
17 หวา้ Syzygium cumini 24,234.58 24,090.74 0.44 0.43

18 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum

19 หงอนไกด่ ง Harpullia cupanioides 40,390.97 22,650.76 0.73 0.41
20 เลยี ง Berrya mollis 64,625.55 20,768.82 1.16 0.37

21 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 113,094.71 19,724.02 2.04 0.36

22 หวา้ ขก้ี วาง Canthium umbellatum 24,234.58 19,178.28 0.44 0.35
23 มะเขอื ขื่น Beilschmiedia globularia 32,312.77 18,596.80 0.58 0.34

24 เน่าใน Ilex umbellulata 8,078.19 18,537.28 0.15 0.33
153,485.68 18,326.00 2.76 0.33
25 กายาน Styrax benzoides 48,469.16 17,932.90 0.87 0.32

26 เหมือดคนตัวผู้ Helicia nilagirica

27 น่องขาว Alstonia rostrata 16,156.39 17,153.67 0.29 0.31
28 โพบาย Balakata baccata 8,078.19 16,816.89 0.15 0.30

29 แขง้ กวางดง Wendlandia paniculata 153,485.68 15,489.34 2.76 0.28
30 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 40,390.97 15,329.23 0.73 0.28
31 อ่ืน ๆ Others 5,242,748 474,815.73 94.40 8.55

รวม (Total) 7,003,794 1,488,790.61 126.11 26.81

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไ์ุ ม้ทส่ี ารวจพบทัง้ หมด 164 ชนิด

31

ตำรำงที่ 8 ปริมำณไม้ในป่ำดิบเขำของอทุ ยำนแหง่ ชำติห้วยนำดัง (30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมำตรไมส้ ูงสุด)

ลำดับ ชนิดพันธไุ์ ม้ ชื่อวิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ปริมำตรไม้ ควำมหนำแนน่ ปรมิ ำตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 กอ่ เดอื ย Castanopsis acuminatissima 1,300,589 865,088.90 4.86 3.23
2 มังตาน Schima wallichii 1,502,544 750,561.33 5.62 2.80

3 ก่อหรั่ง Castanopsis armata 953,227 651,881.14 3.56 2.44
4 สนสามใบ Pinus kesiya 436,222 474,727.43 1.63 1.77

5 ค่าหด Engelhardtia spicata 347,362 376,775.81 1.30 1.41
6 มะเมา่ ดง Antidesma bunius 290,815 312,786.45 1.09 1.17
7 ซิบะดุ Mastixia euonymoides 48,469 285,346.20 0.18 1.07

8 มะมนุ่ ดง Elaeocarpus sphaericus 193,877 272,459.82 0.72 1.02
9 ก่อตาควาย Quercus brandisiana 1,211,729 268,599.09 4.53 1.00
10 ก่อแพะ Quercus kerrii 181,766.11 1.15 0.68
306,971

11 ก่อแปน้ Castanopsis diversifolia 72,704 147,184.40 0.27 0.55
12 จุมปี Michelia baillonii 250,424 134,783.32 0.94 0.50
13 ก่อหยุม Castanopsis argyrophylla 411,988 126,927.43 1.54 0.47

14 มะยาง Sarcosperma arboreum 363,519 126,238.14 1.36 0.47
15 พรมคต Heliciopsis terminalis 387,753 110,992.80 1.45 0.41

16 รกั ขาว Semecarpus cochinchinensis 185,798 106,145.14 0.69 0.40
17 ไทรหิน Ficus curtipes 16,156 105,732.98 0.06 0.40
18 หน่วยนกงุม Beilschmiedia gammieana 258,502 104,812.92 0.97 0.39

19 ฮักน้อย Gluta obovata 323,128 98,964.62 1.21 0.37
20 ซ้อ Gmelina arborea 121,173 96,834.64 0.45 0.36

21 รักใหญ่ Gluta usitata 64,626 93,162.76 0.24 0.35

22 พะยอม Shorea roxburghii 266,580 92,599.96 1.00 0.35
23 มณฑา Magnolia liliifera 16,156 90,704.48 0.06 0.34

24 สะทบิ Phoebe paniculata 508,926 89,757.05 1.90 0.34
25 กอ่ ใบรี Quercus angustinii 121,173 89,537.44 0.45 0.33
26 ลาไย Dimocarpus longan 234,268 86,552.81 0.88 0.32

27 กายาน Styrax benzoides 1,235,964 86,112.36 4.62 0.32
153,486 81,806.41 0.57 0.31
28 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans

29 หมีเหมน็ Litsea glutinosa 347,362 79,177.61 1.30 0.30
30 ก่อใบเลื่อม Castanopsis tribuloides 315,050 78,966.33 1.18 0.30
31 อืน่ ๆ Others 21,754,575 3,334,147.93 81.30 12.46

รวม (Total) 34,001,117 9,801,133.79 127.06 36.63

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุ์ไมท้ ส่ี ารวจพบทง้ั หมด 282 ชนิด

3232

ตำรำงที่ 9 ปริมำณไมใ้ นป่ำสนเขำของอุทยำนแหง่ ชำตหิ ว้ ยนำดงั (30 ชนิดแรกท่ีมีปริมำตรไม้สูงสุด)

ลำดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ชื่อวิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ปริมำตรไม้ ควำมหนำแนน่ ปริมำตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 สนสองใบ Pinus merkusii 201,955 142,121.31 8.00 5.63
2 ก่อตาควาย Quercus brandisiana 605,865 98,817.30 24.00 3.91

3 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 436,222 67,681.69 17.28 2.68
4 สนสามใบ Pinus kesiya 137,329 65,215.98 5.44 2.58

5 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 40,391 56,231.49 1.60 2.23
6 กา้ ว Tristaniopsis burmanica 411,988 55,013.10 16.32 2.18
7 รักใหญ่ Gluta usitata 56,547 51,348.30 2.24 2.03

8 เต็ง Shorea obtusa 444,301 33,132.85 17.60 1.31
9 กางหลวง Albizia chinensis 16,156 17,857.31 0.64 0.71
10 รงั Shorea siamensis 16,156 11,156.10 0.64 0.44

11 ก่อใบเลื่อม Castanopsis tribuloides 48,469 8,614.33 1.92 0.34
12 มงั ตาน Schima wallichii 8,078 6,731.31 0.32 0.27
13 กายาน Styrax benzoides 24,235 3,986.19 0.96 0.16

14 กอ่ หยมุ Castanopsis argyrophylla 56,547 3,832.72 2.24 0.15
15 หวั แหวน Vaccinium sprengelii 96,938 3,432.67 3.84 0.14

16 กอ่ แพะ Quercus kerrii 40,391 2,852.20 1.60 0.11
17 สม้ สา Myrica rubra 8,078 2,043.32 0.32 0.08
18 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 48,469 1,851.59 1.92 0.07

19 ปอตู๊บหูช้าง Sterculia villosa 8,078 1,554.22 0.32 0.06
20 ตาฉีเ่ คย Craibiodendron stellatum 64,626 1,374.10 2.56 0.05

21 ไครม้ ด Glochidion acuminatum 8,078 1,270.84 0.32 0.05

22 โลด Aporosa villosa 8,078 1,101.84 0.32 0.04
8,078 726.06 0.32 0.03
23 มะม่วงหัวแมงวนั Buchanania lanzan

24 มะควดั Ziziphus rugosa 24,235 530.62 0.96 0.02
25 พรมคต Heliciopsis terminalis 8,078 519.63 0.32 0.02
26 กอ่ พวง Lithocarpus fenestratus 16,156 475.32 0.64 0.02

27 ชิงชัน Dalbergia oliveri 8,078 332.48 0.32 0.01
28 ตูมกาขาว Strychnos nux-blanda 8,078 315.8 0.32 0.01

29 กอ่ แดง Quercus kingiana 8,078 251.64 0.32 0.01
30 ปลายสาน Eurya acuminata 8,078 243.45 0.32 0.01
31 อ่ืน ๆ Others 88,860 1,226.53 3.52 0.05

รวม (Total) 2,964,697 641,842.29 117.44 25.43

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไ์ุ ม้ทสี่ ารวจพบทั้งหมด 39 ชนดิ

33

ตำรำงท่ี 10 ปริมำณไม้ในปำ่ เบญจพรรณของอุทยำนแห่งชำติห้วยนำดัง (30 ชนดิ แรกที่มีปริมำตรไม้สูงสดุ )

ลำดับ ชนดิ พันธไุ์ ม้ ช่อื วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ปริมำตรไม้ ควำมหนำแน่น ปริมำตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)

1 สกั Tectona grandis 977,461 372,461.48 4.12 1.57
371,597 284,937.42 1.57 1.20
2 รัง Shorea siamensis 1,106,713 246,844.05 4.66 1.04
274,659 190,424.16 1.16 0.80
3 แดง Xylia xylocarpa 88,860 156,242.81 0.37 0.66
517,004 148,946.07 2.18 0.63
4 มะเกลอื เลือด Terminalia mucronata 210,033 144,360.21 0.89 0.61
113,095 128,501.25 0.48 0.54
5 งิ้วป่าดอกแดง Bombax insigne 226,189 124,226.63 0.95 0.52
185,798 118,689.86 0.78 0.50
6 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 420,066 117,814.70 1.77 0.50
371,597 108,381.14 1.57 0.46
7 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 96,568.22 0.03 0.41
8,078 78,155.07 1.26 0.33
8 ง้วิ ป่า Bombax anceps 298,893 77,244.16 2.62 0.33
622,021 71,221.50 2.21 0.30
9 พะยอม Shorea roxburghii 525,083 70,281.62 0.48 0.30
113,095 61,407.16 0.92 0.26
10 มะสา้ น Dillenia aurea 218,111 59,748.15 0.27 0.25
64,626 55,751.35 0.68 0.23
11 เต็ง Shorea obtusa 161,564 55,292.46 1.29 0.23
306,971 54,613.94 0.10 0.23
12 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 24,235 51,758.25 0.37 0.22
88,860 50,666.06 1.29 0.21
13 สนสองใบ Pinus merkusii 306,971 46,155.92 0.14 0.19
32,313 41,647.18 1.33 0.18
14 ก๊กุ Lannea coromandelica 315,050 39,807.52 0.41 0.17
96,938 39,631.24 0.61 0.17
15 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 145,407 39,491.34 0.68 0.17
161,564 38,725.65 1.09 0.16
16 รกฟา้ Terminalia alata 258,502 1,628,808.72 44.60 6.86
10,582,434
17 ก่อเดอื ย Castanopsis acuminatissima

18 กอ่ แดง Lithocarpus trachycarpus

19 พญารากดา Diospyros variegata

20 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri

21 มะแฟน Protium serratum

22 ก่อแดง Quercus kingiana

23 แหนนา Terminalia glaucifolia

24 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana

25 ลาไย Dimocarpus longan

26 กางขีม้ อด Albizia odoratissima

27 สมอไทย Terminalia chebula

28 คา่ หด Engelhardtia spicata

29 เสลาเปลอื กหนา Lagerstroemia villosa

30 ผา่ เส้ียน Vitex canescens

31 อ่นื ๆ Others

รวม (Total) 19,193,788 4,798,805.34 80.89 20.22

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธ์ุไม้ทส่ี ารวจพบท้งั หมด 255 ชนิด

3434

ตำรำงท่ี 11 ปริมำณไมใ้ นป่ำเตง็ รังของอุทยำนแหง่ ชำติห้วยนำดงั (30 ชนดิ แรกที่มีปรมิ ำตรไมส้ งู สุด)

ลำดับ ชนิดพันธไุ์ ม้ ชื่อวิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ปริมำตรไม้ ควำมหนำแน่น ปรมิ ำตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

1 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 4,968,089 915,533.25 31.74 5.85
2 รงั Shorea siamensis 2,819,290 739,265.04 18.01 4.72

3 เต็ง Shorea obtusa 4,580,336 646,352.19 29.26 4.13
4 สนสองใบ Pinus merkusii 226,189 485,800.48 1.45 3.10

5 กอ่ แดง Lithocarpus trachycarpus 557,395 177,233.50 3.56 1.13
6 รักใหญ่ Gluta usitata 500,848 134,168.57 3.20 0.86
7 ก่อตาควาย Quercus brandisiana 331,206 108,089.42 2.12 0.69

8 รกฟ้า Terminalia alata 638,177 64,678.87 4.08 0.41
9 ก้าว Tristaniopsis burmanica 331,206 57,241.30 2.12 0.37
10 สนสามใบ Pinus kesiya 40,391 53,756.73 0.26 0.34

11 กอ่ แพะ Quercus kerrii 210,033 49,257.12 1.34 0.31
436,222 43,463.29 2.79 0.28
12 สมอไทย Terminalia chebula 597,786 37,730.73 3.82 0.24

13 มะม่วงหวั แมงวัน Buchanania lanzan

14 ขว้าว Haldina cordifolia 282,737 30,733.08 1.81 0.20
15 พะยอม Shorea roxburghii 80,782 23,798.49 0.52 0.15

16 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata 64,626 20,657.73 0.41 0.13
17 กอ่ แดง Quercus kingiana 8,078 20,248.43 0.05 0.13
18 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum 145,407 20,248.18 0.93 0.13

19 แข้งกวาง Wendlandia tinctoria 589,708 19,767.74 3.77 0.13
20 งิ้วปา่ Bombax anceps 64,626 17,089.69 0.41 0.11

21 ฮกั น้อย Gluta obovata 88,860 16,167.82 0.57 0.10

22 กอ่ หยมุ Castanopsis argyrophylla 72,704 14,970.91 0.46 0.10
23 เก็ดดา Dalbergia assamica 145,407 14,326.12 0.93 0.09

24 มะกอ่ Lithocarpus ceriferus 24,235 13,727.04 0.15 0.09
25 ก่อกระดมุ Quercus semiserrata 32,313 11,504.21 0.21 0.07
26 ก่อเดอื ย Castanopsis acuminatissima 48,469 10,842.90 0.31 0.07

27 มังตาน Schima wallichii 32,313 9,441.79 0.21 0.06
28 กอ่ สเุ ทพ Lithocarpus craibianus 24,235 9,321.40 0.15 0.06

29 พะยอมเขา Shorea hemsleyana 8,078 9,311.47 0.05 0.06
30 โลด Aporosa villosa 282,737 8,861.60 1.81 0.06
31 อ่ืนๆ Others 3,853,298.32 269,245.41 24.62 1.72

รวม (Total) 22,085,781 4,052,834.48 141.11 25.89

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธุไ์ ม้ทส่ี ารวจพบทัง้ หมด 118 ชนิด

35

ตำรำงท่ี 12 ปรมิ ำณไม้ในพืนท่อี น่ื ๆ ของอทุ ยำนแห่งชำติหว้ ยนำดัง

ลำดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ชื่อวิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ปริมำตรไม้ ควำมหนำแนน่ ปรมิ ำตร
(ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
(ต้น) (ลบ.ม.) 0.20
0.40 1.49
1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 8,078 60,165.47 0.20 0.18
2 ซอ้ Gmelina arborea 16,156 7,147.30 0.20 0.08
0.40 0.07
3 เด่ือปลอ้ งหนิ Ficus semicordata 8,078 3,200.62 0.20 0.07
8,078 2,941.24 0.40 0.06
4 มะแฟน Protium serratum 0.20 0.05
0.60 0.05
5 ลาไยป่า Paranephelium xestophyllum 16,156 2,824.35 0.20 0.03
6 มะยมป่า Ailanthus triphysa 8,078 2,507.93 0.20 0.03
7 สมพง Tetrameles nudiflora 16,156 2,176.65 0.40 0.03
1.20 0.03
8 กระทุ่ม Anthocephalus chinensis 8,078 2,022.24 0.20 0.02
24,235 1,411.19 0.40 0.01
9 ปอเลียงฝา้ ย Eriolaena candollei 8,078 1,176.91 0.20 0.01
0.40 0.12
10 รกั Gluta glabra 6.00 0.04
2.38
11 ตีนนก Vitex pinnata 8,078 1,120.20
12 เพกา Oroxylum indicum 16,156 1,054.84
13 สกั ขี้ไก่ Premna tomentosa 48,469
964.19

14 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 8,078 531.29
15 ช้าแปน้ Callicarpa arborea 16,156 293.97

16 F.FAGACEAE F.FAGACEAE 8,078 4,764.22
17 Unknown Unknown 16,156 1,695.10

รวม (Total) 242,346 95,997.70

3636

ตำรำงท่ี 13 ชนิดและปริมำณของกล้ำไม้ (Seedling) ที่พบในอุทยำนแห่งชำติห้วยนำดัง

(30 ชนิดแรกที่มีปริมำณกล้ำไมส้ ูงสุด)

ลำดบั ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ชอ่ื วิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ควำมหนำแนน่
(ตน้ ) (ต้น/ไร่)

1 เตง็ Shorea obtusa 8,675,980 11.09
2 ก้าว Tristaniopsis burmanica 2,439,614 3.12

3 ก่อเดือย Castanopsis acuminatissima 1,647,951 2.11

4 ขวา้ ว Haldina cordifolia 1,195,573 1.53
5 หวั แหวน Vaccinium sprengelii 904,758 1.16

6 รงั Shorea siamensis 856,289 1.09

7 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 791,663 1.01
8 ตาฉ่เี คย Craibiodendron stellatum 727,037 0.93

9 ขา้ วสารปา่ Pavetta tomentosa 694,725 0.89
10 กอ่ แพะ Quercus kerrii 662,412 0.85
11 เกลด็ ปลาชอ่ น Phyllodium pulchellum 630,099 0.81

12 มะหนามนึง้ Vangueria pubescens 613,943 0.78
13 มะเม่าสาย Antidesma sootepense 549,317 0.70

14 ก่อตาควาย Quercus brandisiana 549,317 0.70

15 ติว้ ขน Cratoxylum formosum 517,004 0.66
16 มะขามปอ้ ม Phyllanthus emblica 436,222 0.56

17 โลด Aporosa villosa 420,066 0.54
18 ตมู กาขาว Strychnos nux-blanda 420,066 0.54
19 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 403,910 0.52

20 ก่อหยุม Castanopsis argyrophylla 403,910 0.52
21 พะยอม Shorea roxburghii 371,597 0.47

22 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 355,441 0.45
23 รกั ใหญ่ Gluta usitata 339,284 0.43
24 กอ่ แดง Lithocarpus trachycarpus 339,284 0.43

25 เสีย้ วปา่ Bauhinia saccocalyx 323,128 0.41
26 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 306,971 0.39
27 แข้งกวาง Wendlandia tinctoria 290,815 0.37

28 แดง Xylia xylocarpa 258,502 0.33
29 เหมือดโลด Polyosma elongata 242,346 0.31

30 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium 242,346 0.31
31 อืน่ ๆ Others 15,704,008 20.07

รวม (Total) 42,313,578 54.07

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธไ์ุ ม้ทสี่ ารวจพบท้งั หมด 176 ชนิด

37

ตำรำงท่ี 14 ชนิดและปริมำณของลูกไม้ (Sapling) ที่พบในอุทยำนแห่งชำติห้วยนำดัง

(30 ชนดิ แรกท่มี ีปรมิ ำณลกู ไมส้ ูงสุด)

ลำดับ ชนดิ พันธุ์ไม้ ชอ่ื วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ควำมหนำแน่น
(ตน้ ) (ต้น/ไร)่
8.46
1 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 6,624,119 7.23
2 กายาน Styrax benzoides 5,654,735 6.61
3 สา้ นเหบ็ Saurauia roxburghii 5,170,044 6.40
5.16
4 กอ่ เดอื ย Castanopsis acuminatissima 5,008,480 4.75
5 ลาดวนดง Mitrephora thorelii 4,039,097 4.13
3.72
6 เต็ง Shorea obtusa 3,715,969 2.89
2.89
7 พญารากดา Diospyros variegata 3,231,277 2.89
8 แดง Xylia xylocarpa 2,908,150 2.89
9 อนู Viburnum sambucinum 2,261,894 2.68
2.68
10 แหลบุก Phoebe lanceolata 2,261,894 2.48
11 ผา่ เส้ยี น Vitex canescens 2,261,894 2.48
2.48
12 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 2,261,894 2.27
13 สะทบิ Phoebe paniculata 2,100,330 2.27
14 มังตาน Schima wallichii 2,100,330 2.27
2.06
15 รกฟ้า Terminalia alata 1,938,766 2.06
16 คาแสด Mallotus philippensis 1,938,766 1.86
17 แข้งกวาง Wendlandia tinctoria 1,938,766 1.86
1.86
18 มะกอกพราน Turpinia pomifera 1,777,203 1.65
19 ขา้ วสารหลวง Ligustrum robustum 1,777,203 1.65
1.65
20 กล้วยฤาษี Diospyros glandulosa 1,777,203 1.65
21 หนามมะเคด็ Canthium parvifolium 1,615,639 1.65
22 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 1,615,639 101.57
197.15
23 ฮอ้ ยจ่ัน Engelhardtia serrata 1,454,075
24 มันปลา Glochidion sphaerogynum 1,454,075

25 กระดุมผี Glochidion rubrum 1,454,075

26 เอ็นอา้ ขน Osbeckia stellata 1,292,511
27 มะเหลย่ี มหิน Rhus javanica 1,292,511

28 พลองกินลูก Memecylon ovatum 1,292,511
29 ปอมนื Colona floribunda 1,292,511
30 คา่ หด Engelhardtia spicata 1,292,511

31 อนื่ ๆ Others 79,489,425

รวม (Total) 154,293,497

หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธุล์ กู ไมท้ ส่ี ารวจพบท้ังหมด 189 ชนิด

3838

ตำรำงที่ 15 ชนดิ และปริมำณไม้ไผ่ที่พบในอุทยำนแห่งชำติหว้ ยนำดัง

ลำดับ ชนดิ พนั ธไ์ุ ผ่ ช่อื วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ไผ่
จำนวนกอ
1 ไผซ่ าง Dendrocalamus strictus จำนวนลำ
4,103,722 42,523,611
2 ไผ่ไร่ Gigantochloa albociliata 1,567,170 18,806,035
1,163,260 11,988,039
3 ไผบ่ ง Bambusa nutans 969,383
129,251 775,507
4 ไผซ่ างนวล Dendrocalamus membranaceus 48,469 1,130,947
32,313 76,193,522
5 ไผ่หอม Bambusa polymorpha 7,044,185

6 Unknown Unknown

รวม (Total)

ตำรำงที่ 16 ปริมำณตอไม้ทังหมดที่พบในอุทยำนแห่งชำติห้วยนำดัง

ปรมิ ำณตอไม้ทงั หมด

ลำดับ ชนิดพันธ์ุไม้ ช่อื วิทยำศำสตร์ จำนวน ควำมหนำแน่น

(ตอ) (ตอ/ไร่)

1 สกั Tectona grandis 290,815 0.37

2 กอ่ แดง Lithocarpus trachycarpus 113,095 0.14

3 รกฟ้า Terminalia alata 96,938 0.12

4 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 80,782 0.10

5 รัง Shorea siamensis 80,782 0.10

6 กอ่ เดือย Castanopsis acuminatissima 64,626 0.08

7 พะยอม Shorea roxburghii 64,626 0.08

8 ฮักนอ้ ย Gluta obovata 32,313 0.04

9 ปอแตง Colona elobata 16,156 0.02

10 เกด็ ดา Dalbergia assamica 16,156 0.02

11 ขว้าว Haldina cordifolia 16,156 0.02

12 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 16,156 0.02

13 กอ่ เหน่ง Lithocarpus grandifolius 16,156 0.02

14 หางรอก Miliusa velutina 16,156 0.02

15 สักข้ไี ก่ Premna tomentosa 16,156 0.02

16 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 16,156 0.02

17 ก่อตาควาย Quercus brandisiana 16,156 0.02

18 เต็ง Shorea obtusa 16,156 0.02

19 ตมู กาขาว Strychnos nux-blanda 16,156 0.02

20 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 16,156 0.02

21 แดง Xylia xylocarpa 16,156 0.02

22 Unknown Unknown 96,938 0.12

รวม (Total) 1,130,947

เฉล่ยี (Average) 1.45

39

5. ข้อมูลสังคมพืช

จากผลการสารวจเก็บและวิเคราะหข์ ้อมูลสงั คมพืชในอุทยานแห่งชาตหิ ้วยน้าดัง พบวา่ มีสงั คมพืช 7
ประเภท คือ ป่าดบิ แลง้ ปา่ ดิบเขา ปา่ สนเขา ปา่ เบญจพรรณ ป่าเตง็ รัง ปา่ ฟนื้ ฟูตามธรรมชาติ และพืชไรอ่ ื่นๆ
และจากการวเิ คราะห์ข้อมลู สงั คมพชื พบความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น
(Dominance) และดัชนคี วามสาคญั ของพรรณไม้ (IVI) ดงั น้ี

ในอทุ ยานแห่งชาติหว้ ยน้าดงั มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (IVI) สูงสดุ 10 อันดบั แรก
ได้แก่ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) เตง็ (Shorea obtuse) รงั (Shorea siamensis) มังตาน (Schima
wallichii) กอ่ เดือย (Castanopsis acuminatissima) กอ่ ตาควาย (Quercus brandisiana) กอ่ หร่งั (Castanopsis
armata) แข้งกวาง (Wendlandia tinctoria) กายาน (Styrax benzoides) และ สนสามใบ (Pinus kesiya)
ตามลาดับ รายละเอยี ดดังตารางท่ี 17

ในพน้ื ท่ีป่าดิบแล้ง มชี นิดไมท้ ่ีมีคา่ ดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สงู สดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่
กอ่ หร่ัง (Castanopsis armata) มะเหลยี่ มหนิ (Rhus javanica) มงั ตาน (Schima wallichii) จุมปี (Michelia
baillonii) แข้งกวางดง (Wendlandia paniculata) กายาน (Styrax benzoides) หมเี หม็น (Litsea glutinosa)
ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ตะคร้า (Garuga pinnata) มาง (Canarium euphyllum) ตามลาดบั
รายละเอยี ดดังตารางที่ 18

ในพ้ืนทป่ี า่ ดิบเขา มชี นิดไม้ท่ีมีคา่ ดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (IVI) สูงสดุ 10 อนั ดบั แรก ได้แก่ มังตาน
(Schima wallichii) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) ก่อหรั่ง (Castanopsis armata) ก่อตา
ควาย (Quercus brandisiana) สนสามใบ (Pinus kesiya) กายาน (Styrax benzoides) แขง้ กวาง
(Wendlandia tinctoria) ค่าหด (Engelhardtia spicata) พรมคต (Heliciopsis terminalis) มะเม่าดง
(Antidesma bunius) ตามลาดับ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 19

ในพืน้ ทป่ี า่ สนเขา มีชนิดไม้ที่มคี ่าดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (IVI) สงู สุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่ กอ่ ตา
ควาย (Quercus brandisiana) สนสองใบ (Pinus merkusii) กา้ ว (Tristaniopsis burmanica) พลวง
(Dipterocarpus tuberculatus) เตง็ (Shorea obtusa) สนสามใบ (Pinus kesiya) รักใหญ่ (Gluta usitata)
ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) หวั แหวน (Vaccinium sprengelii) ตาฉี่เคย (Craibiodendron
stellatum) ตามลาดบั รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 20

ในพื้นที่ป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
สัก (Tectona grandis) แดง (Xylia xylocarpa) รัง (Shorea siamensis) มะกอกเกล้ือน (Canarium
subulatum) ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) เต็ง (Shorea obtusa) รกฟ้า (Terminalia alata) กุ๊ก (Lannea coromandelica) ตามลาดับ
รายละเอียดดงั ตารางท่ี 21

4040

ในพ้ืนท่ีป่าเต็งรัง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ พลวง
(Dipterocarpus tuberculatus) เตง็ (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) สนสองใบ (Pinus merkusii)
รั กใหญ่ (Gluta usitata) ก่ อแดง (Lithocarpus trachycarpus) รกฟ้ า (Terminalia alata) สมอไทย
(Terminalia chebula) มะม่วงหัวแมงวัน (Buchanania lanzan) ก่อตาควาย (Quercus brandisiana)
ตามลาดับ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 22

ในพ้ืนที่พืชที่อื่น ๆ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) ได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) สักขี้ไก่ (Premna tomentosa) ซ้อ (Gmelina arborea) ปอเลียงฝ้าย (Eriolaena candollei)
ลาไยป่า (Paranephelium xestophyllum) สมพง (Tetrameles nudiflora) เพกา (Oroxylum indicum)
ช้าแป้น (Callicarpa arborea) เด่ือปล้องหิน (Ficus semicordata) มะแฟน (Protium serratum) ตามลาดับ
รายละเอียดดงั ตารางที่ 23


Click to View FlipBook Version