รายงานการสารวจทรพั ยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาตภิ ผู าเหลก็
กลุ่มงานวิชาการ สานักบรหิ ารพื้นทีอ่ นุรกั ษท์ ี่ 10 (อดุ รธานี)
สว่ นสารวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สานักฟื้นฟแู ละพัฒนาพื้นทอี่ นุรกั ษ์
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธพ์ุ ชื
พ.ศ. 2557
รายงานการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
อทุ ยานแห่งชาติภผู าเหลก็
กลมุ่ งานวิชาการ สํานกั บรหิ ารพน้ื ทอี่ นุรกั ษ์ท่ี 10 (อุดรธานี)
สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนทอ่ี นรุ กั ษ์
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธพ์ุ ชื
พ.ศ. 2557
บทสรุปสําหรบั ผู้บรหิ าร
จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พื้นท่ีป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 33.56
ของพืน้ ที่ประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไมจ้ ึงเป็นอีกทางหน่งึ ที่ทาํ ใหท้ ราบถงึ สถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลต่อการบุกรุกทาํ ลายป่า เพ่ือนาํ มาใช้ในการ
ดําเนนิ การตามภาระรับผิดชอบตอ่ ไป ซึง่ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธพุ์ ืช ได้ดําเนนิ การมาอยา่ งตอ่ เน่ือง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ซ่ึงมีเน้ือที่ 252,737 ไร่ หรือ
ประมาณ 404.38 ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่ตําบลส่องดาว ตําบลท่าศิลา ตําบลปทุมวาปี อําเภอส่องดาว
ตาํ บลค้อเขียว ตําบลคําบอ่ ตําบลวารชิ ภูมิ อําเภอวารชิ ภมู ิ ตาํ บลนคิ มนํ้าอนู อําเภอนคิ มน้ําอูน ตําบลกุดไห
ตําบลกดุ บาก อาํ เภอกดุ บาก และตําบลโคกภู อําเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร ตําบลผาสุก อําเภอวังสามหมอ
จังหวัดอุดรธานี ตาํ บลนาทัน ตําบลดนิ จ่ี ตาํ บลนาบอน อาํ เภอคาํ มว่ ง และตําบลแซงบาดาล ตําบลมหาไชย
อําเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี)
จาํ นวน 40 แปลง และสํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 8 (ขอนแก่น) จํานวน 13 แปลง รวมท้ังส้ินจํานวน 53 แปลง
สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ
วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยูต่ ามทิศหลักทงั้ 4 ทิศ
ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ ้อมูล พบวา่ มีชนิดปา่ หรือลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่สํารวจพบ
5 ประเภท ได้แก่ ปา่ ดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ไร่ร้าง และสวนยางพารา โดยป่าเบญจพรรณพบมากท่ีสุด
คดิ เป็นรอ้ ยละ 71.70 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด รองลงมา คือ ป่าเต็งรัง คิดเป็นร้อยละ 18.87 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด ป่าดิบแล้ง
คิดเป็นร้อยละ 1.89 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด และลําดับสุดท้ายเป็นไร่ร้างและสวนยางพารา คิดเป็นร้อยละที่เท่ากัน
คือ 3.77 ของพ้ืนที่ท้งั หมด สําหรับพรรณไม้รวมทุกชนิดป่าพบท้ังสิ้น 43 วงศ์ มีมากกว่า 150 ชนิด รวมจํานวน
24,026,228 ต้น ปริมาตรไม้รวมทั้งหมด 3,675,220.78 ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉล่ีย 95.06
ต้นต่อไร่ และมปี ริมาตรไมเ้ ฉล่ยี 14.54 ลกู บาศก์เมตรต่อไร่ ซึ่งเมื่อเรียงลําดับจากจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหา
น้อยสุด 10 อนั ดบั แรก คือ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) เต็ง (Shorea obtusa) ทองหลางป่า
(Erythrina subumbrans) รัง (Shorea siamensis) กาสามปีก (Vitex peduncularis) ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum
cochinchinense) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สาธร (Millettia leucantha) ข้ีอ้าย (Terminalia
triptera) แดง (Xylia xylocarpa) ตามลาํ ดบั ไมย้ ืนต้นพบมากสดุ ในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ เต็งรงั
กล้าไม้ (Seedling) ที่พบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 40 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 346,392,749 ต้น
ซงึ่ เม่อื เรียงลาํ ดบั จากจํานวนต้นทพ่ี บมากสดุ ไปหาน้อยสดุ 10 อนั ดับแรก ได้แก่ พลับพลา (Microcos tomentosa)
เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) เต็ง (Shorea obtusa) หงอนไก่ป่า
(Heritiera parvifolia) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) รัง (Shorea siamensis) ปอขาว (Sterculia
pexa) ข่อย (Streblus asper) และแคทราย (Stereospermum neuranthum) ตามลําดับ ป่าที่สํารวจพบ
จาํ นวนกลา้ ไม้มากทสี่ ุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าเตง็ รัง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหล็ก
ลกู ไม้ (Sapling) ทีพ่ บในแปลงสาํ รวจ มีมากกว่า 70 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 21,058,238 ต้น
ซ่งึ เม่ือเรียงลําดับจากจํานวนต้นทพี่ บมากสดุ ไปหานอ้ ยสดุ 10 อันดับแรก ได้แก่ พลับพลา (Microcos tomentosa)
สาธร (Millettia leucantha) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ต้วิ เกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense)
เหมือดคนตวั ผู้ (Helicia nilagirica) แดง (Xylia xylocarpa) งิ้วป่า (Bombax anceps) มะเด่ือปล้อง (Ficus
hispida) เต็ง (Shorea obtuse) และรัง (Shorea siamensis) ตามลําดับ ป่าท่ีสํารวจพบจํานวนลูกไม้มากที่สุด
คือ ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ เต็งรงั
ไผ่ (Bamboo) ที่พบในแปลงสํารวจ มีจํานวน 4 ชนิด มีจํานวน 3,082,438 กอ รวมท้ังส้ิน จํานวน
35,081,803 ลํา ได้แก่ ไผ่บง (Bambusa nutans) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ไร่ (Gigantochloa
albociliata) และเป๊าะ (Dendrocalamus giganteus) ซึง่ พบได้ในป่าเบญจพรรณและปา่ เตง็ รงั
ตอไม้ (Stump) ที่สํารวจพบในแปลงสํารวจ มีมากกว่า 16 ชนิด รวมจํานวนทั้งส้ิน 1,052,912 ตอ
มีค่าความหนาแน่นของตอไม้เฉลี่ย 4.17 ตอต่อไร่ โดยพบจํานวนตอมากที่สุดในป่าเบญจพรรณ มีจํานวน
762,980 ตอ รองลงมาพบในป่าเตง็ รัง มีจาํ นวน 259,413 ตอ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถ่ี (Frequency) มากที่สุด คือ ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากที่สุด คือ ติ้วเกล้ียง
(Cratoxylum cochinchinense) รองลงมา คอื ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ชนดิ ไม้ที่มีความเด่น
(Dominance) มากท่ีสุด คือ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) รองลงมา คือ เต็ง (Shorea obtuse)
ชนิดไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากที่สุด คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
รองลงมา คือ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia) และสาธร
(Millettia leucantha) ชนิดไมท้ ่ีมีความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density) มากที่สุด คือ ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum
cochinchinense) รองลงมา คือ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ชนิดไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์
(Relative Dominance) มากที่สุด คือ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) รองลงมา คือ เต็ง (Shorea
obtuse) ชนิดไม้ที่มีค่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากที่สุด คือ ตะแบกแดง
(Lagerstroemia calyculata) รองลงมา คอื ตว้ิ เกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) และข้อมูลเกี่ยวกับ
ความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความหลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้
(Species Diversity) มากที่สดุ คือ ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าเต็งรัง ซ่ึงชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์
ทีด่ นิ ทม่ี คี วามมากมายของชนดิ พนั ธไุ์ ม้ (Species Richness) มากทีส่ ดุ คือ ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ เตง็ รงั
และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Evenness) มากท่ีสุด
คือ ป่าดิบแลง้ รองลงมา คือ ไรร่ า้ ง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบว่ามีไม้
ยืนต้นขนาดเสน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 16,175,168 ตน้ คดิ เป็นร้อยละ 67.32
ของไมท้ ัง้ หมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน 6,622,663 ต้น
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก
คิดเปน็ ร้อยละ 27.56 ของไม้ทัง้ หมด และไม้ยนื ต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป
จํานวน 1,228,397 ต้น คิดเปน็ ร้อยละ 5.11 ของไมท้ ้งั หมด
จากผลการดําเนนิ งานดงั กลา่ ว ทําใหท้ ราบขอ้ มลู พื้นฐานเกี่ยวกบั ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลงั ผลิตและความหลากหลายของพันธ์พุ ืชในพื้นที่ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาตภิ ผู าเหล็ก อีกทั้งยังเป็นแนวทาง
ในการสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ เกยี่ วกบั รูปแบบ วธิ ีการสํารวจ และการวิเคราะหข์ อ้ มูลอยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน
เพือ่ เปน็ แนวทางในการติดตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้นื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็ ตอ่ ไป
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก
สารบญั i
สารบญั หน้า
สารบญั ตาราง i
สารบญั ภาพ iii
คํานาํ iv
วัตถุประสงค์ 1
เปา้ หมายการดําเนนิ การ 2
ขอ้ มูลท่ัวไปอทุ ยานแห่งชาติภูผาเหลก็ 2
3
ประวตั ิความเปน็ มา 3
ทตี่ ง้ั และอาณาเขต 4
การเดินทางและเส้นทางคมนาคม 4
ลกั ษณะภูมิประเทศ 5
ลกั ษณะภมู ิอากาศ 5
ลักษณะทางธรณวี ทิ ยา 5
จุดเดน่ ทีน่ ่าสนใจ 6
รปู แบบและวธิ กี ารสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ 9
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design) 9
รปู รา่ งและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design)
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มลู ทีท่ ําการสํารวจ 10
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ 10
1. การคาํ นวณเน้ือทปี่ ่าและปรมิ าณไม้ท้งั หมดของแต่ละพ้ืนทอี่ นุรักษ์ 11
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้ 11
3. ขอ้ มูลทัว่ ไป 11
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองคป์ ระกอบของหมู่ไม้ 12
5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling) 12
6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย 12
7. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลสังคมพืช 12
8. วิเคราะห์ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ 13
14
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหล็ก
สารบญั (ตอ่ ) ii
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้ หนา้
1. การวางแปลงตวั อย่าง 15
2. พ้ืนทป่ี ่าไม้ 15
3. ปรมิ าณไม้ 16
4. ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ 23
5. สงั คมพชื 28
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 38
43
สรุปผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 44
วิจารณผ์ ลการศกึ ษา 48
ปัญหาและอปุ สรรค 49
ขอ้ เสนอแนะ 49
เอกสารอา้ งอิง 50
ภาคผนวก 51
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก
iii
สารบญั ตาราง หนา้
10
ตารางท่ี 17
1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ทีท่ ําการสาํ รวจ
2 พ้นื ท่ีป่าไมจ้ ําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ินในอทุ ยานแห่งชาติภูผาเหล็ก 23
(Area by Landuse Type)
3 ปรมิ าณไมท้ ้งั หมดจําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ ินในอุทยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหลก็ 25
(Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแน่นและปรมิ าตรไม้ตอ่ หนว่ ยพืน้ ท่ีจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน 26
ในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็ (Density and Volume per Area by Landuse Type) 30
5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้งั หมดในอทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหล็ก 31
6 ปริมาณไมท้ ้งั หมดของอุทยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็ (30 ชนิดแรกที่มีปรมิ าตรไมส้ งู สุด) 32
7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดิบแลง้ ของอทุ ยานแห่งชาติภูผาเหลก็ (30 ชนิดแรกทีม่ ปี รมิ าตรไมส้ ูงสดุ ) 33
8 ปริมาณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอทุ ยานแห่งชาติภูผาเหล็ก (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ ูงสุด) 34
9 ปรมิ าณไม้ในปา่ เต็งรงั ของอทุ ยานแห่งชาติภูผาเหลก็ (30 ชนิดแรกท่มี ีปรมิ าตรไมส้ งู สุด) 34
10 ปริมาณไม้ในพนื้ ทไี่ รร่ า้ งของอุทยานแห่งชาติภผู าเหล็ก 35
11 ชนดิ และปรมิ าณไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ ท่พี บในอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก 36
12 ชนิดและปริมาณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทีพ่ บในอทุ ยานแห่งชาติภผู าเหลก็ 37
13 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในอุทยานแห่งชาติภผู าเหลก็ 39
14 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทีพ่ บในอทุ ยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
15 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ แลง้ 40
ในอุทยานแห่งชาติภผู าเหล็ก
16 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณ 41
ในอุทยานแห่งชาติภูผาเหลก็
17 ดชั นคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เต็งรงั 42
ในอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
18 ดชั นีความสําคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของไรร่ ้าง 43
ในอุทยานแห่งชาติภูผาเหลก็
19 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนดิ พนั ธุ์ไม้อทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหลก็
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูผาเหลก็
สารบญั ภาพ iv
ภาพท่ี หน้า
1 ผาดงก่อ 6
2 ท่งุ ดอกไมป้ า่ 6
3 ภาพเขยี นกอ่ นประวตั ิศาสตร์ผาผกั หวาน 7
4 วัดถาํ้ พวง 7
5 นาํ้ ตกเกา้ ชน้ั 8
6 ปา่ เปล่ียนสี 8
7 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 9
8 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมปิ ระเทศของอุทยานแหง่ ชาติภผู าเหล็ก 15
9 แปลงตัวอย่างทไ่ี ดด้ ําเนินการสํารวจภาคสนามในอทุ ยานแหง่ ชาติภูผาเหลก็ 16
10 พ้นื ที่ป่าไม้จาํ แนกตามชนิดป่าในพ้นื ท่อี ุทยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็ 17
11 ลักษณะทวั่ ไปของปา่ ดิบแล้งในพื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็ 18
12 ลักษณะทว่ั ไปของป่าเบญจพรรณพ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็ 19
13 ลักษณะทว่ั ไปของปา่ เต็งรังในพน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็ 20
14 ลกั ษณะทัว่ ไปของไรร่ า้ งในพื้นทอี่ ุทยานแห่งชาติภผู าเหล็ก 21
15 ลักษณะท่วั ไปของสวนยางพาราในพ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาติภูผาเหล็ก 22
16 ปรมิ าณไม้ท้ังหมดทพี่ บในพ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหล็ก 24
17 ปริมาตรไมท้ งั้ หมดทพี่ บในพน้ื ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภผู าเหล็ก 24
18 ความหนาแน่นของไมท้ ง้ั หมดในพื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูผาเหลก็ 25
19 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ของพนื้ ทแี่ ต่ละประเภทในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาติภูผาเหล็ก 26
20 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้งั หมดในพน้ื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็ 27
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็
1
คาํ นาํ
ปัจจุบนั ประเทศไทยมพี ้ืนท่ีป่าไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพื้นท่ีประเทศ (ที่มา:หนังสือ
ข้อมลู สถติ อิ ุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธ์พุ ืช, 2552) เพือ่ ใหก้ ารดําเนนิ งานของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธ์ุพืช ท่ีจะต้องดาํ เนินการอนุรักษ์ สงวน และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาการใช้
ทรพั ยากรป่าไม้อยา่ งยั่งยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากร
ปา่ ไม้ รวมท้งั ความหลากหลายทางชีวภาพทีม่ อี ยใู่ นพน้ื ท่ีป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อ
การบกุ รกุ ทําลายป่า เพ่อื นํามาใช้ในการดําเนินการตามภาระรับผดิ ชอบต่อไป สว่ นสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สาํ นักฟื้นฟแู ละพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ จึงได้ดําเนินการสํารวจพ้ืนท่ีป่าของจังหวัดต่างๆ ท่ัวประเทศ เพื่อรวบรวม
เปน็ ฐานข้อมลู ในการดาํ เนินงานในกิจกรรมที่มีความเก่ียวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งใช้ในการ
ประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือนําไปพัฒนาการอนุรักษ์
หรอื ใช้เป็นต้นแบบในการดําเนินการในพนื้ ท่ีอ่นื ๆ ต่อไป
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไมเ้ พ่ือประเมินสถานภาพและศกั ยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพื่อติดตั้ง
ระบบติดตามความเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังทรัพยากรอื่นท่ีเก่ียวข้อง ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ในการดาํ เนนิ งานและกาํ หนดจุดสํารวจเป้าหมายโดยส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและ
พัฒนาพน้ื ที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ซึ่งการดําเนินงานดังกล่าวสอดคล้องกับภารกิจ
ของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธพ์ุ ืช ท่จี ะตอ้ งดําเนนิ การอนุรกั ษ์ สงวน และฟื้นฟูความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ ให้มกี ารใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรป่าไม้อย่างย่ังยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทราบข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับ
ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิตและความหลากหลายของพืชพันธุ์ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย
สําหรบั รูปแบบและวธิ ีการสาํ รวจใชก้ ารสํารวจแบบกล่มุ แปลงตัวอย่าง (Cluster) และวิธสี ุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ
(Systematic Sampling) ในพื้นท่ภี าพถ่ายดาวเทียมทม่ี กี ารแปลสภาพว่าเป็นป่า โดยให้แตล่ ะกลุ่มแปลงตัวอย่างมี
ระยะหา่ งเท่าๆ กัน บนเส้นกรดิ แผนที่ (Grid) ไดแ้ ก่ 10x10 กโิ ลเมตร, 5x5 กิโลเมตร, 3x3 กโิ ลเมตร และ 2.5x2.5
กโิ ลเมตร แตกต่างกนั ไปตามปีงบประมาณและพ้ืนท่ที ่ีไดร้ ับการสุ่ม โดยระบบ Datum ของแผนที่สํารวจส่วนใหญ่
จะเป็น Indian Thailand 1975 ส่วนปีงบประมาณที่ใช้ระบบ Datum เป็น WGS 84 คือ ต้ังแต่ปีงบประมาณ
2555 เป็นต้นไป
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูผาเหล็ก
2
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้ทราบข้อมูลพนื้ ฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความหลากหลาย
ของพืชพันธ์ุในพ้นื ที่อนรุ กั ษ์ตา่ งๆ ของประเทศไทย
2. เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ เกยี่ วกบั รปู แบบ วิธกี ารสาํ รวจ และการวิเคราะห์
ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพือ่ เปน็ แนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปล่ียนแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ในพนื้ ท่ี
4. เพอ่ื ให้ไดข้ ้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกับพรรณไมเ้ ด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้เพื่อ
ปลกู เสริมปา่ ในแตล่ ะพ้นื ท่ี
เป้าหมายการดําเนนิ งาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนที่สํารวจ
เป้าหมายในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ซ่ึงมีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อําเภอส่องดาว อําเภอวาริชภูมิ อําเภอ
นิคมนํ้าอูน อําเภอกุดบาก อําเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร อําเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งอยู่ในความดูแล
รับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) จํานวน 40 แปลง และอําเภอคําม่วง อําเภอสมเด็จ
จังหวัดกาฬสินธ์ุ ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี 8 (ขอนแก่น) จํานวน 13 แปลง
รวมทัง้ ส้นิ จาํ นวน 53 แปลง
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหล็ก
3
ขอ้ มูลทัว่ ไปอทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหลก็
ประวตั ิความเปน็ มา
เมื่อปี พ.ศ. 2504 พระอาจารย์วัน อุตต.โม ได้เดินธุดงค์ผ่านมาทางภูผาเหล็ก ในท้องท่ีกิ่งอําเภอส่องดาว
และได้นําพระภิกษุสามเณรมาจําพรรษาที่เชิงเขาภูผาเหล็ก ชาวบ้านท้องถ่ินเรียกว่า ถ้ําพ่อคําภา ต่อมาได้พัฒนา
เป็นวดั ถ้ําอภยั ดํารงธรรม ปจั จุบนั อยู่ในทอ้ งทีบ่ า้ นท่าวดั หมู่ท่ี 1 ตาํ บลปทุมวาปี อาํ เภอสอ่ งดาว จังหวัดสกลนคร
พ.ศ. 2514 พระอาจารย์วนั ไดน้ าํ ประชาชนทีม่ ีความเล่ือมใสศรัทธา พัฒนาถนนขึ้นไปยังบริเวณวัด
ถ้าํ พวงจนสาํ เรจ็ สถานทแี่ ห่งน้ีมีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์พืช และสัตว์ป่านานาชนิด มีผานํ้าโจ๊ก ถํ้าป่อง ที่
เป็นแหล่งน้ําซับ ต่อมาราษฎรในท้องท่ีได้พัฒนาเป็นระบบประปาภูเขาไปใช้ในบ้านถํ้าติ้ว บ้านท่าวัด บ้านทรายทอง
และบ้านปทุมวาปี ในช่วงท่ีพระอาจารย์วัน นําประชาชนพัฒนาถนนขึ้นไปยังวัดถ้ําพวงนั้น บริเวณนี้ถือได้ว่า
เป็นพื้นทส่ี ีชมพูท่ีมคี วามเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ท่ีขัดแย้งกับทางรัฐ ทําให้ท้ัง 2 ฝ่าย
เข้าใจผิดว่าพระอาจารยว์ นั สนับสนนุ ฝา่ ยตรงกันข้าม แต่ด้วยความมุ่งม่ันของพระอาจารย์วัน ที่จะพัฒนาถํ้าพวง
ใหเ้ ป็นศูนย์รวมจติ ใจในดา้ นการเผยแพร่ธรรมะ ทําใหเ้ หตุการณต์ ่างๆ สงบและยุติลงได้
พ.ศ. 2518 (13 ตุลาคม) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์
ได้เสดจ็ พระราชดําเนนิ เปน็ การสว่ นพระองค์ เพอื่ ทรงเย่ียมและนมสั การพระอาจารย์วัน อุตต.โม ณ วัดถ้ําพวง
และทรงพระราชทานพระราชทรัพยส์ ว่ นพระองค์สร้างศาลาพระราชทานและกฏุ บิ นถ้าํ พวง
พ.ศ. 2523 พระอาจารย์วัน อุตต.โม ได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอุบัติเหตุเครื่องบินตก ที่ตําบลคลองหลวง
อําเภอธญั บรุ ี จงั หวัดปทุมธานี
พ.ศ. 2525 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถ ทรงเสดจ็ พระราชดําเนิน
มาพระราชทานเพลงิ ศพพระอาจารยว์ นั อุตต.โม ณ วดั ถา้ํ อภัยดาํ รงธรรม
พ.ศ. 2533 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว สมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงเสด็จพระราชดําเนิน
มาทรงเปดิ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ระอดุ มสงั วรวสิ ุทธเิ ถระ (พระอาจารยว์ ัน อตุ ต.โม)
พระอุดมสังวรวสิ ุทธิเถระ (พระอาจารยว์ ัน อตุ ต.โม) ถือได้ว่าเป็นปูชนียบุคคลที่ทําให้ผืนป่า “ภูผาเหล็ก”
ยังคงสภาพอุดมสมบูรณแ์ ละได้ปลูกจติ สํานึกใหก้ บั ราษฎรรอบแนวเขตเกดิ การหวงแหนในการดูแลรกั ษาทรพั ยากร
ท่ีมคี ุณคา่ จนตกทอดมาถงึ ลกู หลานได้ใช้ประโยชน์ จากอดีตมาจนถงึ ปจั จบุ ันน้ี
เมอ่ื ปี พ.ศ. 2536 อธบิ ดกี รมป่าไม้ (นายผอ่ ง เล่งอ้)ี ได้มาตรวจราชการ ณ จังหวัดสกลนคร และ
ไดเ้ ดนิ ทางมานมัสการรปู เหมือน พระอาจารยว์ นั อตุ ตโม ณ อาํ เภอสอ่ งดาว โดยมเี จ้าหนา้ ทป่ี ่าไม้ รวมทั้งท่าน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (นายสีห์พนม วิชิตวรสาร) ให้การต้อนรับขณะมาตรวจราชการ พบว่าพ้ืนท่ีป่าไม้
โดยความดูแลของหน่วยป้องกันรักษาป่าที่ สน. 8 (สกลนคร) และพื้นท่ีป่าข้างเคียงมีความอุดมสมบูรณ์ จึงได้
มีบัญชาให้สํารวจเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยอยู่ในความดูแลของหน่วยป้องกันรักษาป่าที่ สน. 8 โดยใช้ช่ือว่า
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภผู าเหล็ก
4
อุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหล็ก-ภผู าหัก ตอ่ มาได้มกี ารอนมุ ัติให้ตัดคําว่าภูผาหักออก และให้ใช้ชื่อว่าอุทยานแห่งชาติ
ภูผาเหล็ก ในปี พ.ศ. 2539 และได้มีการสํารวจขอบเขตป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ผนวกเพิ่มเติม คือ ป่าสงวน
แหง่ ชาตปิ ่าดงพระเจ้า ปา่ ดงพันนาปา่ แก่งแคน ป่าภูวง ป่ากุดไหนาใน ท่ียังมีความอุดมสมบูรณ์ ธรรมชาติป่าไม้
และสัตว์ป่า ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ เพ่ือรักษาแหล่งต้นนํ้าลําธารที่เกิดจากเทือกเขาภูพาน ที่สําคัญ ได้แก่
แม่น้ําสงคราม ลาํ นา้ํ ยาม ลาํ น้ําอูน (เขื่อนน้าํ อนู ) ห้วยลําพนั ชาด และอา่ งเก็บน้ําทอ่ี ยู่ในบริเวณป่าต้นนํ้าลําธาร
อีก 12 แหง่ รวมทง้ั เพื่อเปน็ การรกั ษาความหลากหลายทางชีวภาพทมี่ คี ุณคา่ ควรแกก่ ารสงวนไว้ เพ่ือการศึกษา
ค้นควา้ วจิ ัย พกั ผอ่ นหย่อนใจ และประโยชน์ด้านอื่นๆ
ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกา กําหนดบริเวณท่ีดินป่าดงพันนาและป่าดงพระเจ้า ป่าภูวง ป่ากุดไห
ป่านาใน ป่าโนนอุดม และป่าแก่งแคน ในท้องท่ีตําบลส่องดาว ตําบลท่าศิลา ตําบลปทุมวาปี อําเภอส่องดาว
ตําบลค้อเขียว ตําบลคําบ่อ ตําบลวาริชภูมิ อําเภอวาริชภูมิ ตําบลนิคมน้ําอูน อําเภอนิคมนํ้าอูน ตําบลกุดไห
ตําบลกุดบาก อําเภอกุดบาก และตําบลโคกภู อําเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร ป่าบะยาว ป่าหัวนาคํา ป่านายูง
ป่าหนองกุงทับม้า และป่าหนองหญ้าไชย ในท้องที่ตําบลผาสุก อําเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี และป่าภูพาน
ป่าแก้งกะอาม ในท้องท่ีตําบลนาทนั ตาํ บลดนิ จี่ ตําบลนาบอน อาํ เภอคาํ ม่วง และตาํ บลแซงบาดาล ตําบลมหาไชย
อําเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธ์ุ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2552 มีพื้นที่ประมาณ 404.38 ตารางกิโลเมตร
หรือประมาณ 252,737 ไร่ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา หน้า 16 เล่ม 126 ตอนที่ 96 ก เม่ือวันที่ 23
ธันวาคม 2552
ท่ีตง้ั และอาณาเขต
อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ตั้งอยู่บริเวณเส้นรุ้ง 17 องศา 15 ลิปดา – 16 องศา 49 ลิปดาเหนือ
และเส้นแวง 103 องศา 15 ลิปดา – 103 องศาส 50 ลิปดาตะวันออก เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาภูพานที่ทอดยาว
ในแนวทิศตะวนั ออก-ตะวันตก มีความยาวประมาณ 54 กิโลเมตร ครอบคลุมป่าดงพันนาและป่าดงพระเจ้า ป่าภูวง
ปา่ กุดไห ป่านาใน ปา่ โนนอุดม และป่าแก่งแคน ในทอ้ งที่ตาํ บลส่องดาว ตําบลท่าศิลา ตําบลปทุมวาปี อําเภอ
ส่องดาว ตําบลค้อเขยี ว ตาํ บลคําบ่อ ตาํ บลวารชิ ภมู ิ อําเภอวาริชภูมิ ตําบลนคิ มนาํ้ อูน อาํ เภอนิคมนํ้าอูน ตําบล
กดุ ไห ตาํ บลกดุ บาก อําเภอกดุ บาก และตําบลโคกภู อําเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร ป่าบะยาว ป่าหัวนาคํา ป่านายูง
ป่าหนองกุงทับม้า และป่าหนองหญ้าไชย ในท้องที่ตําบลผาสุก อําเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี และป่าภูพาน
ป่าแก้งกะอาม ในท้องท่ีตําบลนาทัน ตําบลดินจี่ ตําบลนาบอน อําเภอคําม่วง และตําบลแซงบาดาล ตําบลมหาไชย
อาํ เภอสมเด็จ จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ มีพื้นทปี่ ระมาณ 404.38 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 252,737 ไร่
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม
ใชท้ างหลวงสายสกลนคร - อุดรธานี เมอ่ื ถึงอาํ เภอสว่างแดนดินแยกไปอําเภอส่องดาว ถึงอําเภอ
สอ่ งดาว แลว้ ไปทางอําเภอวารชิ ภูมอิ กี ประมาณ 2 กิโลเมตร ถึงบ้านโพนสว่าง เล้ียวขวาอีก 8 กิโลเมตร ถึงที่
ทาํ การอทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็ รวมระยะทางจากจงั หวัดสกลนคร ประมาณ 120 กิโลเมตร หรือห่างจาก
จังหวดั อดุ รธานีประมาณ 100 กโิ ลเมตร
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหลก็
5
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ
พ้ืนที่ส่วนใหญ่มีระดับความสูงจากนํ้าทะเล 200-600 เมตร ภูเขาที่สูงที่สุดในพ้ืนที่ คือ ภูอ่างสอ
ที่ระดบั ความสูง 695 เมตร พื้นท่ีป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กเป็นแหล่งกําเนิดลําห้วยน้อยใหญ่ท่ีสําคัญ
ได้แก่ แมน่ ้าํ สงคราม ลําน้ํายาม ลํานํ้าอูนและลําห้วยพันชาด ลักษณะดินโดยท่ัวไปเป็นดินร่วนปนทรายตาม
ป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ และดนิ ลกู รงั ตามป่าเต็งรัง หินทพ่ี บในพ้นื ท่ีสว่ นใหญเ่ ปน็ หนิ ทราย
ลักษณะภูมิอากาศ
บรเิ วณอุทยานแห่งชาตภิ ูผาเหล็ก มีภูมิอากาศแบบมรสุม โดยฤดูร้อนระหว่างอยู่เดือนมีนาคมถึง
เดอื นพฤษภาคม อากาศร้อนมาก อุณหภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียส มักมีไฟป่าเกิดขึ้นทั่วพ้ืนที่ ส่วนฤดูฝน
ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม และฤดูหนาวระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ มีอากาศท่ี
หนาวเย็น อุณหภูมปิ ระมาณ 12-20 องศาเซลเซยี ส มปี รมิ าณนา้ํ ฝนตลอดปปี ระมาณ 1,000-1,300 มิลลเิ มตร
ลกั ษณะทางธรณวี ทิ ยา
ลกั ษณะพื้นทีข่ องอุทยานแห่งชาตภิ ูผาเหล็ก จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมของศูนย์คอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ เรื่องการศกึ ษาและจดั ทําข้อมลู สารสนเทศภูมศิ าสตร์ จงั หวัดสกลนคร เมื่อวนั ท่ี 26 มิถนุ ายน
2549 พบว่า ในบริเวณพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กสามารถแยกลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของภูผาเหล็ก
ประกอบดว้ ยชนั้ หนิ ท่สี าํ คญั 4 หมวด (Formation) ดังน้ี
1. หมวดหนิ ภพู าน (Phu Phan Formation) เป็นชน้ั หินท่มี ีอายนุ ้อยท่ีสุด พบในระดับความสูงต้ังแต่
350 เมตรจากระดบั น้ําทะเลปานกลาง
2. หมวดหินเสาขัว (Sao Khua Formation) เป็นชั้นหินทม่ี ีอายเุ ก่าแก่กว่าช้ันหินในหมวดหินภูพาน
ลักษณะเด่นของช้ันหินหมวดนี้ คือ เป็นช้ันหินทราย (Sand Stone) จัดเป็นหมวดหินที่มีช้ันหินหนาที่สุด แต่มี
ความแขง็ แกรง่ เปน็ รองลงมาของภผู าเหล็ก
3. หมวดหินพระวิหาร (Phra Wihan Formation) เรียงตัวถัดจากชั้นหินในหมวดหินเสาขัวลงมา
เป็นช้ันหินที่บางท่ีสุดในช้ันหินท้ัง 4 หมวด ของภูผาเหล็ก มีกรวดปนอยู่ตอนบนและมีช้ันหินดินดานสีเทาหรือ
สีนาํ้ ตาลแกมแดงแทรกสลบั นบั เป็นโครงสร้างสว่ นใหญข่ องชัน้ หินในพื้นท่อี ุทยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็
4. หมวดหินภูกระดึง (Phu Kradung Formation) เป็นหินชั้นฐาน นับว่าเป็นชั้นหินเก่าแก่ มีอายุ
มากกวา่ ช้ันหนิ ทั้ง 3 หมวดข้างต้น และนบั เป็นโครงสรา้ งทน่ี ้อยทีส่ ดุ ของช้ันหนิ ในพ้นื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติภผู าเหล็ก
6
จดุ เด่นทน่ี า่ สนใจ
1. ผาดงก่อ เป็นจุดชุมพระอาทิตย์ยามเช้าที่สวยงามมาก มองเห็นสภาพป่าทึบและเทือกเขา
สลบั ซับซ้อน หนา้ ผาสงู ชนั บนยอดสูงสุดของภูผาเหล็กที่สูง 622 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง เป็นจุดชม
พระอาทติ ย์ข้ึนในเวลาเช้าได้สวยงาม
ภาพท่ี 1 ผาดงก่อ
2. ทุ่งดอกไม้ป่า เป็นท่ีราบกว้างบนยอดเขาภูเหล็ก ภูดินด่าง ภูสันตาแดง มีดอกไม้ป่านานาชนิด
ขึ้นเป็นผนื ใหญ่ในฤดหู นาว
ภาพท่ี 2 ทงุ่ ดอกไมป้ า่
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหล็ก
7
3. ภาพเขียนกอ่ นประวตั ศิ าสตรผ์ าผกั หวาน เปน็ ภาพเขยี นโบราณอายุราว 3,000 ปี ระบายด้วย
สีแดงทึบบนก้อนหินใหญ่ ลักษณะคล้ายผู้หญิงเรียงแถวเอามือเกาะไหล่กัน อยู่ท่ีผาผักหวาน ท้องที่บ้านภูตะคาม
ตาํ บลท่าศลิ า อําเภอสอ่ งดาว ห่างจากท่ที าํ การอุทยานฯประมาณ 15 กโิ ลเมตร
ภาพที่ 3 ภาพเขียนกอ่ นประวตั ศิ าสตรผ์ าผักหวาน
4. วัดถ้าํ พวง มีสถานที่ท่องเที่ยว ได้แก่ พิพิธภัณฑ์พระอาจารย์วัน อุตตโม สังเวชนียสถาน 4 ตําบล
ทจ่ี ําลองแบบมาจากประเทศอินเดีย ห่างจากที่ทําการอุทยานฯ ประมาณ 2 กิโลเมตร
ภาพที่ 4 วัดถ้ําพวง
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็
8
5. นา้ํ ตกเก้าชน้ั เป็นสถานท่ีท่องเท่ียวตามฤดกู าล ที่มชี ่ือเสียงแหง่ หน่ึงในเขตอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
ห่างจากทีท่ ําการอทุ ยานฯ ประมาณ 2 กโิ ลเมตร
ภาพที่ 5 น้าํ ตกเกา้ ชนั้
6. ป่าเปล่ยี นสี ท่ีอ่างเก็บน้ําห้วยหาด ระหว่างเดอื นมกราคมถึงเดอื นกุมภาพันธ์
ภาพที่ 6 ปา่ เปล่ียนสี
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติภูผาเหลก็
9
รูปแบบและวิธกี ารสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไมใ้ นแต่ละจังหวัดทั่วประเทศไทย ดาํ เนนิ การโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรปา่ ไม้ สาํ นกั ฟ้ืนฟแู ละพัฒนาพ้ืนทีอ่ นุรักษ์ และสํานักบริหารพ้นื ที่อนรุ กั ษต์ า่ งๆ
ในสงั กัดกรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพันธ์ุพืช
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนที่
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวต้ังและ
แนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้ังสองแนว
ก็จะเป็นตําแหน่งท่ีตั้งของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เมื่อดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง
และตาํ แหน่งที่ต้งั ของหนว่ ยตัวอยา่ ง โดยลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง ดังภาพที่ 7
ภาพที่ 7 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหล็ก
10
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)
แปลงตวั อย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสํารวจ มที ง้ั แปลงตัวอยา่ งถาวรและแปลงตัวอย่างช่ัวคราว
เปน็ แปลงท่ีมขี นาดคงที่ (Fixed–Area Plot) และมรี ูปร่าง 2 ลักษณะดว้ ยกนั คอื
1. ลกั ษณะรูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั
1.2 รูปวงกลมท่ีมรี ศั มีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดย
จดุ ศูนยก์ ลางของวงกลมอยบู่ นเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทง้ั 4 ทิศ
2. ลกั ษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จาํ นวน 2 เส้น ความยาวเสน้ ละ 17.84 เมตร โดย
มีจุดเริม่ ต้นรว่ มกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซ่ึงกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1 ได้
จากการส่มุ ตวั อยา่ ง
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มลู ท่ีทาํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตวั อยา่ ง และข้อมลู ท่ที ําการสาํ รวจแสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ทีท่ าํ การสํารวจ
รศั มีของวงกลม หรือ จาํ นวน พน้ื ท่ีหรือความยาว ข้อมลู ท่ีสํารวจ
ความยาว (เมตร)
กล้าไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไมแ้ ละการปกคลมุ พน้ื ที่ของกล้าไม้ และ
ลูกไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายท่ียังไม่เลื้อย และตอไม้
ตน้ ไม้ และตรวจสอบปจั จยั ท่ีรบกวน พน้ื ทีป่ า่
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ Coarse Woody Debris (CWD)
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ หวายเลอื้ ย และไม้เถา ทพี่ าดผา่ น
17.84 (เส้นตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
11
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
1. การคาํ นวณเนอื้ ท่ปี ่าและปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดของแต่ละพนื้ ทอ่ี นุรกั ษ์
1.1 ใช้ข้อมูลพนื้ ทีอ่ นรุ ักษจ์ ากแผนทแี่ นบทา้ ยกฤษฎีกาของแต่ละพ้นื ท่อี นรุ กั ษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างท่ี
วางแปลงทงั้ หมดในแตล่ ะพ้นื ท่ีอนรุ กั ษ์ ทอ่ี าจจะได้ข้อมลู จากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคํานวณเป็นเนอ้ื ทป่ี า่ แตล่ ะชนิดโดยนาํ แปลงตัวอย่างที่วางแผนไว้มาคํานวณทุกแปลง
1.3 แปลงตวั อยา่ งท่ีไมส่ ามารถดาํ เนินการได้ กต็ ้องนาํ มาคํานวณดว้ ย โดยทาํ การประเมินลักษณะ
พ้นื ท่วี ่าเปน็ หนา้ ผา น้าํ ตก หรอื พนื้ ที่อื่นๆ เพื่อประกอบลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดิน
1.4 ปรมิ าณไม้ทั้งหมดของพ้นื ที่อนรุ กั ษ์ เปน็ การคํานวณโดยใชข้ อ้ มลู เนื้ทอ่ี นุรกั ษ์จากแผนที่แนบท้าย
กฤษฎีกาของแต่ละพื้นที่อนุรักษ์ ซึ่งบางพ้ืนท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลเนื้อท่ีคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริง และส่งผลต่อ
การคํานวณปรมิ าณไม้ทั้งหมด ทําให้การคํานวณปริมาณไม้เปน็ การประมาณเบ้อื งตน้
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้
สมการปรมิ าตรไมท้ ใ่ี ชใ้ นการประเมนิ การกกั เก็บธาตุคารบ์ อนในพ้ืนทปี่ า่ ไม้ แบบวธิ ี Volume based
approach โดยแบ่งกลุ่มของชนิดไม้เปน็ จาํ นวน 7 กลมุ่ ดงั น้ี
2.1 กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทนก์ ะพ้อ สนสองใบ
สมการทไี่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลมุ่ ท่ี 2 ไดแ้ ก่ กระพจ้ี ั่น กระพ้เี ขาควาย เกด็ ดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวลั ย์เปรียง พะยูง
ชงิ ชัน กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ
สมการท่ีได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลมุ่ ท่ี 3 ไดแ้ ก่ รกฟ้า สมอพเิ ภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขีอ้ ้าย กระบก ตะคร้ํา
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลยี่ น มะฮอกกานี ขีอ้ ้าย ตะบนู ตะบนั รัก ตว้ิ
สะแกแสง ปเู่ จา้ และไมส้ กลุ สา้ น เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการท่ีได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาติภผู าเหลก็
12
2.4 กล่มุ ท่ี 4 ไดแ้ ก่ กางข้ีมอด คนู พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถินพมิ าน มะขามปา่ หลุมพอ
และสกลุ ขี้เหลก็
สมการที่ได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กล่มุ ที่ 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เตมิ
สมการท่ีได้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กล่มุ ท่ี 6 ไดแ้ ก่ สัก ตีนนก ผ่าเสีย้ น หมากเลก็ หมากน้อย ไขเ่ นา่ กระจับเขา กาสามปกี สวอง
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ที่ 7 ไดแ้ ก่ ไมช้ นดิ อนื่ ๆ เช่น กุก๊ ขว้าว งวิ้ ป่า ทองหลางป่า มะม่วงปา่ ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เปน็ ต้น
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คือ ปรมิ าตรสว่ นลําตน้ เมือ่ ตัดโค่นท่ีความสูงเหนอื ดิน (โคน) 10 เซนติเมตร
ถงึ กงิ่ แรกทีท่ าํ เป็นสนิ คา้ ได้ มหี น่วยเปน็ ลกู บาศกเ์ มตร
DBH มีหน่วยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ข้อมูลท่วั ไป
ข้อมูลทั่วไปท่ีนําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีต้ัง ตําแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ท่ีทําการเก็บ
ข้อมูล ความสูงจากระดับน้ําทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ีจะใช้ประกอบ
ในการวิเคราะห์ประเมินผลร่วมกับข้อมูลด้านอ่ืนๆ เพ่ือติดตามความเปลี่ยนแปลงของพ้ืนที่ในการสํารวจ
ทรัพยากรปา่ ไม้ครงั้ ต่อไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปรมิ าตร
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling)
6. การวิเคราะห์ข้อมูลชนดิ และปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย
6.1 ความหนาแนน่ ของไมไ้ ผ่ (จํานวนกอ และ จาํ นวนลาํ )
6.2 ความหนาแน่นของหวายเสน้ ตัง้ (จาํ นวนตน้ )
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ท่ีอทุ ยานแห่งชาติภผู าเหล็ก
13
7. การวิเคราะห์ขอ้ มูลสงั คมพืช
โดยมรี ายละเอยี ดการวิเคราะหข์ ้อมูลดังนี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธุ์ท่ีศึกษาที่
ปรากฏในแปลงตัวอยา่ งต่อหนว่ ยพื้นทท่ี ท่ี ําการสํารวจ
D= จาํ นวนตน้ ของไมช้ นิดนั้นทงั้ หมด
.
พ้นื ท่แี ปลงตัวอยา่ งท้ังหมดทีท่ ําการสาํ รวจ
7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีปรากฏพันธุ์ไม้ชนิดนั้น
ต่อจํานวนแปลงทีท่ ําการสํารวจ
F = จํานวนแปลงตัวอยา่ งทพี่ บไม้ชนิดทก่ี ําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อย่างทัง้ หมดท่ที ําการสาํ รวจ
7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พื้นท่ีหนา้ ตดั ของลําตน้ ของต้นไม้ทว่ี ดั ระดบั อก (1.30 เมตร) ตอ่ พื้นทที่ ท่ี ําการสาํ รวจ
Do = พืน้ ท่ีหนา้ ตัดท้งั หมดของไม้ชนดิ ทีก่ าํ หนด X 100
พ้นื ทแี่ ปลงตวั อยา่ งทท่ี ําการสาํ รวจ
7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่น
ของไม้ท่ตี อ้ งการตอ่ คา่ ความหนาแน่นของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตวั อย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ
RD = ความหนาแนน่ ของไมช้ นดิ น้ัน X 100
ความหนาแน่นรวมของไม้ทกุ ชนิด
7.5 คา่ ความถสี่ ัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คอื คา่ ความสัมพทั ธข์ องความถ่ขี องชนิดไม้ที่
ต้องการตอ่ คา่ ความถีท่ ้ังหมดของไมท้ ุกชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ
RF = ความถ่ขี องไม้ชนิดนนั้ X 100
ความถ่รี วมของไมท้ ุกชนิด
7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่น
ในรูปพน้ื ท่ีหนา้ ตัดของไมช้ นดิ ที่กาํ หนดต่อความเดน่ รวมของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ
RDo = ความเด่นของไมช้ นิดนัน้ X 100
ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่อุทยานแห่งชาติภผู าเหลก็
14
7.7 ค่าดัชนคี วามสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของคา่ ความ
สัมพทั ธ์ต่างๆ ของชนดิ ไมใ้ นสงั คม ได้แก่ คา่ ความสัมพัทธด์ ้านความหนาแน่น ค่าความสมั พัทธด์ ้านความถ่ี และ
คา่ ความสมั พทั ธด์ า้ นความเด่น
IVI = RD + RF + RDo
8. วเิ คราะห์ขอ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยทําการวิเคราะห์ค่าตา่ งๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธ์ุที่ปรากฏในสังคม
และจาํ นวนต้นท่ีมใี นแต่ละชนิดพนั ธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity
ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซ่งึ มสี ตู รการคาํ นวณดังต่อไปน้ี
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คือ ค่าดัชนคี วามหลากชนิดของชนดิ พนั ธุไ์ ม้
pi คือ สดั สว่ นระหวา่ งจํานวนตน้ ไม้ชนดิ ที่ i ต่อจาํ นวนตน้ ไม้ท้งั หมด
S คอื จํานวนชนดิ พันธไุ์ มท้ งั้ หมด
8.2 ความรา่ํ รวยของชนดิ พนั ธ์ุ (Richness Indices) อาศัยค่าความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดที่ทําการสํารวจ ซ่ึงจะเพ่ิมข้ึนเม่ือเพ่ิมพื้นท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ที่นิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดังนี้
1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
เมื่อ S คอื จาํ นวนชนิดทั้งหมดในสงั คม
n คอื จาํ นวนตน้ ทง้ั หมดที่สาํ รวจพบ
8.3 ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสม่ําเสมอจะมีค่ามากทีส่ ุดเมอื่ ทุกชนดิ ในสงั คมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นักนิเวศวทิ ยา คอื วิธขี อง Pielou (1975) ซึ่งมีสตู รการคํานวณดังนี้
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอื่ H คอื คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จาํ นวนชนดิ ท้ังหมด (N0)
N1 คือ eH
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหล็ก
15
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรัพยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง
จากผลการดาํ เนินการวางแปลงสํารวจเพอื่ ประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรพั ยากรปา่ ไม้ใน
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาติภผู าเหล็ก โดยแบง่ พนื้ ท่ีดําเนินการวางแปลงสํารวจตามพื้นท่ีรับผิดชอบของสํานักบริหาร
พน้ื ท่ีอนรุ กั ษ์ กล่าวคอื สํานกั บรหิ ารพืน้ ท่อี นุรักษ์ท่ี 10 (อุดรธานี) รบั ผดิ ชอบดําเนินการสํารวจพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ
ภผู าเหล็ก ในสว่ นของอาํ เภอส่องดาว อําเภอวาริชภูมิ อําเภอนคิ มนา้ํ อูน อาํ เภอกุดบาก อําเภอภูพาน จังหวัด
สกลนคร อําเภอวังสามหมอ จังหวดั อดุ รธานี จํานวน 40 แปลง และสํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี 8 (ขอนแก่น)
รับผิดชอบดําเนินการสํารวจพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ในส่วนของอําเภอคําม่วง อําเภอสมเด็จ จังหวัด
กาฬสนิ ธ์ุ จาํ นวน 13 แปลง รวมทัง้ ส้นิ จาํ นวน 53 แปลง ดงั ภาพท่ี 8 - 9
ภาพท่ี 8 แผนท่แี สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของอทุ ยานแห่งชาติภผู าเหล็ก
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ุทยานแห่งชาติภผู าเหล็ก
16
ภาพที่ 9 แปลงตวั อย่างที่ไดด้ าํ เนนิ การสาํ รวจภาคสนามในอุทยานแห่งชาตภิ ผู าเหลก็
2. พืน้ ทป่ี า่ ไม้
จากการสาํ รวจ พบวา่ มีพ้นื ท่ีป่าไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินได้ 5 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบแลง้ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ เต็งรัง ไร่รา้ ง และสวนยางพารา โดยป่าเบญจพรรณพบมากสุด มีพ้ืนท่ี 289.93
ตารางกิโลเมตร (181,207.66 ไร่) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 71.70 ของพื้นทที่ ั้งหมด รองลงมา คือ ป่าเต็งรัง มีพื้นที่ 76.30
ตารางกโิ ลเมตร (46,686.23 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 18.87 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด ไร่ร้างและสวนยางพารา มีพ้ืนท่ีเท่ากัน
คือ 15.26 ตารางกิโลเมตร (9,537.25 ไร)่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.77 ของพน้ื ท่ีทัง้ หมด และป่าดบิ แลง้ มีพ้ืนที่ 7.63
ตารางกิโลเมตร (4,768.62 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 1.89 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด รายละเอียดดังตารางท่ี 2 และภาพท่ี
10-15
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหล็ก
17
ตารางที่ 2 พ้นื ท่ีป่าไมจ้ าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็
(Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน พ้นื ที่ รอ้ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ของพื้นท่ที ัง้ หมด
ป่าดิบแลง้ 7.63 4,768.62 762.98 1.89
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 289.93 181,207.66 28,993.23 71.70
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเต็งรงั 76.30 47,686.23 7,629.80 18.87
(Dry Dipterocarp Forest)
ไร่รา้ ง 15.26 9,537.25 1,525.96 3.77
(Old clearing)
สวนยางพารา 15.26 9,537.25 1,525.96 3.77
(Rubber)
รวม 404.38 252,737.00 40,437.92 100.00
หมายเหตุ - การคาํ นวณพนื้ ทป่ี ่าไมข้ องชนิดป่าแตล่ ะชนดิ ใชส้ ัดส่วนของขอ้ มูลท่พี บจากการสํารวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพื้นทส่ี าํ รวจคํานวณจากขอ้ มูลแปลงทีส่ าํ รวจพบ ซง่ึ มพี น้ื ทด่ี ังตารางที่ 1
- ร้อยละของพื้นท่ีทัง้ หมดคาํ นวณจากพื้นทีแ่ นบท้ายกฤษฎกี าของอุทยานแห่งชาติภผู าเหล็กซึ่งมีพนื้ ท่ี
เท่ากับ 404.38 ตารางกิโลเมตร หรือ 252,737 ไร่
ภาพท่ี 10 พ้นื ทปี่ า่ ไมจ้ ําแนกตามชนดิ ปา่ ในพน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
18
ภาพที่ 11 ลกั ษณะทัว่ ไปของป่าดิบแล้งในพื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหล็ก
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อุทยานแหง่ ชาติภูผาเหลก็
19
ภาพท่ี 12 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าเบญจพรรณพนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหลก็
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหลก็
20
ภาพที่ 13 ลกั ษณะทั่วไปของป่าเตง็ รังในพื้นทอี่ ุทยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติภูผาเหลก็
21
ภาพที่ 14 ลกั ษณะทวั่ ไปของไรร่ ้างในพน้ื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติภผู าเหลก็
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
22
ภาพที่ 15 ลกั ษณะทว่ั ไปของสวนยางพาราในพ้ืนที่อทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติภูผาเหลก็
23
3. ปริมาณไม้
จากการวเิ คราะหเ์ กย่ี วกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นแปลงตัวอย่างถาวร ในพืน้ ท่ีอุทยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็ จํานวนทง้ั สิ้น 53 แปลง พบว่า
ชนิดป่าหรอื ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ ินทส่ี ํารวจพบทง้ั 5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเตง็ รงั
ไร่ร้าง และสวนยางพารา พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
หรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป มีมากกว่า 150 ชนิด รวมทั้งหมด 24,026,228 ต้น ปริมาตรไม้รวมทั้งหมด
3,675,220.78 ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรไม้เฉลี่ย 14.54 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย
95.06 ต้นต่อไร่ พบปรมิ าณไมม้ ากสดุ ในป่าเบญจพรรณ จํานวน 17,846,093 ต้น รองลงมาในป่าเต็งรัง พบจํานวน
5,333,228 ตน้ สาํ หรบั ปริมาตรไม้พบมากสดุ ในปา่ เบญจพรรณ จํานวน 2,886,561.30 ลกู บาศกเ์ มตร รองลงมา
คอื ปา่ เตง็ รงั จํานวน 657,220.39 ลกู บาศก์เมตร รายละเอียดดงั ตารางที่ 3-5 และภาพท่ี 16-20 ตามลําดบั
ตารางท่ี 3 ปรมิ าณไม้ทง้ั หมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในอุทยานแห่งชาติภูผาเหลก็
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ปรมิ าณไม้ทั้งหมด
(Landuse Type) จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดบิ แลง้ 808,758 114,936.41
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 17,846,093 2,886,561.30
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเต็งรงั 5,333,228 657,220.39
(Dry Dipterocarp Forest)
ไร่รา้ ง 38,149 16,502.69
(Old clearing)
รวม 24,026,228 3,675,220.78
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหลก็
24
ภาพที่ 16 ปริมาณไมท้ ้ังหมดที่พบในพนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภูผาเหลก็
ภาพท่ี 17 ปรมิ าตรไม้ท้งั หมดที่พบในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติภผู าเหล็ก
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติภผู าเหล็ก
25
ตารางท่ี 4 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ตอ่ หน่วยพน้ื ท่ีจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน
ในอุทยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(Landuse Type) ต้น/ไร่ ตน้ /เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ปา่ ดบิ แล้ง 169.60 1,060.00 24.10 150.64
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 98.48 615.53 15.93 99.56
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเตง็ รัง 111.84 699.00 13.78 86.14
(Dry Dipterocarp Forest)
ไร่รา้ ง 4.00 25.00 1.73 10.81
(Old clearing)
เฉล่ยี 95.06 594.15 14.54 90.89
ภาพท่ี 18 ความหนาแนน่ ต้นไมใ้ นพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็
26
ภาพที่ 19 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในปา่ แตล่ ะประเภทในพน้ื ท่ีอทุ ยานแห่งชาติภผู าเหลก็
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทั้งหมดในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไม้ทง้ั หมด (ต้น) รอ้ ยละ (%)
67.32
15 - 45 ซม. 16,175,168 27.56
5.11
>45 - 100 ซม. 6,622,663 100.00
>100 ซม. 1,228,397
รวม 24,026,228
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็
27
ภาพที่ 20 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในพื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหลก็
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติภผู าเหลก็
28
4. ชนดิ พนั ธุไ์ ม้
ชนิดพนั ธไุ์ มท้ ี่สาํ รวจพบในภาคสนาม จาํ แนกโดยใช้เจ้าหน้าท่ีผู้เช่ียวชาญทางด้านพันธ์ุไม้ช่วยจําแนก
ชนิดพนั ธุไ์ มท้ ี่ถกู ต้อง และบางครั้งจําเป็นต้องใช้ราษฎรในพื้นท่ีซึ่งมีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจําถิ่น ช่วยในการ
เก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ เพื่อนํามาให้ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธ์ุไม้ในสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 10
(อุดรธานี) เจา้ หน้าท่ีจากสว่ นกลาง และสํานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธ์ุพืช ช่วยจําแนก
ช่อื ทางการและชือ่ วทิ ยาศาสตร์ที่ถกู ตอ้ งอกี ครั้งหนึ่ง และชนิดพันธ์ุไม้ส่วนใหญ่ท่ีพบมักจะเป็นพันธ์ุไม้ที่รู้จักและ
ค้นุ เคยสาํ หรับเจ้าหนา้ ทีท่ ี่ทาํ การสํารวจอยู่แล้ว โดยชนดิ พนั ธไุ์ ม้ที่พบทั้งหมดในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
มี 43 วงศ์ มากกว่า 150 ชนดิ มปี รมิ าณไม้รวม 24,026,228 ตน้ ปรมิ าตรไม้รวมทั้งหมด 3,675,220.78 ลูกบาศก์เมตร
มีความหนาแน่นของตน้ ไมเ้ ฉลย่ี 95.06 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉลย่ี 14.54 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มี
ปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) เต็ง (Shorea obtusa)
ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) รัง (Shorea siamensis) กาสามปีก (Vitex peduncularis) ต้ิวเกลี้ยง
(Cratoxylum cochinchinense) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สาธร (Millettia leucantha) ข้ีอ้าย
(Terminalia triptera) แดง (Xylia xylocarpa) ตามลาํ ดับ รายละเอยี ดดังตารางที่ 6
ปา่ ดิบแล้ง มีปรมิ าณไมร้ วม 808,758 ตน้ คิดเปน็ ปรมิ าตรไม้รวม 114,936.41 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉลย่ี 169.60 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉล่ีย 24.10 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากท่ีสุด
10 อันดับแรก ได้แก่ โมกมัน (Wrightia arborea) เขลง (Dialium cochinchinense) ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum
cochinchinense) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) ข้ีหนอนควาย (Celtis tetrandra) กางหลวง (Albizia
chinensis) ผีเส้ือหลวง (Casearia grewiifolia) ขว้าว (Haldina cordifolia) เฉียงพร้านางแอ (Carallia
brachiata) ยอปา่ (Morinda coreia) ตามลาํ ดบั รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 7
ปา่ เบญจพรรณ มีปรมิ าณไมร้ วม 17,846,093 ตน้ คิดเป็นปรมิ าตรไมร้ วม 2,886,561.30 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแน่นเฉลี่ย 98.48 ต้นตอ่ ไร่ มปี ริมาตรไม้เฉลี่ย 15.93 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มาก
ท่สี ดุ 10 อันดับแรก ไดแ้ ก่ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans)
กาสามปีก (Vitex peduncularis) ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
สาธร (Millettia leucantha) สะแกแสง (Cananga latifolia) ไกร (Ficus superba) ขว้าว (Haldina cordifolia)
เขลง (Dialium cochinchinense) ตามลาํ ดับ รายละเอียดดงั ตารางที่ 8
ป่าเตง็ รงั มปี ริมาณไมร้ วม 5,333,228 ตน้ คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 657,220.39 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉลย่ี 111.84 ตน้ ต่อไร่ มปี ริมาตรไม้เฉลี่ย 13.78 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ชนิดไมท้ ่ีมีปริมาณไมม้ ากทส่ี ดุ
10 อนั ดบั แรก ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) ขอ้ี ้าย (Terminalia triptera) แดง (Xylia
xylocarpa) โลด (Aporosa villosa) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) สาธร (Millettia leucantha) เหียง
(Dipterocarpus obtusifolius) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) กางขี้มอด (Albizia odoratissima) มะกอกเกล้ือน
(Canarium subulatum) รกั ใหญ่ (Gluta usitata) ตามลําดับ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 9
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
29
ในพื้นท่ีไรร่ า้ งมีปริมาณไมร้ วม 38,149 ตน้ คดิ เป็นปริมาตรไม้รวม 16,502.69 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉล่ีย 4.00 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 1.73 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากที่สุด
อันดับแรก ได้แก่ สาธร (Millettia leucantha) รองลงมา ได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และ
แดง (Xylia xylocarpa) ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 10
สําหรับไม้ไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก พบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 4 ชนิด ได้แก่ ไผ่บง (Bambusa
nutans) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) และ เป๊าะ (Dendrocalamus
giganteus) มปี ริมาณไม้ไผจ่ าํ นวน 3,082,438 กอ รวมทั้งส้ิน 35,081,803 ลํา ดงั รายละเอียดในตารางที่ 11
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก มีมากกว่า 40 ชนิด รวมท้ังสิ้น
362,392,749 ตน้ มีความหนาแนน่ ของกลา้ ไม้ 1,370.57 ต้นต่อไร่ โดยชนดิ ไม้ทม่ี ีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ พลับพลา (Microcos tomentosa) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense)
เต็ง (Shorea obtusa) หงอนไกป่ ่า (Heritiera parvifolia) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) รัง
(Shorea siamensis) ปอขาว (Sterculia pexa) ข่อย (Streblus asper) และ แคทราย (Stereospermum
neuranthum) ดังรายละเอียดในตารางท่ี 12
ชนิดและปริมาณของลูกไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก มีมากกว่า 70 ชนิด รวมทั้งสิ้น
21,058,238 ต้น มีความหนาแน่นของลูกไม้ 83.32 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ พลับพลา (Microcos tomentosa) สาธร (Millettia leucantha) ตะแบกแดง (Lagerstroemia
calyculata) ติว้ เกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) เหมือดคนตัวผู้ (Helicia nilagirica) แดง (Xylia
xylocarpa) งิ้วป่า (Bombax anceps) มะเด่ือปล้อง (Ficus hispida) เต็ง (Shorea obtuse) และรัง (Shorea
siamensis) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 13
ชนิดและปริมาณของตอไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก มีมากกว่า 16 ชนิด รวมทั้งสิ้น
1,052,912 ตอ มคี วามหนาแน่นของตอไม้ 4.17 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปรมิ าณตอมากท่สี ดุ 10 อนั ดับแรก ได้แก่
เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) กางหลวง
(Albizia chinensis) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminate) ง้ิวป่า (Bombax
anceps) ชงิ ชัน (Dalbergia oliveri) และยาบข้ไี ก่ (Grewia laevigata) ดังรายละเอียดในตารางที่ 14
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก
30
ตารางท่ี 6 ปรมิ าณไม้ทั้งหมดของอทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหล็ก (30 ชนดิ แรกทีม่ ีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ )
ลําดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 1,098,691 267,552.79 4.35
1,045,282 216,190.04 4.14 27.17
2 เตง็ Shorea obtusa 228,894 154,942.85 0.91 25.85
999,503 150,714.79 3.95 5.66
3 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 732,460 149,815.88 2.90 24.72
1,274,176 122,325.06 5.04 18.11
4 รงั Shorea siamensis 694,311 111,863.11 2.75 31.51
1,007,133 103,640.57 3.98 17.17
5 กาสามปีก Vitex peduncularis 312,822 93,691.35 1.24 24.91
762,980 91,705.73 3.02 7.74
6 ติว้ เกล้ียง Cratoxylum cochinchinense 511,196 80,697.24 2.02 18.87
305,192 80,010.10 1.21 12.64
7 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 7,630 75,689.85 0.03 7.55
564,605 74,464.05 2.23 0.19
8 สาธร Millettia leucantha 404,379 68,498.64 1.60 13.96
206,004 67,228.10 0.82 10.00
9 ขีอ้ ้าย Terminalia triptera 312,822 65,313.03 1.24 5.09
129,707 62,391.17 0.51 7.74
10 แดง Xylia xylocarpa 358,600 62,175.26 1.42 3.21
801,129 59,900.03 3.17 8.87
11 สะแกแสง Cananga latifolia 526,456 59,012.27 2.08 19.81
236,524 57,881.13 0.94 13.02
12 เขลง Dialium cochinchinense 152,596 52,383.61 0.60 5.85
602,754 50,559.05 2.38 3.77
13 ไกร Ficus superba 152,596 48,715.00 0.60 14.91
190,745 46,098.63 0.75 3.77
14 ขว้าว Haldina cordifolia 587,494 42,195.85 2.32 4.72
679,052 39,031.61 2.69 14.53
15 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 45,779 37,085.81 0.18 16.79
76,298 35,265.44 0.30 1.13
16 กระบก Irvingia malayana 9,018,419 1,048,182.76 35.68 1.89
3,675,220.78 95.06 223.02
17 กุ๊ก Lannea coromandelica 24,026,228 14.54
18 ตะครอ้ Schleichera oleosa
19 อีแปะ Vitex scabra
20 โลด Aporosa villosa
21 พลบั พลา Microcos tomentosa
22 มะคา่ แต้ Sindora siamensis
23 ทังใบชอ่ Nothaphoebe umbelliflora
24 โมกมนั Wrightia arborea
25 กระโดงแดง Chionanthus microstigma
26 กางขมี้ อด Albizia odoratissima
27 กระทุม่ เนนิ Mitragyna rotundifolia
28 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
29 สมอพิเภก Terminalia bellirica
30 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri
31 อืน่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพันธไ์ุ ม้ทสี่ าํ รวจพบทงั้ หมด 173 ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหล็ก
31
ตารางที่ 7 ปรมิ าณไม้ในปา่ ดบิ แล้งของอทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็ (30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมาตรไมส้ งู สุด)
ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 โมกมัน Wrightia arborea 152,596 25,796.15 32.00
22,889 12,357.37 4.80 5.41
2 เขลง Dialium cochinchinense 30,519 8,534.37 6.40 2.59
15,260 7,219.31 3.20 1.79
3 ต้ิวเกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 7,630 6,465.26 1.60 1.51
7,630 5,065.79 1.60 1.36
4 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa 30,519 4,607.58 6.40 1.06
68,668 4,370.02 14.40 0.97
5 ข้หี นอนคาย Celtis tetrandra 7,630 3,932.10 1.60 0.92
15,260 3,421.63 3.20 0.82
6 กางหลวง Albizia chinensis 30,519 3,236.20 6.40 0.72
7,630 2,761.53 1.60 0.68
7 ผีเสอ้ื หลวง Casearia grewiifolia 7,630 2,316.53 1.60 0.58
61,038 2,227.20 12.80 0.49
8 ขว้าว Haldina cordifolia 7,630 2,156.91 1.60 0.47
15,260 2,114.14 3.20 0.45
9 เฉยี งพรา้ นางแอ Carallia brachiata 15,260 2,077.80 3.20 0.44
61,038 1,790.35 12.80 0.44
10 ยอป่า Morinda coreia 7,630 1,668.04 1.60 0.38
22,889 4.80 0.35
11 หมกั ม่อ Rothmannia wittii 7,630 948.32 1.60 0.20
7,630 933.94 1.60 0.20
12 มะขามป้อม Phyllanthus emblica 7,630 756.73 1.60 0.16
7,630 722.63 1.60 0.15
13 โลด Aporosa villosa 7,630 552.62 1.60 0.12
22,889 453.68 4.80 0.10
14 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum 22,889 385.61 4.80 0.08
22,889 348.33 4.80 0.07
15 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 7,630 325.77 1.60 0.07
7,630 129.35 1.60 0.03
16 กระทุม่ เนิน Mitragyna rotundifolia 91,558 97.20 19.20 0.02
808,758 7,163.94 169.60 1.50
17 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 114,936.41 24.10
18 เหมือดคนตวั ผู้ Helicia nilagirica
19 พะยูง Dalbergia cochinchinensis
20 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata
21 สมอไทย Terminalia chebula
22 กางข้ีมอด Albizia odoratissima
23 ยางโอน Polyalthia viridis
24 อีแปะ Vitex scabra
25 สมอพิเภก Terminalia bellirica
26 พลบั พลา Microcos tomentosa
27 มะเค็ด Catunaregam tomentosa
28 พะวา Garcinia speciosa
29 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
30 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa
31 อ่ืนๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพันธไ์ุ ม้ที่สํารวจพบทง้ั หมด 38 ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
32
ตารางท่ี 8 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็ (30 ชนดิ แรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ ูงสุด)
ลาํ ดบั ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 1,014,763 261,414.37 5.60
228,894 154,942.85 1.26 1.44
2 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 709,571 139,674.98 3.92 0.86
,068,171 107,933.32 5.89 0.77
3 กาสามปกี Vitex peduncularis 495,937 91,958.04 2.74 0.60
778,239 84,962.14 4.29 0.51
4 ติ้วเกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense 503,567 80,321.78 2.78 0.47
7,630 75,689.85 0.04 0.44
5 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 488,307 69,808.95 2.69 0.42
259,413 67,106.58 1.43 0.39
6 สาธร Millettia leucantha 236,524 65,174.76 1.31 0.37
396,749 63,209.59 2.19 0.36
7 สะแกแสง Cananga latifolia 129,707 62,391.17 0.72 0.35
343,341 61,528.87 1.89 0.34
8 ไกร Ficus superba 236,524 61,472.36 1.31 0.34
144,966 57,146.05 0.80 0.34
9 ขวา้ ว Haldina cordifolia 465,418 56,069.43 2.57 0.32
152,596 52,383.61 0.84 0.31
10 เขลง Dialium cochinchinense 320,451 51,072.32 1.77 0.29
152,596 48,715.00 0.84 0.28
11 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera 656,162 38,569.40 3.62 0.27
618,013 38,304.82 3.41 0.21
12 แดง Xylia xylocarpa 221,264 37,727.50 1.22 0.21
534,086 37,591.04 2.95 0.21
13 ตะคร้อ Schleichera oleosa 61,038 36,635.33 0.34 0.21
38,149 36,632.13 0.21 0.20
14 อแี ปะ Vitex scabra 251,783 32,250.31 1.39 0.20
320,451 31,797.49 1.77 0.18
15 กกุ๊ Lannea coromandelica 61,038 31,644.77 0.34 0.18
15,260 30,763.72 0.08 0.17
16 กระบก Irvingia malayana 6,935,485 821,668.77 38.27 0.17
2,886,561.30 98.48 4.53
17 พลบั พลา Microcos tomentosa 17,846,093 15.93
18 ทังใบชอ่ Nothaphoebe umbelliflora
19 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum
20 กระโดงแดง Chionanthus microstigma
21 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
22 โลด Aporosa villosa
23 มะค่าแต้ Sindora siamensis
24 กระท่มุ เนิน Mitragyna rotundifolia
25 เต็ง Shorea obtusa
26 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica
27 งิ้วปา่ Bombax anceps
28 ผ่าเสยี้ น Vitex canescens
29 ชงิ ชัน Dalbergia oliveri
30 ตะแบกกราย Terminalia pierrei
31 อนื่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นิดพันธ์ไุ มท้ ่ีสํารวจพบท้ังหมด 158 ชนิด
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูผาเหลก็
33
ตารางที่ 9 ปริมาณไมใ้ นปา่ เต็งรังของอุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็ (30 ชนิดแรกทีม่ ีปริมาตรไม้สงู สดุ )
ลําดับ ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 เต็ง Shorea obtusa 984,244 179,554.71 20.64
900,316 129,601.95 18.88 3.77
2 รงั Shorea siamensis 76,298 28,516.59 1.60 2.72
366,230 28,496.13 7.68 0.60
3 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 175,485 19,278.67 3.68 0.60
183,115 19,018.88 3.84 0.40
4 แดง Xylia xylocarpa 7,630 17,996.72 0.16 0.40
45,779 17,791.55 0.96 0.38
5 โลด Aporosa villosa 83,928 17,426.31 1.76 0.37
68,668 17,076.56 1.44 0.37
6 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 183,115 14,203.63 3.84 0.36
7,630 12,151.26 0.16 0.30
7 มะค่าแต้ Sindora siamensis 68,668 11,100.10 1.44 0.25
206,004 10,604.10 4.32 0.23
8 กางข้มี อด Albizia odoratissima 22,889 10,140.90 0.48 0.22
61,038 10,082.06 1.28 0.21
9 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 152,596 6,652.97 3.20 0.21
38,149 6,094.28 0.80 0.14
10 รกั ใหญ่ Gluta usitata 175,485 5,857.37 3.68 0.13
61,038 4,849.24 1.28 0.12
11 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 7,630 4,710.45 0.16 0.10
68,668 4,060.62 1.44 0.10
12 มะมว่ งปา่ Mangifera caloneura 76,298 3,840.66 1.60 0.09
99,187 3,641.79 2.08 0.08
13 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 15,260 3,620.66 0.32 0.08
7,630 3,309.32 0.16 0.08
14 สาธร Millettia leucantha 76,298 3,087.92 1.60 0.07
7,630 3,081.27 0.16 0.06
15 กาสามปีก Vitex peduncularis 38,149 2,557.23 0.80 0.06
61,038 2,498.69 1.28 0.05
16 กระบก Irvingia malayana 1,007,133 56,317.79 21.12 0.05
657,220.39 111.84 1.18
17 มะม่วงหัวแมงวนั Buchanania lanzan 5,333,228 13.78
18 แครกฟา้ Heterophragma sulfureum
19 ต้วิ เกล้ียง Cratoxylum cochinchinense
20 เหมือดคนตวั ผู้ Helicia nilagirica
21 สมอไทย Terminalia chebula
22 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata
23 กกุ๊ Lannea coromandelica
24 มะเค็ด Catunaregam tomentosa
25 ชิงชัน Dalbergia oliveri
26 กระพ้ีจั่น Millettia brandisiana
27 แสมสาร Senna garrettiana
28 พฤกษ์ Albizia lebbeck
29 พลับพลา Microcos tomentosa
30 มะขามป้อม Phyllanthus emblica
31 อ่นื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นิดพันธุไ์ ม้ที่สาํ รวจพบทง้ั หมด 79 ชนิด
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหลก็
34
ตารางท่ี 10 ปรมิ าณไมใ้ นพนื้ ท่ีไรร่ ้างของอุทยานแหง่ ชาตภิ ูผาเหล็ก
ลําดับ ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 สาธร Millettia leucantha 22,889 2.40
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 7,630 8,074.33 0.80 0.85
3 แดง Xylia xylocarpa 7,630 5,572.09 0.80 0.58
2,856.27 4.00 0.30
1.73
รวม 38,149 16,502.69
ตารางท่ี 11 ชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ ทีพ่ บในอทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
ลําดับ ชนดิ พนั ธไุ์ ผ่ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ไผท่ ั้งหมด
จาํ นวนกอ จาํ นวนลาํ
1 ไผบ่ ง Bambusa nutans 1,083,431 17,075,484
2 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 915,576 7,217,787
3 ไผ่ไร่ Gigantochloa albociliata 762,980 7,126,230
4 เปา๊ ะ Dendrocalamus giganteus 320,451 3,662,302
รวม 3,082,438 35,081,803
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นที่อทุ ยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
35
ตารางท่ี 12 ชนิดและปริมาณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
ลําดับ ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ทัง้ หมด
จํานวน (ตน้ ) ความหนาแน่น (ตน้ /ไร่)
1 พลับพลา Microcos tomentosa 71,720,085 283.77
2 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 21,363,429 84.53
3 ต้วิ เกลี้ยง Cratoxylum cochinchinense 19,837,470 78.49
4 เต็ง Shorea obtusa 18,311,511 72.45
5 หงอนไก่ป่า Heritiera parvifolia 18,311,511 72.45
6 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 15,259,592 60.38
7 รงั Shorea siamensis 12,207,674 48.30
8 ปอขาว Sterculia pexa 12,207,674 48.30
9 ขอ่ ย Streblus asper 12,207,674 48.30
10 แคทราย Stereospermum neuranthum 10,681,715 42.26
11 โมกมนั Wrightia arborea 9,155,755 36.23
12 สาธร Millettia leucantha 9,155,755 36.23
13 ปอพราน Colona auriculata 7,629,796 30.19
14 ชมพ่นู ํ้า Syzygium siamense 7,629,796 30.19
15 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 4,577,878 18.11
16 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 4,577,878 18.11
17 เกด็ ขาว Dalbergia glomeriflora 4,577,878 18.11
18 เหียง Dipterocarpus obtusifolius 4,577,878 18.11
19 แดง Xylia xylocarpa 4,577,878 18.11
20 สะแกแสง Cananga latifolia 3,051,918 12.08
21 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 3,051,918 12.08
22 มะเด่อื ปล้อง Ficus hispida 3,051,918 12.08
23 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 3,051,918 12.08
24 คอแลน Nephelium hypoleucum 3,051,918 12.08
25 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 3,051,918 12.08
26 กะหนาย Pterospermum littorale 3,051,918 12.08
27 มะกอก Spondias pinnata 3,051,918 12.08
28 แสลงใจ Strychnos nux-vomica 3,051,918 12.08
29 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera 3,051,918 12.08
30 กางขี้มอด Albizia odoratissima 1,525,959 6.04
31 อ่ืนๆ Others 45,778,778 181.14
รวม 346,392,749 1,370.57
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุ์ไมท้ ี่สาํ รวจพบทง้ั หมด 42 ชนิด
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภผู าเหล็ก
36
ตารางท่ี 13 ชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ท่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหลก็
ลาํ ดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไมท้ ั้งหมด
จํานวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร)่
1 พลับพลา Microcos tomentosa 1,983,747 7.85
2 สาธร Millettia leucantha 1,068,171 4.23
3 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 915,576 3.62
4 ตวิ้ เกลยี้ ง Cratoxylum cochinchinense 762,980 3.02
5 เหมอื ดคนตัวผู้ Helicia nilagirica 762,980 3.02
6 แดง Xylia xylocarpa 762,980 3.02
7 งวิ้ ป่า Bombax anceps 457,788 1.81
8 มะเดอื่ ปลอ้ ง Ficus hispida 457,788 1.81
9 เต็ง Shorea obtusa 457,788 1.81
10 รัง Shorea siamensis 457,788 1.81
11 หงอนไกป่ า่ Heritiera parvifolia 457,788 1.81
12 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 305,192 1.21
13 โลด Aporosa villosa 305,192 1.21
14 มะม่วงหัวแมงวัน Buchanania lanzan 305,192 1.21
15 สะแกแสง Cananga latifolia 305,192 1.21
16 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 305,192 1.21
17 ผเี ส้ือหลวง Casearia grewiifolia 305,192 1.21
18 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 305,192 1.21
19 คอแลน Nephelium hypoleucum 305,192 1.21
20 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 305,192 1.21
21 กะหนาย Pterospermum littorale 305,192 1.21
22 ตะครอ้ Schleichera oleosa 305,192 1.21
23 แคทราย Stereospermum neuranthum 305,192 1.21
24 โมกมนั Wrightia arborea 305,192 1.21
25 กางข้ีมอด Albizia odoratissima 152,596 0.60
26 ทิ้งถ่อน Albizia procera 152,596 0.60
27 มะเมา่ ดง Antidesma bunius 152,596 0.60
28 มะนาวผี Atalantia monophylla 152,596 0.60
29 อีแปะ Vitex scabra 152,596 0.60
30 มะกา Bridelia ovata 152,596 0.60
31 อื่นๆ Others 7,629,797 30.19
รวม 21,058,238 83.32
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธุ์ไมท้ ี่สาํ รวจพบท้ังหมด 70 ชนิด
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหลก็
37
ตารางที่ 14 ชนดิ และปริมาณของตอไม้ (Stump) ทีพ่ บในอุทยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไมท้ ้ังหมด
จํานวน (ตอ) ความหนาแนน่ (ตอ/ไร)่
1 เตง็ Shorea obtusa 305,192 1.21
2 รัง Shorea siamensis 228,894 0.91
3 แดง Xylia xylocarpa 76,298 0.30
4 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa 30,519 0.12
5 กางหลวง Albizia chinensis 30,519 0.12
6 มะค่าแต้ Sindora siamensis 30,519 0.12
7 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 15,260 0.06
8 ง้วิ ปา่ Bombax anceps 15,260 0.06
9 ชงิ ชัน Dalbergia oliveri 15,260 0.06
10 ยาบข้ีไก่ Grewia laevigata 15,260 0.06
11 ขวา้ ว Haldina cordifolia 15,260 0.06
12 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 15,260 0.06
13 อะราง Peltophorum dasyrachis 15,260 0.06
14 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 15,260 0.06
15 ขอ้ี า้ ย Terminalia triptera 15,260 0.06
16 Unknown Unknown 213,634 0.85
รวม 1,052,912 4.17
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหล็ก
38
5. สังคมพชื
จากผลการสาํ รวจเกบ็ และวิเคราะห์ขอ้ มลู สงั คมพชื ในอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก พบว่ามีสังคมพืช
4 ประเภท คอื ปา่ ดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และไรร่ า้ ง และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่น
ของพรรณพืช (Density) ความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญของพรรณไม้
(IVI) ดงั นี้
ในพืน้ ท่ีป่าดิบแลง้ มชี นดิ ไมท้ ี่มีคา่ ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (IVI) สงู สุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่
โมกมัน (Wrightia arborea) ขว้าว (Haldina cordifolia) เขลง (Dialium cochinchinense) ต้ิวเกลี้ยง
(Cratoxylum cochinchinense) ขันทองพยาบาท (Suregada multiflorum) เหมือดคนตัวผู้ (Helicia
nilagirica) ผีเสื้อหลวง (Casearia grewiifolia) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) หมักม่อ (Rothmannia
wittii) ขห้ี นอนคาย (Celtis tetrandra) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 15
ในพื้นท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) กาสามปีก
(Vitex peduncularis) สาธร (Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ทองหลางป่า (Erythrina
subumbrans) กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia) พลับพลา (Microcos tomentosa) ขว้าว (Haldina
cordifolia) และสะแกแสง (Cananga latifolia) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 16
ในพ้ืนที่ป่าเต็งรัง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
เตง็ (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
สาธร (Millettia leucantha) โลด (Aporosa villosa) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) มะม่วงหัวแมงวัน
(Buchanania lanzan) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) และติ้วเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense)
ดังรายละเอียดในตารางที่ 17
ในพ้ืนที่ไร่ร้าง ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ สาธร (Millettia leucantha)
รองลงมา ได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และ แดง (Xylia xylocarpa) ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 18
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ผู าเหล็ก
ตารางท่ี 15 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลําดบั ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแนน่ แปลง
ตน้ (ตน้ /เฮกตาร์) พบ
1 โมกมนั Wrightia arborea 20 200.00 1
2 ขว้าว Haldina cordifolia 9 90.00 1
3 เขลง Dialium cochinchinense 3 30.00 1
4 ติว้ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 4 40.00 1
5 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum 8 80.00 1
6 เหมือดคนตวั ผู้ Helicia nilagirica 8 80.00 1
7 ผีเสือ้ หลวง Casearia grewiifolia 4 40.00 1
8 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 2 20.00 1
9 หมกั ม่อ Rothmannia wittii 4 40.00 1
10 ขห้ี นอนคาย Celtis tetrandra 1 10.00 1
11 ยอปา่ Morinda coreia 2 20.00 1
12 กางหลวง Albizia chinensis 1 10.00 1
13 เฉยี งพร้านางแอ Carallia brachiata 1 10.00 1
14 กระทมุ่ เนนิ Mitragyna rotundifolia 2 20.00 1
15 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 3 30.00 1
16 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 2 20.00 1
17 พลับพลา Microcos tomentosa 3 30.00 1
18 มะเคด็ Catunaregam tomentosa 3 30.00 1
19 พะวา Garcinia speciosa 3 30.00 1
20 มะขามป้อม Phyllanthus emblica 1 10.00 1
21 อืน่ ๆ Others 22 220.00 17
รวม 106 1,060.00
าดิบแลง้ ในอุทยานแหง่ ชาตภิ ผู าเหล็ก
ความถ่ี พ้ืนท่ีหน้าตดั ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
2.63 22.79 44.29
100.00 0.52 0.23 18.87 2.63 4.53 15.65
100.00 0.10 0.05 8.49 2.63 9.35 14.82
100.00 0.21 0.09 2.83 2.63 6.69 13.09
100.00 0.15 0.07 3.77 2.63 2.55 12.72
100.00 0.06 0.03 7.55 2.63 2.19 12.37
100.00 0.05 0.02 7.55 2.63 4.12 10.53
100.00 0.09 0.04 3.77 2.63 5.59 10.11
100.00 0.13 0.06 1.89 2.63 3.27 9.68
100.00 0.07 0.03 3.77 2.63 4.66 8.24
100.00 0.11 0.05 0.94 2.63 3.09 7.60
100.00 0.07 0.03 1.89 2.63 3.81 7.38
100.00 0.09 0.04 0.94 2.63 3.09 6.66
100.00 0.07 0.03 0.94 2.63 2.08 6.60
100.00 0.05 0.02 1.89 2.63 1.02 6.48
100.00 0.02 0.01 2.83 2.63 1.57 6.09
100.00 0.04 0.02 1.89 2.63 0.54 6.00
100.00 0.01 0.01 2.83 2.63 0.49 5.96
100.00 0.01 0.01 2.83 2.63 0.47 5.93
100.00 0.01 0.01 2.83 2.63 2.30 5.88
100.00 0.05 0.02 0.94 47.37 15.82 83.94
1,700.00 0.36 0.16 20.76 100.00 100.00 300.00
3,700.00 2.28 1.00 100.00
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาติภผู าเหลก็
ตารางท่ี 16 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลาํ ดบั ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแนน่ แปลง ค
ต้น (ต้น/เฮกตาร)์ พบ
1 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 133 38.00 24
140 40.00 16
2 ตว้ิ เกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense 93 26.57 13
102 29.14 17
3 กาสามปกี Vitex peduncularis 65 18.57 20
30 8.57 15
4 สาธร Millettia leucantha 70 20.00 21
61 17.43 19
5 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 64 18.29 14
66 18.86 12
6 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 81 23.14 12
86 24.57 10
7 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 52 14.86 13
42 12.00 15
8 พลับพลา Microcos tomentosa 45 12.86 13
59 16.86 14
9 ขว้าว Haldina cordifolia 31 8.86 15
33 9.43 18
10 สะแกแสง Cananga latifolia 34 9.71 9
31 8.86 9
11 โลด Aporosa villosa 1021 291.71 431 1
12 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
13 แดง Xylia xylocarpa
14 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum
15 อีแปะ Vitex scabra
16 โมกมัน Wrightia arborea
17 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera
18 งิว้ ป่า Bombax anceps
19 เขลง Dialium cochinchinense
20 กกุ๊ Lannea coromandelica
21 อนื่ ๆ Others
รวม 2,339 668.29 2