รายงานการสาํ รวจทรพั ยากรป่ าไม้
อทุ ยานแห่งชาตนิ าํ้ ตกหว้ ยยาง
กล่มุ งานวิชาการสาํ นักบริหาร
พื้นที่อนุรกั ษ์ที่ 3 (สาขาเพชรบุรี) ส่วนสาํ รวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรป่ าไม้
สาํ นักฟื้ นฟแู ละพฒั นาพื้นที่อนุรกั ษ์ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธพ์ุ ืช พ.ศ. 2557
บบททสสรรุุปปสสําําหหรรัับบผผ้บููบรรหิิหาารร
จากสถานการณปาไมในปจจุบันพบวา พื้นที่ปาไมในประเทศเหลืออยูเพียงประมาณรอยละ 31.57 ของ
พ้ืนที่ประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรปาไมจึงเปนอีกทางหนึ่งที่ทําใหทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากร ตลอดจนปจ จยั ทางเศรษฐกิจและสังคมทมี่ ผี ลตอ การบุกรุกทาํ ลายปา เพอื่ นํามาใชใ นการดาํ เนินการ
ตามภาระรับผดิ ชอบตอ ไป ซึ่งกรมอทุ ยานแหงชาติ สตั วปา และพนั ธพุ ืช ไดดําเนินการมาอยา งตอ เนือ่ ง
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดสรรงบประมาณการ
ดําเนินงาน และกําหนดจุดสํารวจเปาหมายในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยาง ซ่ึงมีเนื้อท่ีประมาณ
100,625.00 ไร หรือ 161 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมอยูในเขตอําเภอเมือง อําเภอทับสะแก และอําเภอ บาง
สะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธซึ่งอยูในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 3 (สาขาเพชรบุรี)
จํานวน 22 แปลง สาํ หรับการวางแปลงตวั อยางถาวร (Permanent Sample Plot) ทีม่ ขี นาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง
ซอนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยูตามทิศ
หลักทงั้ 4 ทิศ
ผลการสํารวจและวิเคราะหขอมูล พบวา มีชนิดปาหรือลักษณะการใชประโยชนที่ดินท่ีสํารวจ 4
ประเภท ไดแ ก ปาดิบชน้ื ปาดิบแลง ปาเบญจพรรณและพ้ืนที่เกษตรกรรม โดยปาดบิ แลง พบมากสดุ คิดเปนรอย
ละ 54.55 ของพื้นท่ีสํารวจ รองลงมา คือ ปาดิบชื้น พื้นที่เกษตรกรรม และปาเบญจพรรณ คิดเปนรอยละ
31.82, 9.09 และ 4.55 ของพื้นที่สาํ รวจตามลําดับ สําหรับพรรณไมร วมทุกชนิดปาพบท้ังส้ิน 39 วงศ 191 ชนิด
จํานวน 11,109,000 ตน โดยมีตนไมที่ยังไมทราบชนิด (Unknown) จํานวน 65,864 ตน และมีปริมาตรไมรวม
ทัง้ หมด 3,131,781.03 ลกู บาศกเ มตร ปริมาตรไมเ ฉล่ีย 39.41 ลกู บาศกเ มตรตอไร มคี วามหนาแนนของตนไม
เฉลี่ย 110.40 ตนตอไร ซ่ึงเมื่อเรียงลําดับชนิดไมที่มีปริมาณไมมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ไดแก กระบกกรัง (Hopea
helferi) ไขเขียว (Parashorea stellate) กระทุมหูกวาง (Neonauclea sessilifolia) ตะเคียนหนู (Anogeissus
acuminate) แกวลาว (Walsura pinnata) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ดําดง (Diospyros pubicalyx)
ยางยูง (Dipterocarpus grandifloras) เค่ียมคะนอง (Shorea henryana) และทองโหลง (Erythrina fusca)
ตามลาํ ดับ โดยปริมาณไมยืนตนท่ีพบมากทสี่ ุดพบในปา ดบิ แลง รองลงมา คือ ปาดบิ ชื้น ปริมาณกลาไม (Seeding)
ท่ีพบในแปลงสํารวจมี 47 ชนิด 30 วงศ 655,709,091 ตน โดยมีตนไมที่ยังไมทราบชนิด (Unknown) จํานวน
87,818,182 ตน ซึ่งเมื่อเรียงลําดับชนิดไมที่มีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ไดแก แขงแคะ (Cleistanthus
papyraceus) เปลาใหญ (Croton roxburghii) คงคาเดอื ด (Arfeuillea arborescens) พลองกนิ ลูก (Memecylon
ovatum) กระแจะ (Naringi crenulata) แกวน้ํา (Cleistanthus hirsutulus) เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia
venusta) สะเตา (Pterospermum grandiflorum) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) และปอขนุน (Sterculia
parviflora) ตามลาํ ดับ โดยสํารวจพบปริมาณกลา ไมมากท่สี ดุ ในพนื้ ทเี่ กษตรกรรม รองลงมาพบในพื้นท่ีปาดิบแลง
สวนลูกไม (Sapling) ท่ีพบในแปลงสาํ รวจมี 66 ชนิด 34 วงศ จํานวนทั้งหมด 210,324,545 ตน ไมทราบชนิด
(Unknown) จํานวน 5,122,727 ตน ซึ่งเมอื่ เรียงลําดับชนิดไมทม่ี ีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ไดแ ก ตะเคียนหนู
(Anogeissus acuminata) ปอข้ีไก (Trema tomentosa) เปลาใหญ (Croton roxburghii) ยู (Pterospermum
pecteniforme) ตะแบกกราย (Terminalia pierrei) แกว (Murraya paniculata) คงคาเดือด (Arfeuillea
arborescens) เม็ก (Macaranga tanarius) แขง แคะ (Cleistanthus papyraceus) และกระเบากลัก (Hydnocarpus
ilicifolia) ตามลําดับ โดยสํารวจพบปริมาณลูกไมมากท่ีสุดในปาดิบแลง รองลงมาคือปาดิบช้ืน และจากการสํารวจ
ชนิดไมไผ พบวามีไผ 3 ชนิด ไดแก ไผไร (Gigantochloa albociliata) ไผรวก (Thyrsostachys siamensis)
และไผกะแสนดาํ (Schizostachyum mekongensis) ซึง่ สํารวจพบเฉพาะในปา ดบิ แลงและปา เบญจพรรณ
สวนผลการวิเคราะหขอมูลสังคมพืช พบวาชนิดไมท่ีมีคาความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Importance
Value Index: IVI) มากท่ีสุด คือ ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) รองลงมา คือ คงคาเดือด
(Arfeuillea arborescens) สวนการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชวี ภาพ พบวา ชนิดปาหรือ
ลักษณะการใชป ระโยชนทด่ี นิ ทีม่ ีความหลากหลายของชนิดพันธไุ ม (Species Diversity) มากทีส่ ดุ คอื ปา ดิบชื้น
รองลงมา คอื ปา ดิบแลง ชนดิ ปา หรอื ลกั ษณะการใชประโยชนท ี่ดนิ ท่มี ีความมากมายของชนิดพันธไุ ม (Species
Richness) มากท่สี ดุ คือ ปาดิบชื้น รองลงมา คอื ปา ดิบแลง และชนดิ ปาหรือลักษณะการใชประโยชนที่ดินที่มี
ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธุไม (Species Evenness) มากที่สุด คือ ปาเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปาดิบช้ืน
และปาดิบแลงตามลาํ ดบั
ผลการวิเคราะหขอมูลโครงสรา งปาในทุกชนดิ ปาหรือทุกลักษณะการใชป ระโยชนท่ีดิน พบวา มีไมยืน
ตนขนาดเสนรอบวงเพียงอก (GBH) ระหวาง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 7,947,545 ตน ขนาดเสนรอบวงเพียง
อก (GBH) อยูระหวาง >45-100 เซนติเมตร จํานวน 2,524,773 ตน และขนาดเสนรอบวงเพียงอก (GBH)
มากกวา 100 เซนติเมตรขน้ึ ไป จํานวน 636,682 ตน
จากผลการดําเนนิ งานดงั กลาว ทาํ ใหทราบขอ มูลพืน้ ฐานเกีย่ วกับทรัพยากรปา ไม โดยเฉพาะดา นกําลัง
ผลติ และความหลากหลายของพนั ธุพชื ในพ้ืนท่ีตาง ๆ ของอุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยาง อกี ทั้งยงั เปนแนวทาง
ในการสํารวจทรัพยากรปาไมเก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบและแบบ
แผน เพ่ือเปนแนวทางในการติดตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรปาไมในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวย
ยางตอไป
สสาารรบบัญัญ i
เรอื่ ง หนา
สารบญั i
สารบญั ตาราง iii
สารบัญภาพ iv
คํานํา 1
วตั ถปุ ระสงค 2
เปาหมายการดาํ เนนิ งาน 2
ขอ มูลทั่วไปอุทยานแหงชาติน้าํ ตกหวยยาง 3
3
ประวตั คิ วามเปนมา 3
ทตี่ ง้ั และลักษณะภูมิประเทศ 4
การเดินทางและเสน ทางคมนาคม 4
ลักษณะภูมอิ ากาศ 5
จดุ เดนที่นาสนใจ 9
รปู แบบและวิธกี ารสํารวจทรัพยากรปาไม 9
การสุมตัวอยา ง (Sampling Design) 10
รปู รา งและขนาดของแปลงตัวอยา ง (Plot Design) 10
ขนาดของแปลงตวั อยางและขอมลู ที่ทําการสํารวจ 11
การวเิ คราะหข อ มูลการสํารวจทรพั ยากรปา ไม 11
1. การคํานวณเน้ือทป่ี า และปรมิ าณไมท้งั หมดของแตล ะพื้นท่ีอนุรกั ษ 11
2. การคํานวณปรมิ าตรไม 13
3. ขอ มลู ทั่วไป 13
4. การวเิ คราะหข อมลู องคป ระกอบของหมูไม 13
5. การวเิ คราะหขอมูลชนิดและปริมาณของลูกไม (Sapling) และกลาไม (Seedling) 13
6. การวเิ คราะหข อมลู ชนิดและปริมาณของไมไผ หวาย 13
7. การวเิ คราะหข อมลู สังคมพืช 14
8. วเิ คราะหขอมูลความหลากหลายชวี ภาพ 16
ผลการสาํ รวจทรัพยากรปาไม 16
1. แปลงตัวอยาง 17
2. พนื้ ทป่ี า ไม 19
3. ปริมาณไม 27
4. ชนดิ พนั ธุไม 41
5. สังคมพืช
สสาารรบบญััญ ((ตตออ)) ii
เรอ่ื ง หนา
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 42
สรปุ ผลการสํารวจและวิเคราะหข อมลู ทรัพยากรปา ไม 43
43
1. ลกั ษณะการใชป ระโยชนท ี่ดนิ 43
2. ชนดิ พนั ธุและปรมิ าณไมต น (Trees) 44
3. ชนิดพันธแุ ละปรมิ าณลูกไม (Sapling) และกลา ไม (Seedling) 44
4. ชนิดพนั ธุและปรมิ าณของไมไผ หวายและไมก อ 44
5. คา ดชั นคี วามสําคญั ทางนเิ วศวทิ ยา 45
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 45
7. ขนาดความโตของตนไมในปา 45
วิจารณผ ลการศึกษา 46
ปญหาและอุปสรรค 47
ขอ เสนอแนะ 48
เอกสารอางอิง 49
ภาคผนวก
iii
สสาารรบบัญัญตตาารราางง
ตารางท่ี หนา
1 ขนาดของแปลงตัวอยา งและขอมลู ทด่ี าํ เนนิ การสาํ รวจ 11
2 พ้ืนท่ีปา ไมจ ําแนกตามลักษณะการใชป ระโยชนท ีด่ นิ ในอุทยานแหง ชาตนิ าํ้ ตกหวยยาง (Area
by Landuse Type) 18
3 ปรมิ าณไมท้งั หมดจําแนกตามลักษณะการใชป ระโยชนทีด่ นิ ในอุทยานแหงชาตนิ ้ําตกหว ยยาง
(Volume by Landuse Type) 19
4 ความหนาแนนและปรมิ าณไมตอหนวยพน้ื ทีจ่ าํ แนกตามลักษณะการใชประโยชนท ่ีดินใน
อุทยานแหงชาตนิ ํ้าตกหว ยยาง (Density and Volume per Area by Landuse Type) 25
5 การกระจายขนาดความโตของไมทั้งหมดในอุทยานแหงชาตินํา้ ตกหว ยยาง 26
6 ปรมิ าณไมท้งั หมดของอทุ ยานแหง ชาติน้ําตกหวยยาง (30 ชนดิ แรกที่มีปรมิ าตรไมส งู สุด) 29
7 ปรมิ าณไมในปา ดิบชืน้ ของอุทยานแหง ชาตนิ ํา้ ตกหวยยาง (30 ชนดิ แรกท่มี ีปรมิ าตรไมส ูงสุด) 30
8 ปรมิ าณไมใ นปา ดิบแลง ของอุทยานแหง ชาตนิ ้ําตกหว ยยาง (30 ชนดิ แรกท่ีมีปรมิ าตรไมสูงสุด) 31
9 ปริมาณไมในปาเบญจพรรณของอุทยานแหง ชาตนิ ํ้าตกหวยยาง 32
10 ปรมิ าณไมในพืน้ ทเี่ กษตรกรรมของอุทยานแหง ชาตนิ ้ําตกหวยยาง 32
11 ปรมิ าณลกู ไม (Sapling) ของอทุ ยานแหงชาติน้ําตกหว ยยาง (30 ชนิดแรกท่ีมีปริมาณไมสูงสดุ ) 33
12 ปรมิ าณกลาไม (Seedling) ของอุทยานแหง ชาตนิ าํ้ ตกหว ยยาง (30 ชนดิ แรกท่ีมปี ริมาณไม
สูงสดุ ) 34
13 ชนิดและปริมาณไมไผ หวาย และไมก อ ทพ่ี บในอุทยานแหงชาตนิ ํา้ ตกหว ยยาง 35
14 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของปาในอุทยานแหงชาติ
นาํ้ ตกหวยยาง (20 อันดับแรก) 36
15 ดชั นีความสําคัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของปาดิบช้ืนในอุทยาน
แหงชาตนิ า้ํ ตกหวยยาง (20 อันดับแรก) 37
16 ดชั นคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม (Importance Value Index: IVI) ของปาดิบแลงในอทุ ยาน
แหง ชาตนิ าํ้ ตกหว ยยาง (20 อันดับแรก) 38
17 ดชั นคี วามสําคญั ของชนดิ ไม (Importance Value Index: IVI) ของปา เบญจพรรณในอุทยาน
แหง ชาติน้าํ ตกหว ยยาง (20 อันดบั แรก) 39
18 ดชั นีความสําคัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) ของพืน้ ท่ีเกษตรกรรมใน
อทุ ยานแหง ชาตนิ ้ําตกหวยยาง 40
19 ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ในอทุ ยานแหงชาติน้าํ ตกหวยยาง 42
สสาารรบบัญัญภภาาพพ iv
ภาพท่ี หนา
1 ทตี่ งั้ และลักษณะภมู ิประเทศของอุทยานแหง ชาตนิ ํา้ ตกหว ยยาง 4
2 น้ําตกหวยยาง 5
3 นาํ้ ตกเขาลวน 6
4 น้าํ ตกขาออน (ทับมอญ) 6
5 นา้ํ ตกหนิ ดาด 7
6 นํา้ ตกบวั สวรรค 7
7 ยอดเขาหลวง 8
8 จดุ ชมวิว 9
9 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยาง 10
10 แผนทแี่ สดงขอบเขตและลักษณะภูมปิ ระเทศของอุทยานแหงชาตนิ ้ําตกหวยยาง 16
11 แปลงตัวอยางที่ไดดาํ เนนิ การสาํ รวจภาคสนามในอทุ ยานแหง ชาตนิ ้ําตกหวยยาง 17
12 พืน้ ท่ปี า ไมจําแนกตามลักษณะการใชประโยชนท ่ีดินในอุทยานแหง ชาตนิ ้ําตกหว ยยาง 18
13 ลักษณะทวั่ ไปของปาดบิ ชืน้ ในอุทยานแหง ชาตนิ ้ําตกหวยยาง 20
14 ลกั ษณะทั่วไปของปาดบิ แลง ในอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง 21
15 ลกั ษณะท่วั ไปของปา เบญจพรรณในอุทยานแหงชาติน้าํ ตกหวยยาง 22
16 ลกั ษณะทวั่ ไปของพน้ื ท่ีเกษตรกรรมในอทุ ยานแหง ชาติน้ําตกหวยยาง 23
17 ปริมาณไมทั้งหมดท่ีพบในอทุ ยานแหงชาตนิ าํ้ ตกหวยยาง 24
18 ปริมาตรไมทั้งหมดทีพ่ บในอุทยานแหง ชาตินํ้าตกหว ยยาง 24
19 ความหนาแนน ของไมทั้งหมดในอุทยานแหง ชาตนิ ้าํ ตกหว ยยาง 25
20 ปริมาตรไม (ลบ.ม./ไร) ของพื้นทแี่ ตล ะประเภทในอุทยานแหง ชาตินา้ํ ตกหว ยยาง 26
21 การกระจายขนาดความโตของปริมาณไมทงั้ หมดในทัง้ หมดในอทุ ยานแหง ชาตนิ ้ําตก
26
หว ยยาง
1
คคําาํ นนําาํ
ปจจุบันประเทศไทยมีพื้นท่ีปาไมเหลืออยูประมาณรอยละ 31.57 หรือคิดเปนพ้ืนท่ี 102,119,539.55 ไร
จากพื้นท่ีรวมทั้งประเทศ 323,518,861.06 ไร ดําเนินการโดยสํานักจัดการท่ีดินปาไม กรมปาไม อยางไรก็ตามใน
สวนของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช มีเปาหมายเก่ียวกับการสํารวจทรัพยากรปาไมเพื่อประเมิน
สถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรปาไม และเพ่ือติดต้ังระบบติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรปาไม
รวมท้ังทรพั ยากรทเ่ี กย่ี วของ โดยดาํ เนินการในพ้ืนที่อนุรกั ษทว่ั ประเทศ ทงั้ น้ีขอมูลดงั กลา วจะใชในการวางแผนการ
จัดการทรัพยากรปาไมอยางถูกตอง โดยการวางแปลงตัวอยาง ระยะ 2.5 x 2.5 กิโลเมตร ท่ัวท้ังพ้ืนท่ีอนุรักษ
และทาํ การสมุ ตัวอยา งอยา งเปนระบบ (Systematic Sampling)
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดสรรงบประมาณ ในการ
ดําเนินการในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง ทั้งนี้เพื่อใหทราบถึงขอมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรปาไม
รวมทั้งขอมูลเกี่ยวกับชนิดไม ปริมาณไม และความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากนั้นยังศึกษาเกี่ยวกับระบบ
นิเวศของผืนปา ทั้งนี้เพ่ือหาแนวทางในการฟนฟูสภาพปาไมใหมีความสมบูรณ และมีความย่ังยืน ประกอบกับ
อุทยานแหงชาติน้าํ ตกหว ยยางมีพนั ธุไมรวมมากกวา 190 ชนิด ซงึ่ มพี นั ธุไมทม่ี ีมลู คาทางเศรษฐกิจ พันธุไมห ายาก
รวมทั้งพันธุไมที่สงผลกระทบตอระบบนิเวศโดยรวม ซึ่งจะไดกลาวในรายงานตอไป รวมท้ังสภาพการบุกรุก
ทําลายปาเพื่อใชในการเกษตรก็มีผลตอพื้นที่อนุรักษ ดังน้ัน การวางแผนในการฟนฟูสภาพปา การแกไขปญหา
โดยรวมจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีขอมูลพ้ืนฐานท่ีถูกตองและเปนขอเท็จจริง จึงจะสามารถแกปญหาไดตรงจุด
และเปน ประโยชนต อ การจัดการพน้ื ท่นี น้ั ๆ ไดในภาพรวมตอ ไป
ขววตั ตั ถถุปุปรระะสสงงคค 2
1. เพ่ือใหทราบขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรปาไม โดยเฉพาะดานกําลังผลิต และความหลากหลายของ
พชื พันธใุ นพื้นทอ่ี นุรักษต า ง ๆ ของประเทศไทย
2. เพ่ือใชเปนแนวทางในการสํารวจทรัพยากรปาไม เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะหขอมูล
อยา งเปน ระบบและแบบแผน
3. เพ่ือเปน แนวทางในการวางระบบติดตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรปาไมในพ้นื ท่ี
4. เพื่อใหไดขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพรรณไมเดนและชนิดไมมาใชในการวางแผนเพาะชํากลาไมเพื่อปลูก
เสรมิ ปา ในแตละพื้นท่ี
เเปปาา หหมมาายยกกาารรดดาํําเเนนินินงงาานน
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 สวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปาไม สํานักฟนฟูและพัฒนา พ้ืนที่
อนุรักษ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนที่สํารวจ
เปาหมายในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง ในทองที่ อําเภอเมือง อําเภอทับสะแก และอําเภอ บางสะพาน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซึ่งอยูในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษที่ 3 (สาขาเพชรบุรี) จํานวน
22 แปลง
การสํารวจใชการวางแปลงตัวอยางถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง
ซอนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยูตามทิศ
หลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนยกลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยูบนเสนรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร จํานวน
ทง้ั สนิ้ 22 แปลง และทาํ การเก็บขอมลู การสาํ รวจทรัพยากรปาไมตาง ๆ อาทิ เชน ชนดิ ไม ขนาดความโต ความสูง
จาํ นวนกลาไมและลูกไม ชนดิ ปา ลกั ษณะตาง ๆ ของพ้ืนท่ีท่ีตนไมข้ึนอยู ขอ มูลลักษณะภูมิประเทศ เชน ระดบั ความ
สูง ความลาดชัน เปนตน ตลอดจนการเก็บขอมูลองคประกอบรวมของปา เชน ไมไผ หวาย ไมพุม เถาวัลย และ
พืชช้ันลาง แลวนํามาวิเคราะหและประมวลผล เพื่อใหทราบเนื้อท่ีปาไม ชนิดปา ชนิดไม ปริมาณ และความ
หนาแนน ของหมูไม กําลงั ผลิตของปา ตลอดจนการสบื พันธตุ ามธรรมชาติของหมูไมใ นปา นน้ั
3
ขขออ มมูลูลททวั่ั่วไไปปออทุทุ ยยาานนแแหหงงชชาาตตินิน้ํา้ําตตกกหหววยยยยาางง
ประวตั ิความเปนมา
เดิมพ้ืนที่นํ้าตกหวยยางมีสภาพธรรมชาติสวยงามเหมาะเปนแหลงที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติและเปน
แหลง อนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติ อนั ไดแก ปา ไม สตั วปา และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ดงั นน้ั บริเวณดงั กลาวจึง
ไดรับการจัดต้ังเปนเขตวนอุทยานนํ้าตกหวยยาง ตอมาจากการสํารวจของสํานักงานปาไมอําเภอ ทับสะแก
จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาในเขตปาสงวนแหงชาติทับสะแกมีน้ําตกท่ีสวยงามอีก 2 แหง ไดแก นํ้าตกขาออน
(ทับมอญ) และนํ้าตกหินดาด อยูในบริเวณใกลเคียงกับน้ําตกหวยยาง ซึ่งมีความเหมาะสมท่ีจะจัดต้ังเปนวน
อุทยานเพ่ือรักษาสภาพปาไมและตนนํ้าลําธารอันสวยงามน้ีไว นอกจากน้ีจากการสํารวจพ้ืนท่ีใกลเคียงยังพบปา
วังดวนและปาหวยยาง (หาดวนกร) ซึ่งเปนพ้ืนท่ีควรคาแกการอนุรักษเพราะมีสภาพปาไม ที่สมบูรณ จึงเห็นควร
ผนวกปาวังดวนกับปาหวยยาง (หาดวนกร) เขากับพ้ืนที่ทั้งหมดดังกลาวขางตน ใหจัดตั้งเปนอุทยานแหงชาติ
น้ําตกหว ยยาง
ดังนั้น กรมปาไม โดยกองอุทยานแหงชาติ (เดิม) จึงไดพิจารณาใหผนวกบริเวณพื้นที่ปาน้ําตก ขาออน
น้ําตกหินดาด และวนอุทยานน้ําตกหวยยาง ในปาทับสะแก ทองที่ตําบลชัยเกษม อําเภอบางสะพานตําบล
อางทอง อําเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ และปาวังดวนปาหว ยยาง ทองท่ีตําบลหวยยางและตําบลหว ย
ยาง อําเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ จัดตั้งเปนอุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยาง แตตอมากองอุทยาน
แหงชาติ มีความเห็นวาพื้นท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยางสวนบริเวณปาวังดวนและปาหวยยาง (หาดวนกร) มี
พื้นที่ไมติดตอกันกับสวนอ่ืน ๆ ดังนั้น เพื่อความสะดวกแกเจาหนาที่ในการรักษาและควบคุมจึงใหแยกพ้ืนท่ี
ทัง้ หมด 2 พ้ืนที่ คือ อุทยานแหง ชาติน้าํ ตกหว ยยาง อทุ ยานแหง ชาติหาดวนกร เพ่ือคุม ครองรักษาตนน้ําลําธารไว
และอนุรักษทรัพยากรใหยืนนานตอไป อุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยางจึงไดประกาศเปนอุทยานแหงชาติตาม
พระราชบัญญตั ิอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 โดยไดป ระกาศในราชกิจจานุเบกษาเลม 108 ตอนที่ 215 ลงวันท่ี 8
ธนั วาคม 2534 เปน อุทยานแหงชาติลาํ ดับที่ 70 ของประเทศไทย
ทตี่ ้งั และลกั ษณะภมู ิประเทศ
อุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยางมีพ้ืนที่ครอบคลุมอยูในเขตอําเภอเมือง อําเภอทับสะแก และอําเภอบาง
สะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซ่ึงอยูในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบรหิ ารพื้นที่อนุรักษที่ 3 (สาขาเพชรบุร)ี
มีพ้ืนท่ี 100,625 ไร หรือ 161 ตารางกิโลเมตร และประกอบดวยเทือกเขาสูงติดตอกัน มีพ้ืนท่ีอยูบนเทือกเขา
ตะนาวศรี สวนใหญจะเปนเนินเขาสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ 100-1,200 เมตร โดยมียอดเขาหลวงเปนยอด
เขาท่ีสูงท่ีสุด เปนแหลงกําเนิดตนนํ้าท่ีเกิดจากสันเขากั้นเขตแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศสหภาพพมา
ไดแก คลองอางทอง คลองแกง คลองทับสะแก คลองจะกระ คลองไขเนา คลองตาเกล็ด คลองหวยยาง คลอง
หวยมา และคลองหินจวง ลักษณะดินเปนดินรวนปนทราย และหินเปนหินแกรนิตและหินลูกรัง สวนดานทิศ
ตะวนั ออกติดกบั พื้นท่ีราบและชายทะเลอาวไทย
4
ภาพที่ 1 ท่ีต้ังและลักษณะภูมิประเทศของอทุ ยานแหง ชาตนิ า้ํ ตกหวยยาง
การเดินทางและเสน ทางคมนาคม
จากกรุงเทพฯ โดยทางหลวงแผน ดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ถึงหลักกิโลเมตรที่ 350-351 บรเิ วณ
ตลาดหวยยาง (กอนถึงอําเภอทับสะแกประมาณ 20 กิโลเมตร) แลวเล้ียวขวาไปตามถนนสายเพชรเกษม - น้ําตกหวย
ยาง ประมาณ 7 กโิ ลเมตร ก็จะถึงนํา้ ตกหว ยยาง ใชเ วลาเดินทางประมาณ 6 ชว่ั โมง
ลักษณะภูมิอากาศ
พื้นท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง ตั้งอยูในเขตภาคใตของประเทศไทย และมีพื้นท่ีอยูใกลทะเล
ลกั ษณะในแตละฤดกู าลจึงไมแตกตา งกนั มากนัก สภาพภูมอิ ากาศแบงออกเปน 3 ฤดูกาล คอื
ฤดูฝน เริ่มตนเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เปนชวงท่ีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตพัด ปกคลุม
ประเทศไทย และยังมีรองความกดอากาศต่ําพัดผานภาคใตเปนระยะ ๆ ตอจากน้ันถึงเดือนพฤศจิกายนซึ่งเปน
ระยะแรกที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย ทําใหยังคงมีฝนตกชุกตอเนื่องจนถึงเดือน
ธนั วาคม ปรมิ าณน้ําฝนเฉลี่ยตลอดปม ากกวา 1,100 มิลลเิ มตร
ฤดูหนาว เริ่มต้ังแตเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ ซึ่งเปนชวงท่ีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดปก
คลุมประเทศไทย ทําใหอุณหภูมิลดลงทั่วไป และมีอากาศหนาวเย็นเปนครั้งคราว โดยอุณหภูมิจะลดลงตํ่าสุดใน
เดือนธันวาคมและมกราคม แตเน่ืองจากพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติอยูดานซายฝงตะวันออกของภาคใต อุณหภูมิจึง
ลดลงเพียงเล็กนอ ย อุณหภมู ิเฉลี่ยตา่ํ สุดในเดือนมกราคม 20 องศาเซลเซียส
5
ฤดูรอน เริ่มตนตั้งแตเดือนกุมภาพันธถึงเดอื นพฤษภาคม เปนชวงเปลี่ยนฤดู ระยะนี้เปนชองวางของลม
มรสุมหลังจากส้ินฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิจะเร่ิมสูงขึ้น อากาศจะเร่ิมรอนโดยเฉพาะ ในเดือน
มีนาคมถึงเดอื นพฤษภาคม อุณหภูมิเฉลีย่ สูงสดุ ในเดอื นเมษายนประมาณ 29 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิเฉลีย่ ตลอด
ป 27 องศาเซลเซียส
จดุ เดนทน่ี า สนใจ
อทุ ยานแหง ชาตนิ า้ํ ตกหว ยยางมีจดุ เดนท่ีนาสนใจในพื้นทแ่ี ละพ้ืนทใี่ กลเคยี ง ดงั น้ี
1. น้ําตกหวยยาง มีทั้งหมด 7 ชั้น น้ําตกช้ันลาง ๆ เปนนํ้าตกขนาดเล็กธารนํ้าไหลมาตามโขดหิน สูงต้ังแต
2–5 เมตร บริเวณน้ําตกช้ันท่ี 5 จะมองเห็นสายน้ําตกจากผาสูงประมาณ 15 เมตร งดงามมากแตตองปนและไต
โขดหินข้ึนไปจึงเปนอันตรายในชว งฤดูฝนทนี่ ํ้าหลาก บรเิ วณชั้น 4 ยังมที างแยกข้นึ สูจุดชมดวงอาทิตยข้ึนที่งดงามมาก
สามารถมองเห็นทัศนียภาพไปไดไกลถึงชายทะเล นอกจากนี้ช้ัน 3 และชั้น 5 เปนบริเวณที่เหมาะสําหรับการลง
เลนน้ําและชั้น 7 ยังเปนแหลงน้ําท่ีบริสุทธิ์เพราะเปนแหลงนํ้าที่เกิดมาจากปาโบราณบนยอดเขาหลวงท่ียังไมมี
การบุกรกุ ทาํ ลาย
ภาพท่ี 2 นาํ้ ตกหวยยาง
2. นํ้าตกเขาลาน เปนนํ้าตกที่สวยงาม ที่ไหลลดหลั่นจากชั้นหนาผาลงมา ผานลานหินกวางอันเปน
เอกลกั ษณของนํ้าตกแหงนีม้ ีท้ังหมด 7 ชั้น อยูหา งจากท่ที ําการอุทยานฯ ไปทางทิศใตป ระมาณ 40 กิโลเมตร จากทาง
หลวงหมายเลข 4 จะพบทางเขาน้ําตกอยูตรงอําเภอทับสะแก จากทางเขาไปประมาณ 14 กิโลเมตร ถึงหนวย
พทิ ักษอทุ ยานแหงชาติ จากน้ันเดินเลยี บลาํ ธารไปอีกประมาณ 1 กโิ ลเมตร จะถึงน้ําตก ซ่งึ ระหวา งทางจะมีน้ําตก
เล็ก ๆ ท่ีสามารถลงเลนน้ําได หรือหากเลือกเดินตอไปจนถึงสันเขา ก็จะมองเห็นนํ้าตกเขาลานไหลตกลงมาจากผา
6
สูงกวา 50 เมตร เหนอื หนาผาทเ่ี หน็ คือบริเวณนํ้าตกชนั้ บนสดุ สายนํา้ ไหลจากลานหนิ กวาง สงู ประมาณ 10 เมตร
กอนจะไหลลงหนาผา แองน้ําตกชน้ั บนสดุ สามารถลงเลน นา้ํ ได
ภาพท่ี 3 นาํ้ ตกเขาลาน
3. น้ําตกขาออน (ทับมอญ) มีขนาดลําธารตอนลางกวางประมาณ 6 เมตร ประกอบดวยน้ําตก 9 ชั้น จะมี
ธารนํ้าตกสูงประมาณ 2–5 เมตร สลับกับแนวโขดหิน ชั้นที่ 5 เปนช้ันท่ีมีผาน้ําตก มีความสูงประมาณ 15 เมตร อยู
ใกลชายแดนพมาในทองท่ีอําเภอบางสะพาน หางจากท่ีทําการอุทยานฯ ไปทางทิศใตประมาณ 60 กิโลเมตร
สามารถเดินทางจากถนนเพชรเกษม ไปตามเสน ทางสายหนองหอย-บานตะแบกโพรงหรือ สายหนองหญา ปลอ ง -
บา นหนองบอน
ภาพที่ 4 น้าํ ตกขาออน (ทบั มอญ)
7
4. น้ําตกหินดาด มีขนาดลําธารตอนลางกวางประมาณ 6 เมตร ประกอบดวยช้ันน้ําตก 5 ชั้น ในแตละ
ชน้ั อยูใกล ๆ กัน เพราะเปนนํ้าตกที่อยูในซอกเขาที่คอนขางสูงชันสายนาํ้ ตกจึงแรง ชนั้ นํา้ ตกมคี วามสูง ประมาณ
2–5 เมตร อยูหางจากที่ทําการอุทยานฯ ไปทางทิศใตประมาณ 50 กิโลเมตร สามารถเดินทางตามถนนเพชร
เกษม เสนทางสายบา นอา งทอง – บานหนองมะคา
ภาพท่ี 5 นํา้ ตกหินดาด
5. นํ้าตกบัวสวรรค มีช้ันน้ําตกท่ีสวยงามอยู 6 ช้ัน ทามกลางสภาพธรรมชาติโดยรอบที่เขียวชอุมดู
สวยงามแปลกตา อันเปนเสนหของนํ้าตกแหงน้ี อยูหางจากท่ีทําการอุทยานฯ ไปทางทิศเหนือประมาณ 20
กโิ ลเมตร สามารถเดนิ ทางตามถนนเพชรเกษม เสน ทางสายบา นสองกะลอน
ภาพที่ 6 น้าํ ตกบัวสวรรค
8
6. ยอดเขาหลวง มีความสูง 1,251 เมตรจากระดับน้ําทะเล นอกจากจะเปนจุดสูงสุดของอุทยาน
แหงชาติน้าํ ตกหว ยยางแลว ยังเปน ตนนํ้าของนาํ้ ตกหวยยางดว ย บนยอดเขาปกคลมุ ดว ยปาดิบเขา มอี ากาศหนาว
เย็น ตนไมสวนใหญมีมอสขึ้นปกคลุมลําตน พ้ืนท่ีบางสวนเปนทุงหญาซึ่งจะมีดอกกระเจียวบานในชวงตนฤดูฝน
จากบริเวณทุงกระเจียวจะมองเห็นเทือกเขาตะนาวศรีทอดตัวยาวเปนแนวพรมแดนประเทศไทยกับพมา เปนท่ีอยู
อาศัยของปเู จา ฟา อยูหางจากท่ีทําการอุทยานฯ ประมาณ 7 กิโลเมตร ตองใชเวลาเดนิ เทา ประมาณ 5 ชว่ั โมง
ภาพที่ 7 ยอดเขาหลวง
7. จุดชมวิว อยูทางดานหลังศูนยบริการนักทองเท่ียว เดินข้ึนไปบนเขาเปนระยะทาง 250 เมตร สามารถ
ชมเรอื นยอดของตน ไมแ ละแนวชายฝงทะเลของอําเภอทบั สะแก และชมพระอาทติ ยข้ึนในยามเชา
9
ภาพที่ 8 จดุ ชมวิว
รูปแบบและวธิ ีการสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
การสาํ รวจทรัพยากรปาไมในแตล ะพ้นื ที่อนุรักษทว่ั ประเทศไทย ดาํ เนินการโดยกลุมสาํ รวจทรัพยากรปา
ไม สวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปาไม สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ และสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ
ตา ง ๆ ในสังกัดกรมอทุ ยานแหงชาติ สัตวป า และพนั ธพุ ืช
การสุมตวั อยา ง (Sampling Design)
การสาํ รวจทรัพยากรปาไม ใชวธิ ีสุมตวั อยา งแบบสมาํ่ เสมอ (Systematic Sampling) ในพืน้ ทที่ ่ีภาพถาย
ดาวเทียมแปลวามีสภาพเปนปาโดยใหแตละแปลงตัวอยาง (Sample plot) มีระยะหางเทา ๆ กันโดยกําหนดให
แตล ะแปลงหางกัน 2.5 x 2.5 กิโลเมตร เร่มิ จากการสุมกาํ หนดแปลงตวั อยางแรกบนเสน กริดแผนท่ี (Grid) ลงบน
ขอบเขตแผนท่ปี ระเทศไทยมาตราสวน 1:50,000 ใหม รี ะยะหา งระหวางเสน กรดิ ทง้ั แนวตง้ั และแนวนอน เทา กับ
2.5 x 2.5 กิโลเมตร คือ ระยะชองกริดในแผนที่เทากับ 2.5 ชองจุดตัดของเสน กริด ทั้งสองแนว ก็จะเปน
ตําแหนงที่ต้ังของแปลงตัวอยางแตละแปลง เมื่อดําเนินการเสร็จสิ้นแลว จะทราบจํานวนหนวยตัวอยาง และ
ตําแหนงท่ีต้ังของหนวยตัวอยางโดยลักษณะของแปลงตัวอยาง รูปแบบของการวางแปลงตัวอยางดังภาพท่ี 9
ตามลาํ ดับ
10
ภาพที่ 9 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อยา ง
รูปรา งและขนาดของแปลงตัวอยา ง (Plot Design)
แปลงตัวอยาง (Sample Plot) ท่ีใชในการสํารวจ มีทั้งแปลงตัวอยางถาวรและแปลงตัวอยางช่ัวคราว เปน
แปลงท่ีมีขนาดคงที่ (Fixed–Area Plot) และมีรปู รา ง 2 ลกั ษณะดวยกนั คือ
1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมทมี่ ีจดุ ศนู ยกลางรวมกัน รศั มแี ตกตางกัน จาํ นวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3. 99, 12.62 และ
17.84 เมตร ตามลาํ ดับ
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเทากันจุดศูนยกลางตางกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตรเทากัน โดยจุด
ศูนยก ลางของวงกลมอยบู นเสนรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทั้ง 4 ทศิ
2. ลักษณะแบบแนวเสนตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เสน ความยาวเสนละ 17.84 เมตรโดยมี
จุดเรมิ่ ตนรว มกัน ณ จุดศนู ยกลางแปลงตัวอยางทํามมุ ฉากซึง่ กันและกัน ซึ่งตวั มุม Azimuth ของเสนที่ 1 ไดจาก
การสมุ ตวั อยา ง
ขนาดของแปลงตัวอยา งและขอมูลที่ทาํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตัวอยา ง และขอ มลู ท่ีทาํ การสํารวจแสดงรายละเอียดไวใ นตารางที่ 1
11
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อยางและขอมูลท่ดี ําเนนิ การสํารวจ
รศั มีของวงกลม หรอื จาํ นวน พืน้ ท่หี รือความยาว ขอ มูลทส่ี ํารวจ
ความยาว (เมตร)
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร กลา ไม
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร ลูกไมแ ละการปกคลุมพ้ืนที่ของกลา ไม และลูกไม
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร ไมไผ หวายทย่ี ังไมเ ลอื้ ย และตอไม
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร ตนไม และตรวจสอบปจ จัยทรี่ บกวนพ้ืนทปี่ า
17.84 (เสน ตรง) 2 เสน 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเล้อื ย
และไมเ ถา ทพี่ าดผา น
กกาารรววิเิเคครราาะะหหขขออ มมลูลู กกาารรสสาํํารรววจจททรรัพัพยยาากกรรปปาาไไมม
1. การคํานวณเนอ้ื ทป่ี า และปรมิ าณไมทั้งหมดของแตล ะพนื้ ที่อนุรกั ษ
1.1 ใชขอมลู พน้ื ที่อนุรักษจ ากแผนที่แนบทายกฤษฎีกาของแตละพนื้ ที่อนรุ ักษ
1.2 ใชสัดสวนจํานวนแปลงตัวอยางท่ีพบในแตละชนิดปา เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอยางที่วาง
แปลงทั้งหมดในแตละพ้ืนที่อนุรักษ ท่ีอาจจะไดขอมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถายดาวเทียมหรือ
ภาพถายทางอากาศ มาคํานวณเปน เนอื้ ท่ปี าแตละชนิดโดยนําแปลงตัวอยางท่วี างแผนไวม าคาํ นวณทกุ แปล
1.3 แปลงตัวอยางที่ไมสามารถดําเนินการได ก็ตองนํามาคํานวณดวย โดยทําการประเมินลักษณะพื้นที่วา
เปน หนา ผา น้าํ ตก หรอื พืน้ ทีอ่ ่นื ๆ เพื่อประกอบลักษณะการใชป ระโยชนทดี่ ิน
1.4 ปริมาณไมทั้งหมดของพื้นที่อนุรักษ เปนการคํานวณโดยใชขอมูลเนื้อที่อนุรักษจากแผนที่แนบ
ทายกฤษฎีกาของแตละพื้นท่ีอนุรักษ ซึ่งบางพื้นที่อนุรักษมีขอมูลเน้ือท่ีคลาดเคลื่อนจากขอเท็จจริงและสงผลตอ
การคํานวณปรมิ าณไมท งั้ หมด ทาํ ใหก ารคํานวณปริมาณไมเปน การประมาณเบื้องตน
2. การคํานวณปรมิ าตรไม
สมการปริมาตรไมที่ใชในการประเมินการกักเก็บธาตุคารบอนในพ้ืนท่ีปาไม แบบวิธี Volume based
approach โดยแบงกลุม ของชนดิ ไมเปนจํานวน 7 กลมุ ดังน้ี
2.1 กลุมที่ 1 ไดแ ก ยาง เตง็ รัง เหียง พลวง กระบาก เคย่ี ม ตะเคียน สยา ไขเ ขยี ว พะยอม จนั ทนก ะพอ
สนสองใบ
สมการทไ่ี ด ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลมุ ท่ี 2 ไดแ ก กระพจ้ี นั่ กระพ้ีเขาควาย เกด็ ดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวลั ยเ ปรียง พะยงู ชงิ ชัน กระพ้ี
ถอ น แดง ขะเจา ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ
12
สมการทไ่ี ด ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลมุ ที่ 3 ไดแก รกฟา สมอพเิ ภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขอ้ี า ย กระบก ตะครํ้า ตะครอ
ตาเสอื คางคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอน เล่ยี น มะฮอกกานี ขอ้ี าย ตะบูน ตะบัน รัก ตว้ิ สะแกแสง ปูเจา
และไมสกลุ สา น เสลา อินทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค
สมการท่ีได ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
2.4 กลุมท่ี 4 ไดแก กางข้ีมอด คนู พฤกษ มะคา โมง นนทรี กระถินพมิ าน มะขามปา หลุมพอ และสกุล
ข้เี หล็ก
สมการที่ได ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลมุ ที่ 5 ไดแก สกุลประดู เตมิ
สมการทไ่ี ด ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ ที่ 6 ไดแก สัก ตนี นก ผาเสย้ี น หมากเลก็ หมากนอย ไขเนา กระจบั เขา กาสามปก สวอง
สมการที่ได ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลุมที่ 7 ไดแ ก ไมช นดิ อื่น ๆ เชน กกุ ขวาว งิว้ ปา ทองหลางปา มะมวงปา ซอ โมกมัน แสมสาร และ
ไมในสกลุ ปอ กอ เปลา เปนตน
สมการท่ไี ด ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คอื ปรมิ าตรสวนลาํ ตน เม่ือตดั โคนท่คี วามสงู เหนือดิน (โคน) 10 เซนติเมตร
ถึงกิง่ แรกที่ทําเปน สนิ คา ได มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร
DBH มีหนวยเปน เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
13
3. ขอ มลู ท่ัวไป
ขอมลู ท่ัวไปท่นี ําไปใชใ นการวิเคราะห ไดแ ก ทต่ี ้ัง ตําแหนง ชว งเวลาที่เก็บขอมูล ผูทท่ี ําการเก็บขอมูล ความ
สูงจากระดบั นาํ้ ทะเล และลักษณะการใชประโยชนที่ดิน เปนตน โดยขอมลู เหลานี้ จะใชประกอบในการวิเคราะห
ประเมินผลรวมกับขอ มลู ดา นอ่ืน ๆ เพ่อื ติดตามความเปลีย่ นแปลงของพนื้ ท่ใี นการสาํ รวจทรัพยากรปา ไมครั้งตอ ไป
4. การวิเคราะหขอมูลองคประกอบของหมูไม
4.1 ความหนาแนน
4.2 ปรมิ าตร
5. การวิเคราะหข อมูลชนดิ และปริมาณของลกู ไม (Sapling) และกลาไม (Seedling)
6. การวิเคราะหข อมลู ชนดิ และปริมาณของไมไ ผ หวาย
6.1 ความหนาแนนของไมไ ผ (จํานวนกอ และ จํานวนลาํ )
6.2 ความหนาแนนของหวายเสน ต้งั (จาํ นวนตน)
7. การวิเคราะหข อมูลสงั คมพืช
โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะหขอ มูลดังนี้
7.1 ความหนาแนนของพรรณพชื (Density: D) คือ จํานวนตน ไมทง้ั หมดของชนิดพันธุท ี่ศึกษาทป่ี รากฏใน
แปลงตัวอยางตอหนว ยพ้ืนท่ที ี่ทาํ การสาํ รวจ
D= จํานวนตนของไมช นิดนนั้ ทัง้ หมด .
พนื้ ทแี่ ปลงตวั อยา งท้งั หมดทท่ี าํ การสาํ รวจ
7.2 ความถี่ (Frequency: F) คอื อัตรารอยละของจํานวนแปลงตวั อยาง ทีป่ รากฏพันธุไมชนิดนั้น ตอ จาํ นวน
แปลงท่ที ําการสํารวจ
F = จาํ นวนแปลงตวั อยางท่พี บไมช นิดทีก่ ําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อยางทัง้ หมดท่ที าํ การสํารวจ
7.3 ความเดน (Dominance: Do) ใชความเดนดานพื้นที่หนาตัด (Basal Area: BA) หมายถึง
พน้ื ที่หนา ตดั ของลาํ ตนของตนไมท ีว่ ัดระดับอก (1.30 เมตร) ตอ พน้ื ทท่ี ี่ทาํ การสํารวจ
Do = พื้นทหี่ นา ตดั ทง้ั หมดของไมช นดิ ที่กําหนด X 100
พืน้ ทแ่ี ปลงตัวอยา งท่ที าํ การสาํ รวจ
14
7.4 คาความหนาแนนสัมพัทธ (Relative Density: RD) คือ คาความสัมพัทธของความหนาแนน ของไมท่ี
ตองการตอ คาความหนาแนนของไมท ุกชนิดในแปลงตวั อยา ง คดิ เปน รอ ยละ
RD = ความหนาแนนของไมชนิดนน้ั X 100
ความหนาแนนรวมของไมท ุกชนดิ
7.5 คาความถ่ีสัมพัทธ (Relative Frequency: RF) คือ คาความสัมพัทธของความถี่ของชนิดไม ท่ี
ตองการตอคา ความถท่ี ัง้ หมดของไมทกุ ชนดิ ในแปลงตัวอยาง คดิ เปน รอ ยละ
RF = ความถ่ขี องไมช นดิ นัน้ X 100
ความถ่รี วมของไมทกุ ชนดิ
7.6 คาความเดนสัมพัทธ (Relative Dominance: RDo) คือ คาความสัมพันธของความเดนในรูป
พื้นทห่ี นาตัดของไมช นดิ ทกี่ ําหนดตอ ความเดนรวมของไมทกุ ชนิดในแปลงตวั อยาง คิดเปน รอ ยละ
RDo = ความเดน ของไมชนดิ นั้น X 100
ความเดน รวมของไมทกุ ชนิด
7.7 คาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) คือ ผลรวมของคาความ
สมั พัทธต าง ๆ ของชนดิ ไมในสังคม ไดแก คา ความสมั พัทธด านความหนาแนน คา ความสมั พทั ธ ดา นความถ่ี และ
คา ความสัมพทั ธดา นความเดน
IVI = RD + RF + RDo
8. วเิ คราะหข อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยทําการวเิ คราะหค า ตาง ๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธุท่ีปรากฏในสังคมและ
จํานวนตนที่มีในแตละชนิดพันธุ โดยใชดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity ตาม
วิธีการของ Kreb (1972) ซ่ึงมีสูตรการคํานวณดงั ตอ ไปน้ี
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คือ คา ดชั นคี วามหลากชนดิ ของชนดิ พันธุไม
pi คอื สดั สว นระหวางจาํ นวนตนไมชนดิ ท่ี i ตอ จํานวนตนไมทง้ั หมด
S คือ จํานวนชนดิ พนั ธุไมท ้งั หมด
15
8.2 ความรํ่ารวยของชนิดพันธุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธระหวางจํานวนชนิดกับจํานวน
ตนท้ังหมดที่ทําการสํารวจ ซึ่งจะเพ่ิมขึ้นเมื่อเพ่ิมพื้นท่ีแปลงตัวอยาง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยมใชกัน คือ วิธี
ของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการคํานวณดงั นี้
1) Margalef Index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick Index (R2)
R2 = S/√n
เม่ือ S คือ จํานวนชนดิ ทง้ั หมดในสงั คม
n คอื จาํ นวนตน ท้งั หมดทส่ี ํารวจพบ
8.3 ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธุ (Evenness Indices) เปนดัชนีท่ีตั้งอยูบนสมมติฐานท่ีวา ดัชนีความ
สม่ําเสมอจะมีคามากที่สุดเม่ือทุกชนิดในสังคมมีจํานวนตนเทากันท้ังหมด ซ่ึงวิธีการที่นิยมใชกันมากในหมูนัก
นเิ วศวทิ ยา คือ วิธขี อง Pielou (1975) ซง่ึ มีสตู รการคาํ นวณดงั นี้
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เม่ือ H คือ คาดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จาํ นวนชนิดท้งั หมด (N0)
N1 คือ eH
16
ผลการสํารวจทรัพยากรปา ไม
1. การวางแปลงตัวอยา ง
จากผลการดําเนินการสํารวจทรัพยากรปาไม ในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง ดําเนินการ วาง
แปลงสํารวจ ตามพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษท่ี 3 (สาขาเพชรบรุ ี) จํานวน 22 แปลง ดังภาพท่ี
10–11 และรายละเอยี ดแสดงในตารางภาคผนวกที่ 10
ภาพท่ี 10 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมิประเทศของอุทยานแหง ชาตินาํ้ ตกหวยยาง
17
ภาพท่ี 11 แปลงตัวอยางทไ่ี ดด ําเนนิ การสํารวจภาคสนามในอุทยานแหง ชาตินํ้าตกหวยยาง
2. พนื้ ที่ปา ไม
จากการสาํ รวจ พบวา มพี ้ืนทปี่ าไมจาํ แนกตามลักษณะการใชประโยชนทด่ี ินได 4 ประเภท ไดแก ปา ดบิ
ช้ืน ปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ และพื้นท่ีเกษตรกรรม โดยปาดิบแลงพบมากสุด มีพ้ืนท่ี 87.82 ตารางกิโลเมตร
(54,886.36 ไร) คิดเปนรอยละ 54.55 ของพ้ืนที่ท้ังหมด รองลงมา คือ ปาดิบช้ืน มีพ้ืนที่ 51.23 ตารางกิโลเมตร
(32,017.05 ไร) คิดเปนรอยละ 31.82 ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่เกษตรกรรมมีพื้นที่ 14.64 ตารางกิโลเมตร
(9,147.73 ไร) คิดเปนรอยละ 9.09 ของพื้นที่ทั้งหมด และปาเบญจพรรณ มีพื้นที่ 7.32 ตารางกิโลเมตร
(4,573.86 ไร) คิดเปน รอยละ 4.55 ของพนื้ ที่ท้งั หมด รายละเอียดดงั ตารางท่ี 2 และภาพที่ 12
18
ตารางที่ 2 พนื้ ที่ปาไมจ ําแนกตามลกั ษณะการใชประโยชนท่ีดินในอุทยานแหง ชาติน้ําตกหวยยาง
(Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชป ระโยชนท ด่ี นิ พืน้ ท่ี รอ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร เฮกตาร ของพ้ืนทที่ ัง้ หมด
ปาดบิ ชน้ื 51.23 32,017.05 5,122.73 31.82
(Tropical Evergreen Forest)
ปา ดิบแลง 87.82 54,886.36 8,781.82 54.55
(Dry Evergreen Forest)
ปา เบญจพรรณ 7.32 4,573.86 731.82 4.55
(Mixed Deciduous Forest)
พน้ื ที่เกษตรกรรม 14.64 9,147.73 1,463.64 9.09
(Agriculture land)
รวม 161.00 100,625.00 16,100.00 100.00
หมายเหตุ : - การคาํ นวณพนื้ ทปี่ า ไมข องลักษณะการใชประโยชนทด่ี ินแตละลกั ษณะใชสดั สว นของขอ มลู ทีพ่ บจากการ
สํารวจภาคสนาม
- รอ ยละของพ้นื ทสี่ ํารวจคํานวณจากขอมลู แปลงทส่ี าํ รวจพบ ซ่ึงมพี ้นื ท่ีดงั ตารางท่ี 1
- รอยละของพนื้ ที่ทั้งหมดคาํ นวณจากพ้นื ที่แนบทายกฤษฎีกาของอุทยานแหงชาตนิ ํา้ ตกหว ยยางซ่งึ มพี ื้นที่
เทากบั 161.00 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 100,625.00 ไร
ภาพท่ี 12 พืน้ ที่ปา ไมจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป ระโยชนท่ีดินในอทุ ยานแหง ชาตนิ า้ํ ตกหวยยาง
19
3. ปริมาณไม
จากการวิเคราะหเก่ียวกับชนิดไม ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแนนของตนไมในปา โดยการสํารวจ
ทรัพยากรปาไมในแปลงตัวอยางถาวร ในพ้ืนที่อุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง จํานวนทั้งสิ้น 22 แปลง พบวามี
ชนดิ ปาหรือลกั ษณะการใชประโยชนทดี่ ินท่ีสาํ รวจพบ 4 ประเภท ไดแ ก ปาดบิ ชนื้ ปาดิบแลง ปา เบญจพรรณ และพื้นที่
เกษตรกรรม พบไมตนท่ีมีความสูงมากกวา 1.30 เมตร และมีขนาดเสนรอบวงเพียงอก (GBH) มากกวาหรือเทากับ
15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกวา 191 ชนิด รวมท้ังหมด 11,109,000 ตน ปริมาตรไมรวมท้ังหมด 3,131,781.03
ลูกบาศกเมตร ปริมาตรไมเฉลี่ย 39.41 ลูกบาศกเมตรตอไร และมีความหนาแนนของตนไมเฉลี่ย 110.40 ตนตอไร
พบปริมาณไมมากสุดในปาดิบแลง จํานวน 5,971,636 ตน รองลงมา ในปาดิบชื้น พบจํานวน 4,742,182 ตน
สําหรับปริมาตรไมพบมากสดุ ในปา ดิบชนื้ จํานวน 2,100,373.02 ลกู บาศกเ มตร รองลงมา คือ ปาดบิ แลง จํานวน
942,724.26 ลูกบาศกเ มตร รายละเอยี ดดังตารางท่ี 3 และ 4 ภาพท่ี 13, 14, 15 และ 16 ตามลาํ ดบั
ตารางที่ 3 ปรมิ าณไมท ัง้ หมดจาํ แนกตามลักษณะการใชประโยชนท ่ีดินในอทุ ยานแหง ชาตนิ ้าํ ตกหวยยาง
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใชป ระโยชนท ดี่ นิ ปรมิ าณไมท ง้ั หมด
(Landuse Type) จาํ นวน (ตน ) ปริมาตร (ลบ.ม.)
ปาดิบชื้น 4,742,182 2,100,373.02
(Tropical Evergreen Forest)
ปาดบิ แลง 5,971,636 942,724.26
(Dry Evergreen Forest)
ปา เบญจพรรณ 124,409 25,776.76
(Mixed Deciduous Forest)
พนื้ ท่เี กษตรกรรม 270,773 62,906.96
(Agriculture land)
รวม 11,109,000 3,131,781.03
20
ภาพที่ 13 ลักษณะทวั่ ไปของปาดิบชนื้ ในอุทยานแหง ชาตินาํ้ ตกหวยยาง
21
ภาพที่ 14 ลักษณะทวั่ ไปของปาดิบแลง ในอุทยานแหง ชาตินา้ํ ตกหวยยาง
22
ภาพที่ 15 ลักษณะทวั่ ไปของปาเบญจพรรณในอุทยานแหง ชาตินา้ํ ตกหวยยาง
23
ภาพที่ 16 ลักษณะทวั่ ไปของพนื้ ท่เี กษตรกรรมในอทุ ยานแหง ชาตินา้ํ ตกหวยยาง
24
ปริมาณตน้ ไม้ทัง� หมดจําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทีด� นิ
ในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ �ําตกหว้ ยยาง
7,000,000
6,000,000 5,971,636
5,000,000 4,742,182 ปา่ ดบิ ชน�ื
ป่าดิบแลง้
ํจานวน ( ้ตน) 4,000,000 ปา่ เบญจพรรณ
พืน� ที�เกษตร
3,000,000
2,000,000
1,000,000 124,409 270,773
0
ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด� นิ (Landuse Type)
ภาพที่ 17 ปริมาณไมท้ังหมดทพี่ บในอุทยานแหงชาตนิ าํ้ ตกหวยยาง
ปรมิ าตรไม้ท�ังหมดจาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท�ดี ิน
ในอทุ ยานแห่งชาตินํา� ตกห้วยยาง
2,500,000.00 2,100,373.02
2,000,000.00
ป ิรมาตร (ลบ.ม.) 1,500,000.00 942,724.27 ป่าดบิ ช�นื
1,000,000.00 ป่าดิบแล้ง
ป่าเบญจพรรณ
พน�ื ท�เี กษตร
500,000.00 25,776.76 62,906.98
0.00 ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท�ีดิน (Landuse Type)
ภาพที่ 18 ปริมาตรไมท ้ังหมดท่ีพบในอุทยานแหงชาตนิ ํา้ ตกหวยยาง
25
ตารางที่ 4 ความหนาแนน และปรมิ าตรไมตอหนวยพื้นที่จาํ แนกตามลกั ษณะการใชประโยชนท ่ีดินในอุทยาน
แหง ชาตนิ าํ้ ตกหวยยาง (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชประโยชนทด่ี นิ ความหนาแนน ปริมาตร
(Landuse Type) ตน/ไร ตน /เฮกตาร ลบ.ม./ไร ลบ.ม./เฮกตาร
ปา ดบิ ชน้ื 148.11 925.71 65.60 572.84
(Tropical Evergreen Forest)
ปาดบิ แลง 108.80 680.00 17.18 107.35
(Dry Evergreen Forest)
ปา เบญจพรรณ 27.20 170.00 5.63 35.20
(Mixed Deciduous Forest)
พ้นื ทเี่ กษตรกรรม 29.60 185.00 6.88 43.00
(Agriculture land)
เฉลย่ี 110.40 690.00 31.12 246.33
160.00 ความหนาแนน่ ต้นไมจ้ ําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที�ดิน
140.00 ในอทุ ยานแห่งชาตนิ �ําตกห้วยยาง
120.00
100.00 148.11
ความหนาแ ่นน ( ้ตน/ไ ่ร) 80.00 108.80 ปา่ ดบิ ชื�น
60.00 ปา่ ดิบแลง้
40.00 ปา่ เบญจพรรณ
20.00 พ�นื ทเี� กษตร
0.00 27.20 29.60
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ด�ี ิน (Landuse Type)
ภาพที่ 19 ความหนาแนนของไมท้ังหมดในอุทยานแหงชาตินาํ้ ตกหวยยาง
26
ปริมาตรไม้ตอ่ หน่วยพนื� ท�ีจําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี� ิน
ในอุทยานแห่งชาตนิ ํ�าตกห้วยยาง
70.00 65.60
60.00
ปริมาตร (ลบ.ม./ไร่) 50.00 ป่าดิบชน�ื
ป่าดิบแล้ง
40.00 ป่าเบญจพรรณ
พื�นท�ีเกษตร
30.00
20.00 17.18
10.00
5.63 6.88
0.00
ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด�ี ิน (Landuse Type)
ภาพที่ 20 ปริมาตรไม (ลบ.ม./ไร) ของพื้นท่แี ตละประเภทในอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไมท ั้งหมดในอุทยานแหงชาตนิ ้าํ ตกหวยยาง
ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไมทัง้ หมด (ตน ) รอยละ (%)
15 - 45 ซม. 7,947,545 71.54
22.73
>45 - 100 ซม. 2,524,773 5.73
>100 ซม. 636,682 100.00
รวม 11,109,000
การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไมท้ �งั หมด
ในอทุ ยานแหง่ ชาตินา�ํ ตกห้วยยาง
636,682
2,524,773
15 - 45 ซม.
>45 - 100 ซม.
>100 ซม.
7,947,545
ภาพที่ 21 การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไมทง้ั หมดในอุทยานแหง ชาตินาํ้ ตกหว ยยาง
27
4. ชนิดพนั ธไุ ม
ชนิดพันธุไมที่สํารวจพบในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง มีมากกวา 191 ชนิด รวมจํานวน
11,109,000 ตน คิดเปนปริมาตรไมรวม 3,131,781.03 ลูกบาศกเมตร มีคาความหนาแนนเฉล่ีย 110.40 ตนตอไร มี
ปริมาตรไมเฉล่ีย 31.12 ลูกบาศกเมตรตอไร ชนิดไมที่มีปริมาณไมมากที่สุด 10 อันดับแรก ไดแก กระบกกรัง
(Hopea helferi) ไขเขียว (Parashorea stellate) กระทุมหูกวาง (Neonauclea sessilifolia) ตะเคียนหนู
(Anogeissus acuminate) แ ก ว ล า ว (Walsura pinnata) ต า เ สื อ (Aphanamixis polystachya) ดําดง
(Diospyros pubicalyx) ยางยูง (Dipterocarpus grandifloras) เคี่ยมคะนอง (Shorea henryana) และทองโหลง
(Erythrina fusca) รายละเอียดดงั ตารางที่ 6
ในปาดิบชื้น มีปริมาณไมรวม 4,742,182 ตน คิดเปนปริมาตรไมรวม 2,100,737.02 ลูกบาศกเมตร มีคา
ความหนาแนนเฉล่ีย 148.11 ตนตอไร มีปริมาตรไมเฉล่ีย 65.60 ลกู บาศกเมตรตอไร ชนดิ ไมท ่ีมปี ริมาณไมม ากท่ีสุด
10 อันดับแรก ไดแก กระบกกรัง (Hopea helferi) ไขเขียว (Parashorea stellata) แกวลาว (Walsura
pinnata) ดําดง (Diospyros pubicalyx) ยางยูง (Dipterocar pusgrandiflorus) เคี่ยมคะนอง (Shorea
henryana) ยมหอม (Toona ciliata) ไขเนา (Vitex glabrata) พระเจาหาพระองค (Dracontomelon dao)
และสงั เครยี ดลงั สาด (Aglaia tomentosa) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 7
ในปาดิบแลงมีปริมาณไมรวม 5,971,636 ตน คิดเปนปริมาตรไมรวม 942,724.26 ลูกบาศกเมตร มีคา
ความหนาแนนเฉล่ีย 108.80 ตนตอไร มีปริมาตรไมเฉล่ีย 17.18 ลูกบาศกเมตรตอไร ชนิดไมที่มีปริมาณไมมาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ไดแก ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) กระทุมหูกวาง (Neonauclea
sessilifolia) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ทองโหลง (Erythrina fusca) สมอพิเภก (Terminalia
bellirica) สมพง (Tetrameles nudiflora) ตะแบกกราย (Terminalia pierrei) งิ้วปา (Bombax anceps)
ปอตบู หูชาง (Sterculia villosa) และตีนนก (Vitex pinnata) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 8
ในปาเบญจพรรณมีปริมาณไมรวม 124,409 ตน คิดเปนปริมาตรไมรวม 25,776.76 ลูกบาศกเมตร มีคา
ความหนาแนน เฉลย่ี 27.20 ตนตอไร มีปรมิ าตรไมเฉลี่ย 5.64 ลูกบาศกเ มตรตอไร ชนิดไมทมี่ ีปริมาณไมมากท่สี ุด คือ งิ้ว
(Bombax ceiba) รองลงมาไดแก ทองโหลง (Erythrina fusca) ตีนนก (Vitex pinnata) ตะเคียนหนู
(Anogeissus acuminata) ตะแบกกราย (Terminalia pierrei) ปอขาว (Sterculia pexa) และเพกา (Oroxylum
indicum) รายละเอียดดงั ตารางที่ 9
ในพื้นที่เกษตรกรรมมีปริมาณไมรวม 270,773 ตน คิดเปนปริมาตรไมรวม 62,906.96 ลูกบาศกเมตร มีคา
ความหนาแนนเฉลี่ย 29.60 ตนตอไร มีปริมาตรไมเฉล่ีย 6.88 ลูกบาศกเมตรตอไร ชนิดไมท่ีมีปริมาณไมมากท่ีสุด 10
อันดับแรก คือ มะพราว (Cocos nucifera) รองลงมา ไดแก สะตอ (Parkia speciosa) นุน (Ceiba pentandra) แค
ทราย (Stereospermum neuranthum) ฝร่ัง (Psidium guajava) ปอขี้ไก (Trema tomentosa) หมีเหม็น
28
(Litsea glutinosa) นอยหนา (Annona squamosa) มะเดื่ออุทุมพร (Ficus racemosa) และกระถิน (Leucaena
leucocephala) ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 10
ชนิดและปริมาณของลูกไมที่พบในอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง มีมากกวา 67 ชนิด รวมท้ังสิ้น
210,324,545 ตน มีความหนาแนนของลูกไม 2,090.18 ตนตอไร โดยชนิดไมท่ีมีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ไดแก ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) ปอขี้ไก (Trema tomentosa) เปลาใหญ (Croton roxburghii) ยู
( Pterospermum pecteniforme) ต ะ แ บ ก ก ร า ย ( Terminalia pierrei) แ ก ว ( Murraya paniculata)
คงคาเดือด (Arfeuillea arborescens) เมก็ (Macaranga tanarius) แขง แคะ (Cleistanthus papyraceus) และ
กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolia) รายละเอียดดงั ตารางที่ 11
ชนิดและปริมาณของกลาไมที่พบในอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง มีมากกวา 47 ชนิด รวมทั้งส้ิน
655,709,091 ตน มีความหนาแนนของกลาไม 6,516.36 ตนตอไร โดยชนิดไมที่มีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ไดแก แขงแคะ (Cleistanthus papyraceus) เปลาใหญ (Croton roxburghii) คงคาเดือด (Arfeuillea arborescens)
พลองกินลูก (Memecylon ovatum) กระแจะ (Naringi crenulata) แกวน้ํา (Cleistanthus hirsutulus) เสลา
เปลือกบาง (Lagerstroemia venusta) สะเตา (Pterospermum grandiflorum) ตะเคียนหนู (Anogeissus
acuminata) และปอขนนุ (Sterculia parviflora) รายละเอียดดังตารางที่ 12
สําหรับชนิดไมไผที่พบในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง มี 3 ชนิด ไดแก ไผไร (Gigantochloa
albociliata) ไผรวก (Thyrsostachys siamensis) และไผกะแสนดํา (Schizostachyum mekongensis) โดย
มีปริมาณไมไผจํานวน 5,620,364 กอ รวมท้ังส้นิ 67,049,182 ลาํ ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 13
29
ตารางท่ี 6 ปรมิ าณไมท ัง้ หมดของอทุ ยานแหง ชาตินาํ้ ตกหวยยาง (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปรมิ าตรไมสูงสุด)
ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธไุ ม ชื่อวิทยาศาสตร ปรมิ าณไม ปริมาตรไม ความหนาแนน ปรมิ าตร
(ตน)
(ลบ.ม.) (ตน /ไร) (ลบ.ม./ไร)
1 กระบกกรงั Hopea helferi 58,545 367,190.21 0.58 3.65
2 ไขเ ขียว Parashorea stellata 43,909 257,164.53 0.44 2.56
3 กระทุมหูกวาง Neonauclea sessilifolia 336,636 122,975.23 3.35 1.22
4 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 724,500 108,276.61 7.20 1.08
5 แกว ลาว Walsura pinnata 14,636 95,289.28 0.15 0.95
6 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 21,955 90,545.76 0.22 0.90
7 ดาํ ดง Diospyros pubicalyx 51,227 76,653.88 0.51 0.76
8 ยางยูง Dipterocarpus grandiflorus 139,045 73,407.65 1.38 0.73
9 เค่ยี มคะนอง Shorea henryana 43,909 69,853.82 0.44 0.69
10 ทองโหลง Erythrina fusca 124,409 68,184.36 1.24 0.68
11 ยมหอม Toona ciliata 87,818 65,069.90 0.87 0.65
12 ไขเนา Vitex glabrata 14,636 64,006.33 0.15 0.64
13 พระเจา หาพระองค Dracontomelon dao 21,955 62,457.94 0.22 0.62
14 คงคาเดือด Arfeuillea arborescens 629,364 61,522.41 6.25 0.61
15 มะพรา ว Cocos nucifera 117,091 56,906.10 1.16 0.57
16 มะแฟน Protium serratum 365,909 55,281.27 3.64 0.55
17 สังเครียดลงั สาด Aglaia tomentosa 161,000 53,030.54 1.60 0.53
18 สมอพิเภก Terminalia bellirica 285,409 41,964.25 2.84 0.42
19 สังกะโตง Aglaia lawii 190,273 39,726.54 1.89 0.39
20 มะคังดง Ostodes paniculata 58,545 37,225.57 0.58 0.37
21 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 248,818 36,229.04 2.47 0.36
22 ตนี นก Vitex pinnata 146,364 35,755.54 1.45 0.36
23 สมพง Tetrameles nudiflora 21,955 35,367.19 0.22 0.35
24 รกั ปา Semecarpus curtisii 29,273 34,875.50 0.29 0.35
25 งว้ิ ปา Bombax anceps 102,455 33,440.47 1.02 0.33
26 ปอตูบ หชู า ง Sterculia villosa 226,864 31,664.19 2.25 0.31
27 ยู Pterospermum pecteniforme 80,500 29,016.52 0.80 0.29
28 นวลเส้ยี น Aporosa octandra 7,318 26,867.87 0.07 0.27
29 มะคําดีควาย Sapindus rarak 29,273 24,439.23 0.29 0.24
30 สังเครียดกลอง Aglaia argentea 190,273 23,971.14 1.89 0.24
31 อ่นื ๆ Others 6,535,136 953,422.16 64.95 9.48
รวม 11,109,000 3,131,781.03 110.40 31.12
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุไมท ่สี ํารวจพบทั้งหมด 191 ชนิด
30
ตารางที่ 7 ปริมาณไมใ นปาดบิ ชืน้ ของอทุ ยานแหงชาติน้ําตกหว ยยาง (30 ชนดิ แรกท่มี ปี รมิ าตรไมสูงสุด)
ลําดบั ชนดิ พันธไุ ม ชื่อวทิ ยาศาสตร ปรมิ าณไม ปรมิ าตรไม ความหนาแนน ปรมิ าตร
(ตน)
(ลบ.ม.) (ตน /ไร) (ลบ.ม./ไร)
1 กระบกกรงั Hopea helferi 51,227 367,145.30 1.60 11.47
2 ไขเ ขยี ว Parashorea stellata 43,909 257,164.52 1.37 8.03
3 แกวลาว Walsura pinnata 14,636 95,289.28 0.46 2.98
4 ดําดง Diospyros pubicalyx 51,227 76,653.88 1.60 2.39
5 ยางยูง Dipterocarpus grandiflorus 139,045 73,407.65 4.34 2.29
6 เคี่ยมคะนอง Shorea henryana 29,273 67,766.68 0.91 2.12
7 ยมหอม Toona ciliata 87,818 65,069.90 2.74 2.03
8 ไขเ นา Vitex glabrata 7,318 63,634.61 0.23 1.99
9 พระเจาหา พระองค Dracontomelon dao 21,955 62,457.94 0.69 1.95
10 สังเครียดลงั สาด Aglaia tomentosa 161,000 53,030.54 5.03 1.66
11 มะแฟน Protium serratum 351,273 50,705.71 10.97 1.58
12 สงั กะโตง Aglaia lawii 190,273 39,726.54 5.94 1.24
13 คงคาเดอื ด Arfeuillea arborescens 417,136 38,607.00 13.03 1.21
14 มะคงั ดง Ostodes paniculata 58,545 37,225.57 1.83 1.16
15 รกั ปา Semecarpus curtisii 14,636 33,760.40 0.46 1.05
16 มะคาํ ดคี วาย Sapindus rarak 29,273 24,439.23 0.91 0.76
17 ยางบง Persea kurzii 21,955 19,527.88 0.69 0.61
18 กระทุม หูกวาง Neonauclea sessilifolia 73,182 18,803.03 2.29 0.59
19 ยมหิน Chukrasia tabularis 21,955 14,986.84 0.69 0.47
20 จกั หัน Orophea polycarpa 343,955 14,419.73 10.74 0.45
21 ดีหมี Cleidion spiciflorum 153,682 12,506.29 4.80 0.39
22 กระทมุ Anthocephalus chinensis 51,227 11,854.44 1.60 0.37
23 เม็ก Macaranga tanarius 51,227 10,426.39 1.60 0.33
24 เสม็ดทุง Lophopetalum wallichii 65,864 9,237.66 2.06 0.29
25 ตาเสอื Aphanamixis polystachya 7,318 7,798.20 0.23 0.24
26 คางคาว Aglaia edulis 131,727 6,307.70 4.11 0.20
27 กะอวม Acronychia pedunculata 7,318 6,136.60 0.23 0.19
28 ทลายเขา Antheroporum glaucum 58,545 5,904.52 1.83 0.18
29 ขหี้ นอนควาย Gironniera nervosa 7,318 5,391.95 0.23 0.17
30 พะวา Garcinia speciosa 29,273 4,617.48 0.91 0.14
31 อื่น ๆ Others 2,049,091 546,369.59 64.00 17.06
รวม 4,742,182 2,100,373.02 148.11 65.60
หมายเหตุ : มีชนิดพันธุไมท ่สี ํารวจพบทง้ั หมด 120 ชนดิ
31
ตารางท่ี 8 ปริมาณไมใ นปา ดบิ แลงของอุทยานแหง ชาตนิ ํ้าตกหวยยาง (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไมสงู สดุ )
ลําดบั ชนิดพันธุไม ชื่อวทิ ยาศาสตร ปริมาณไม ปริมาตรไม ความหนาแนน ปริมาตร
(ตน)
709,864 (ลบ.ม.) (ตน/ไร) (ลบ.ม./ไร)
263,455
1 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 14,636 106,636.84 12.93 1.94
117,091
2 กระทมุ หูกวาง Neonauclea sessilifolia 285,409 104,172.20 4.80 1.90
21,955
3 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 219,545 82,747.56 0.27 1.51
102,455
4 ทองโหลง Erythrina fusca 226,864 61,918.15 2.13 1.13
109,773
5 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 7,318 41,964.25 5.20 0.76
29,273
6 สมพง Tetrameles nudiflora 212,227 35,367.19 0.40 0.64
153,682
7 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 117,091 35,081.10 4.00 0.64
8 งวิ้ ปา Bombax anceps 33,440.47 1.87 0.61
9 ปอตบู หชู าง Sterculia villosa 31,664.19 4.13 0.58
10 ตีนนก Vitex pinnata 31,005.12 2.00 0.56
11 นวลเส้ียน Aporosa octandra 26,867.87 0.13 0.49
12 ยู Pterospermum pecteniforme 25,039.11 0.53 0.46
13 คงคาเดือด Arfeuillea arborescens 22,915.41 3.87 0.42
14 สังเครียดกลอง Aglaia argentea 21,112.45 2.80 0.38
15 ตะแบก Lagerstroemia duperreana 14,728.14 2.13 0.27
เปลอื กบาง
16 ตะคร้ํา Garuga pinnata 36,591 14,344.95 0.67 0.26
95,136 13,215.79 1.73 0.24
17 สะแกแสง Cananga latifolia 95,136 10,881.03 1.73 0.20
146,364 10,701.66 2.67 0.19
18 แคหางคาง Fernandoa adenophylla 102,455 10,381.81 1.87 0.19
80,500 9,725.22 1.47 0.18
19 ดหี มี Cleidion spiciflorum 248,818 8,642.62 4.53 0.16
29,273 8,565.91 0.53 0.16
20 ปอแกน เทา Grewia eriocarpa 51,227 8,231.00 0.93 0.15
226,864 7,193.89 4.13 0.13
21 ยางโอน Polyalthia viridis 7,318 6,800.65 0.13 0.12
117,091 6,507.14 2.13 0.12
22 อีแปะ Vitex quinata 43,909 6,480.28 0.80 0.12
153,682 5,264.04 2.80 0.10
23 เครือเขาหนงั Bauhinia bassacensis 14,636 4,575.56 0.27 0.08
1,932,000 136,552.68 35.20 2.49
24 สาํ โรง Sterculia foetida
5,971,636 942,724.26 108.80 17.18
25 ปอขนุน Sterculia parviflora
26 ปอแดง Sterculia guttata
27 ขอ ยน้ํา Streblus taxoides
28 สวอง Vitex limonifolia
29 พลับพลา Microcos tomentosa
30 มะแฟน Protium serratum
31 อืน่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุไมท ส่ี ํารวจพบทัง้ หมด 110 ชนิด
ตารางที่ 9 ปริมาณไมใ นปา เบญจพรรณของอุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยาง 32
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธไุ ม ชอื่ วิทยาศาสตร ปริมาณไม ปรมิ าตรไม ความหนาแนน ปรมิ าตร
(ตน) (ลบ.ม./ไร)
(ลบ.ม.) (ตน /ไร)
2.55
1 ง้วิ Bombax ceiba 7,318 11,654.98 1.60 1.37
1.04
2 ทองโหลง Erythrina fusca 7,318 6,266.22 1.60 0.34
0.25
3 ตีนนก Vitex pinnata 36,591 4,750.42 8.00 0.06
0.03
4 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 7,318 1,546.13 1.60 5.64
5 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 29,273 1,147.94 6.40
6 ปอขาว Sterculia pexa 21,955 261.88 4.80
7 เพกา Oroxylum indicum 14,636 149.20 3.20
รวม 124,409 25,776.76 27.20
ตารางที่ 10 ปริมาณไมใ นพนื้ ที่เกษตรกรรมของอุทยานแหงชาตนิ าํ้ ตกหวยยาง
ลําดับ ชนดิ พนั ธุไ ม ชื่อวทิ ยาศาสตร ปริมาณไม ปริมาตรไม ความหนาแนน ปริมาตร
(ตน )
(ลบ.ม.) (ตน /ไร) (ลบ.ม./ไร)
1 มะพราว Cocos nucifera 117,091 56,906.10 12.80 6.22
2 สะตอ Parkia speciosa 21,955 2,545.10 2.40 0.28
3 นนุ Ceiba pentandra 7,318 564.44 0.80 0.06
4 แคทราย Stereospermum 7,318 532.53 0.80 0.06
Neuranthum
5 ฝรงั่ Psidium guajava 14,636 530.42 1.60 0.06
6 ปอขไ้ี ก Trema tomentosa 21,955 522.84 2.40 0.06
7 หมเี หม็น Litsea glutinosa 7,318 479.38 0.80 0.05
8 นอยหนา Annona squamosa 29,273 289.84 3.20 0.03
9 มะเดอ่ื อทุ ุมพร Ficus racemosa 14,636 202.36 1.60 0.02
10 กระถิน Leucaena leucocephala 14,636 122.21 1.60 0.01
11 เตารา งแดง Caryota mitis 7,318 118.10 0.80 0.01
12 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 7,318 93.64 0.80 0.01
รวม 270,773 62,906.96 29.60 6.88
33
ตารางที่ 11 ปรมิ าณลูกไม (Sapling) ของอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาณไมสูงสดุ )
ลําดับ ชนดิ พันธุไม ช่อื วิทยาศาสตร ปรมิ าณไม ความหนาแนน
(ตน) (ตน /ไร)
1 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 16,831,818 167.27
13,904,545 138.18
2 ปอข้ไี ก Trema tomentosa 13,172,727 130.91
12,440,909 123.64
3 เปลาใหญ Croton roxburghii 10,245,455 101.82
9,074,545 90.18
4 ยู Pterospermum pecteniforme 8,489,091 84.36
8,196,364 81.45
5 ตะแบกกราย Terminalia pierrei 7,025,455 69.82
5,854,545 58.18
6 แกว Murraya paniculata 5,122,727 50.91
4,683,636 46.55
7 คงคาเดือด Arfeuillea arborescens 4,537,273 45.09
4,390,909 43.64
8 เม็ก Macaranga tanarius 4,390,909 43.64
4,390,909 43.64
9 แขง แคะ Cleistanthus papyraceus 3,951,818 39.27
3,659,091 36.36
10 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifolia 3,220,000 32.00
3,220,000 32.00
11 ขอยนํา้ Streblus taxoides 3,073,636 30.55
2,927,273 29.09
12 กระแจะ Naringi crenulata 2,488,182 24.73
2,341,818 23.27
13 ปอแกน เทา Grewia eriocarpa 2,195,455 21.82
2,195,455 21.82
14 มะนาวผี Atalantia monophylla 2,049,091 20.36
1,610,000 16.00
15 พลับพลา Microcos tomentosa 1,463,636 14.55
1,463,636 14.55
16 ทองโหลง Erythrina fusca 41,713,636 414.55
17 จักหนั Orophea polycarpa 210,324,545 2,090.18
18 กระทุมหูกวาง Neonauclea sessilifolia
19 ยางยงู Dipterocarpus grandiflorus
20 ทลายเขา Antheroporum glaucum
21 มะปราง Bouea macrophylla
22 ตนี นก Vitex pinnata
23 ดหี มี Cleidion spiciflorum
24 คางคาว Aglaia edulis
25 พิลังสา Ardisia collinsae
26 เคยี่ มคะนอง Shorea henryana
27 สังกะโตง Aglaia lawii
28 สตั บรรณ Alstonia scholaris
29 อแี ปะ Vitex scabra
30 ละมุดปา Manilkara littoralis
31 อ่ืนๆ Others
รวม
หมายเหตุ: มีชนิดพันธุลกู ไมท ่ีสํารวจพบท้งั หมด 66 ชนิด
34
ตารางท่ี 12 ปริมาณกลาไม (Seedling) ของอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง (30 ชนดิ แรกท่ีมปี ริมาณไมส ูงสุด)
ลาํ ดบั ชนดิ พันธุไม ช่ือวิทยาศาสตร ปริมาณไม ความหนาแนน
(ตน ) (ตน/ไร)
1 แขงแคะ Cleistanthus papyraceus 49,763,636 494.55
23,418,182 232.73
2 เปลาใหญ Croton roxburghii 19,027,273 189.09
17,563,636 174.55
3 คงคาเดอื ด Arfeuillea arborescens 16,100,000 160.00
13,172,727 130.91
4 พลองกนิ ลกู Memecylon ovatum 13,172,727 130.91
13,172,727 130.91
5 กระแจะ Naringi crenulata 11,709,091 116.36
8,781,818 87.27
6 แกว นํ้า Cleistanthus hirsutulus 7,318,182 72.73
5,854,545 58.18
7 เสลาเปลอื กบาง Lagerstroemia venusta 5,854,545 58.18
4,390,909 43.64
8 สะเตา Pterospermum grandiflorum 4,390,909 43.64
2,927,273 29.09
9 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 2,927,273 29.09
2,927,273 29.09
10 ปอขนนุ Sterculia parviflora 2,927,273 29.09
2,927,273 29.09
11 ยู Pterospermum pecteniforme 2,927,273 29.09
2,927,273 29.09
12 ปอแกนเทา Grewia eriocarpa 2,927,273 29.09
1,463,636 14.55
13 แกวลาว Walsura pinnata 1,463,636 14.55
1,463,636 14.55
14 ไมห อม Aquilaria malaccensis 1,463,636 14.55
1,463,636 14.55
15 หสั คณุ Micromelum minutum 1,463,636 14.55
1,463,636 14.55
16 เครือเขาหนงั Bauhinia bassacensis 408,354,545 4,058.18
17 มะปราง Bouea macrophylla 655,709,091 6,516.36
18 มหาพรหม Mitrephora winitii
19 แคทราย Stereospermum neuranthum
20 พลิ ังสา Ardisia collinsae
21 หมเี หม็น Litsea glutinosa
22 จักหนั Orophea polycarpa
23 ขอยน้ํา Streblus taxoides
24 ทงุ ฟา Alstonia macrophylla
25 มะไฟ Baccaurea ramiflora
26 เฉียงพรา นางแอ Carallia brachiata
27 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifolia
28 เสลาเปลือกหนา Lagerstroemia villosa
29 เสมด็ ทงุ Lophopetalum wallichii
30 กระทมุ หกู วาง Neonauclea sessilifolia
31 อ่นื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพันธกุ ลา ไมที่สํารวจพบทัง้ หมด 47 ชนดิ
35
ตารางท่ี 13 ชนิดและปรมิ าณไมไผ หวาย และไมกอ ทพี่ บในอุทยานแหงชาติน้ําตกหวยยาง
ลาํ ดบั ชนิดพันธไุ ผ หวาย และไมก อ ชื่อวทิ ยาศาสตร ปริมาณไมไผทั้งหมด
จํานวนกอ จาํ นวนลาํ
ไผ
1 ไผไร Gigantochloa albociliata 3,995,727 48,285,364
2 ไผรวก Thyrsostachys siamensis 1,083,091 10,757,727
3 ไผกะแสนดํา Schizostachyum mekongensis 541,545 8,006,091
รวมไผ 5,620,364 67,049,182
36
37
38
39
40
41
5. สังคมพืช
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะหขอมูลสังคมพืชในอุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยาง พบวามีสังคมพืช 4
ประเภท คือ ปา ดบิ ชื้น ปา ดบิ แลง ปาเบญจพรรณ และพ้นื ท่เี กษตรกรรม และจากวเิ คราะหข อมลู สังคมพืช ความ
หนาแนนของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเดน (Dominance) และดัชนีความสําคัญของพรรณ
ไม (IVI) ดังนี้
ในอุทยานแหงชาตินาํ้ ตกหวยยาง มีชนิดไมที่มีคาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (IVI) สูงสุด 10 อันดบั
แรก ไดแก ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) คงคาเดือด (Arfeuillea arborescens) กระบกกรัง (Hopea
helferi) กระทุมหูกวาง (Neonauclea sessilifolia) มะแฟน (Protium serratum) ดีหมี (Cleidion spiciflorum)
จักหนั (Orophea polycarpa) ไขเขยี ว (Parashorea stellata) ทองโหลง (Erythrina fusca) และปอตูบ หูชาง
(Sterculia villosa) ดงั รายละเอียดในตารางที่ 14
ในพืน้ ทป่ี า ดิบช้ืนมีชนิดไมทม่ี ีคา ดัชนคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม (IVI) สูงสดุ 10 อันดบั แรก ไดแก คงคาเดือด
(Arfeuillea arborescens) กระบกกรัง (Hopea helferi) มะแฟน (Protium serratum) จักหัน (Orophea
polycarpa) ไขเขยี ว (Parashorea stellata) สงั เครยี ดลังสาด (Aglaia tomentosa) สังกะโตง (Aglaia lawii) ยางยูง
(Dipterocarpus grandiflorus) ดีหมี (Cleidion speciflorum) และยมหอม (Toona ciliata) ดังรายละเอียด
ในตารางท่ี 15
ในพ้ืนท่ีปาดิบแลง มีชนิดไมที่มีคาดัชนีความสําคัญของชนดิ ไม (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ไดแกตะเคียน
หนู (Anogeissus acuminata) กระทุมหูกวาง (Neonauclea sessilifolia) ปอตูบหูชาง (Sterculia villosa)
ทองโหลง (Erythrina fusca) สมอพิเภก (Terminalia bellirica) ตะแบกกราย (Terminalia pierrei) ตีนนก
(Vitex pinnata) คงคาเดือด (Arfeuilleaarb orescens) อีแปะ (Vitex quinata) และ ตาเสือ (Aphanamixis
polystachya) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 16
ในพื้นที่ปาเบญจพรรณ มีชนิดไมท่ีมีคาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (IVI) สูงสุด คือ ตีนนก (Vitex
pinnata) รองลงมา ไดแก ตะแบกกราย (Terminalia pierrei) ทองโหลง (Erythrina fusca) ง้ิว (Bombax
ceiba) ปอขาว (Sterculia pexa) เพกา (Oroxylum indicum) และตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata)
ดังรายละเอียดในตารางที่ 17
ในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม มีชนิดไมท่ีมีคาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ไดแก
มะพราว (Cocos nucifera) สะตอ (Parkia speciosa) นอยหนา (Annona squamosa) ปอขี้ไก (Trema
tomentosa) ฝร่ัง (Psidium guajava) มะเดื่ออุทุมพร (Ficus racemosa) กระถิน (Leucaena leucocephala) นุน
(Ceiba pentandra) แคทราย (Stereospermum neuranthum) และหมีเหม็น (Litsea glutinosa) ดัง
รายละเอียดในตารางท่ี 18
42
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ
ขอมูลเกย่ี วกับความหลากหลายทางชวี ภาพ พบวา ชนดิ ปาหรือลักษณะการใชประโยชนท่ีดนิ ท่ีมีความ
หลากหลายของชนิดพันธุไม (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ ปาดิบช้ืน รองลงมา คือ ปาดิบแลง ชนิดปาหรือ
ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินที่มีความมากมายของชนิดพันธุไม (Species Richness) มากท่ีสุด คือ ปาดิบชื้น
รองลงมา คือ ปาดิบแลง และชนิดปาหรือลักษณะการใชประโยชนท่ีดินท่ีมีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุไม
(Species Evenness) มากที่สุด คือ ปาเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปาดิบชื้นและปาดิบแลง รายละเอียด ดัง
ตารางท่ี 19
ตารางที่ 19 ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ในอทุ ยานแหง ชาตนิ ํ้าตกหวยยาง
ลกั ษณะการใชป ระโยชนท ด่ี ิน ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biodiversity)
(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสมาํ่ เสมอ ความมากมาย
(Diversity) (Evenness) (Richness)
ปาดิบชน้ื 4.01 0.84 18.47
(Tropical Evergreen Forest)
ปาดบิ แลง 3.96 0.84 16.22
(Dry Evergreen Forest)
ปา เบญจพรรณ 1.80 0.92 2.08
(Mixed Deciduous Forest)
พ้นื ทีเ่ กษตรกรรม 1.97 0.79 3.05
(Agriculture land)
อทุ ยานแหงชาตนิ ้ําตกหว ยยาง 4.49 0.85 26.01
43
สรสปุ รผุปลผกลากรสาราํ สรวําจรวแจลแะลวะเิ ควรเิ คาะรหาะข หอ ขมอลู มทลู รทัพรยัพายการกปราปไมาไม
จากการวางแปลงตัวอยางถาวรเพื่อเก็บขอมูลและสํารวจทรัพยากรปาไมในพื้นที่อุทยานแหงชาติ
น้ําตกหวยยาง โดยการวางแปลงตวั อยางถาวร จํานวน 22 แปลง ทําการเก็บขอมูลการสํารวจทรัพยากรปา ไม
ตาง ๆ อาทิเชน ชนิดไม ขนาดความโต ความสูง จํานวนกลาไมและลูกไม ชนิดปา ลักษณะตาง ๆ ของพ้ืนท่ีที่
ตนไมข้ึนอยู ขอมูลลักษณะ ภูมิประเทศ เชน ระดับความสูง ความลาดชัน เปนตน ตลอดจนการเก็บขอมูล
องคป ระกอบรวมของปา เชน ไมไ ผ หวาย ไมพ มุ ไมเ ถา เถาวลั ย และพชื ชนั้ ลาง แลวนาํ ขอมูลมาวิเคราะหเพ่ือ
ประเมินสถานภาพทรัพยากรปาไม โดยใชโปรแกรมประมวลผลขอมูลระบบสารสนเทศการสํารวจทรัพยากรปา
ไม ของสวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปาไม สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ กรมอุทยานแหงชาติ
สัตวปา และพนั ธพุ ชื สรปุ ผลไดด ังนี้
1. ลักษณะการใชประโยชนที่ดิน
พื้นท่ีดําเนินการสํารวจทรัพยากรปาไมในพื้นท่ีอุทยานแหงชาตินํ้าตกหวยยาง พบชนิดปาหรือลักษณะ
การใชประโยชนท่ีดินอยู 4 ประเภท ไดแก ปาดิบชื้น ปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ และพ้ืนที่เกษตรกรรม โดยปาดิบ
แลงพบมากท่ีสุด มีเนื้อท่ี 87.82 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 54.55 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมา คือ
ปา ดบิ ชนื้ มีเน้อื ท่ี 51.23 ตารางกโิ ลเมตร คดิ เปนรอ ยละ 31.82 ของพื้นทท่ี งั้ หมด และพ้นื ที่เกษตรกรรม มีเนอื้
ท่ี 14.64 ตารางกโิ ลเมตร คิดเปนรอ ยละ 9.09 ของพน้ื ที่ท้งั หมด และอันดบั สุดทาย คือ ปา เบญจพรรณ มเี น้ือ
ที่ 7.32 ตารางกิโลเมตร คดิ เปนรอยละ 4.55 ของพนื้ ทท่ี ั้งหมด
2. ชนดิ พนั ธุและปริมาณไมต น (Trees)
จากการวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับชนิดไม ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแนนของตนไม ในแปลง
ตวั อยางถาวร พื้นทอี่ ทุ ยานแหงชาตินาํ้ ตกหว ยยาง พบไมยนื ตนทม่ี ีความสูงมากกวา 1.30 เมตร และมีขนาดเสน
รอบวงเพียงอก (GBH) มากกวาหรือเทากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป รวมท้ังหมด 11,109,000 ตน ปริมาตรไมรวม
ท้ังหมด 3,131,781.03 ลกู บาศกเ มตร ปรมิ าตรไมเฉลี่ย 31.12 ลูกบาศกเ มตรตอไร มีความหนาแนน ของตนไม
เฉลี่ย 110.40 ตนตอไร พบปริมาณไมมากสุดในปาดิบแลง จํานวน 5,971,636 ตน รองลงมา ในปาดิบชื้น พบ
จํานวน 4,742,182 ตน สําหรับปริมาตรไมพบมากสุดในปาดิบชื้น จํานวน 2,100,737.02 ลูกบาศกเมตร
รองลงมา คือ ปาดบิ แลง จํานวน 942,724.26 ลูกบาศกเมตร
สําหรับชนิดพันธุไมท่ีพบในแปลงสํารวจ มี 39 วงศ มากกวา 191 ชนิด โดยเรียงลําดับชนิดไมท่ีมีปริมาณ
ไมมากที่สุด 10 อันดับแรก ไดแก กระบกกรัง (Hopea helferi) ไขเขียว (Parashorea stellate) กระทุมหูกวาง
(Neonauclea sessilifolia) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminate) แกวลาว (Walsura pinnata) ตาเสือ
(Aphanamixis polystachya) ดําดง (Diospyros pubicalyx) ยางยูง (Dipterocarpus grandifloras) เคี่ยมคะนอง
(Shorea henryana) และทองโหลง (Erythrina fusca) ตามลําดบั