The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อุทยานแห่งชาติน้ำพอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kph.wanwisa, 2020-11-06 03:10:43

อุทยานแห่งชาติน้ำพอง

อุทยานแห่งชาติน้ำพอง

รายงานการสารวจทรพั ยากรป่ าไม้

อทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าพอง

สว่ นสำรวจและวเิ ครำะหท์ รพั ยำกรป่ ำไมส้ ำนักฟื้นฟูและพฒั นำพนื้ ทอ่ี นุรกั ษ ์

กรมอทุ ยำนแหง่ ชำติ สตั วป์ ่ ำ และพนั ธพุ ์ ชื พ.ศ. 2557



บทสรุปสำหรับผู้บริหำร

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช โดยส่วนสารวจและวเิ คราะห์
ทรัพยากรป่าไม้ ไดท้ าการวางแปลงสารวจเกบ็ ข้อมูลทรัพยากรปา่ ไม้ในอุทยานแหง่ ชาติน้าพอง ซง่ึ มเี น้ือทแี่ นบ
ทา้ ยกฤษฎกี าเท่ากบั 123,125 ไร่ หรือ (ประมาณ 197 ตารางกโิ ลเมตร) คลอบคลุมพื้นที่อาเภออุบลรัตน์ อาเภอ
บา้ นฝาง อาเภอหนองเรอื อาเภอมญั จาคีรี และกิง่ อาเภอโคกโพธ์ไิ ชย จงั หวดั ขอนแก่น รวมทง้ั พนื้ ท่ีบางส่วนของ
อาเภอบ้านแทน่ อาเภอแกง้ ครอ้ จังหวดั ชัยภมู ิ

โดยได้ทาการวางแปลงตัวอย่างวงกลม ขนาด 0.1 เฮกแตร์ (0.625 ไร่) ระยะ 2.5x2.5 กิโลเมตร
จานวน 33 แปลง สามารถแบ่งตามสัดสว่ นทส่ี ารวจพบได้ชนดิ ปา่ 4 ประเภท ดังน้ี

1. ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 6.06 มคี วามหนาแน่นเฉลยี่ 175.20 ตน้ ตอ่ ไร่ (ปริมาตร 19.46
ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร)่

2. ป่าเบญจพรรณ คิดเป็นร้อยละ 45.45 มีความหนาแน่นเฉล่ีย 113.92 ต้นต่อไร่ ปริมาตร
10.30 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่

3. ปา่ เต็งรัง คิดเปน็ ร้อยละ 45.45 มคี วามหนาแน่นเฉลย่ี 171.31 ตน้ ไร่ ปริมาตร 17.10
ลกู บาศก์เมตรต่อไร่

4. ป่าฟื้นฟูตามธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 3.03 มีความหนาแน่นเฉลี่ย 6.40 ต้นต่อไร่ ปริมาตร
0.48 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่

จากผลการสารวจสามารถสรุปภาพรวมของอุทยานแห่งชาติน้าพอง พบพันธ์ุไม้มากกว่า 148 ชนิด หมู่
ไม้มีความหนาแน่นเฉล่ยี 140.46 ต้นต่อไร่ และ มีปริมาตรเฉล่ีย 13.65 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่ ลูกไม้ (Sapling) มี
ความหนาแน่นเฉล่ีย 173.58 ต้นต่อไร่ กล้าไม้ (Seedling) มีความหนาแน่นเฉล่ีย 5,236.36 ต้นต่อไร่ และมี
คา่ ความหนาแน่นของตอไม้เฉล่ยี 9.41 ตอตอ่ ไร่

ชนิดไม้ท่ีพบมาก 10 ลาดับแรก ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เต็ง
(Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) รักใหญ่ (Gluta usitata) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) สา
ธร (Millettia leucantha) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) มะนาวผี (Atalantia monophylla)
และกระบก (Irvingia malayana) ตามลาดบั

ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรมาก 10 ลาดับแรกได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เต็ง (Shorea
obtusa) รงั (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) เหยี ง (Dipterocarpus obtusifolius) รกั ใหญ่
(Gluta usitata) กระบก (Irvingia malayana) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) สาธร (Millettia
leucantha) และมะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) ตามลาดบั

ลูกไม้ (Sapling) พบมากกว่า 51 ชนิด มีความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 173.58 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ท่ีพบมาก 5
ลาดับแรก ได้แก่ มะนาวผี (Atalantia monophylla) เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) รัง

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตินา้ พอง

(Shorea siamensis) และเสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx) ตามลาดับ จากการสารวจพบลูกไม้มากท่ีสุด
ในป่าเบญจพรรณรองลงมา คือ ป่าเต็งรงั ทุ่งหญ้าธรรมชาติ และปา่ ดบิ แลง้ ตามลาดับ

กล้าไม้ (Seedling) พบมากกว่า 72 ชนิด มีความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 5,236.36 ต้นต่อไร่ โดยกล้าไม้ที่มี
ปรมิ าณมากทีส่ ุด 5 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ ปอพราน (Colona auriculata) แดง (Xylia xylocarpa) คาแสด
(Mallotus philippensis) เต็ง (Shorea obtusa) และสาธร (Millettia leucantha) ตามลาดับ

เมอ่ื ทาการประเมนิ ทรัพยากรปา่ ไม้ในพืน้ ท่ีของอทุ ยานแหง่ ชาติน้าพอง โดยใช้สดั ส่วนของแปลงสารวจ
กับขนาดของพ้ืนท่ีแนบท้ายกฤษฎีกา (123,125 ไร่) สรุปผลดังน้ี มีปริมาณไม้รวม 17,294,212 ต้น คิดเป็น
ปริมาตรไม้ 1,680,415.85 ลูกบาศก์เมตร มีลูกไม้ (Sapling) จานวน 21,371,515 ต้น กล้าไม้ (Seedling)
จานวน 644,727,273 ต้น มีไผ่ (Bamboo) จานวน 2,125,212 กอ รวม 32,427,394 ลา มีตอไม้ (Tree Stump)
จานวน 1,158,121 ตอ

ในส่วนของการประเมินขนาดความโตของหมู่ไม้ พบว่า มีไม้ยืนที่มีขนาด GBH ต้ังแต่ 15-45 เซนติเมตร
จานวน 12,357,273 ตน้ และ GBH มากกว่า 45-100 เซนติเมตร จานวน 4,638,455 ตน้ และ GBH มากกว่า
100 เซนติเมตร จานวน 298,485 ตน้ คดิ เปน็ ร้อยละ 71.45, 26.82 และ 1.73 ตามลาดบั

จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู สงั คมพชื และความหลากหลายทางชีวภาพ ในพ้ืนทีข่ องอุทยานฯ พบว่า
1. ชนิดไม้ที่มีความถี่ (Frequency) มากท่ีสุด คือ แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คือ ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) และมะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum)
2. ชนิดไม้ท่ีมีความหนาแนน่ ของพชื พรรณ (Density) มากท่สี ุด คอื แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คอื
ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และ เต็ง (Shorea obtusa)
3. ชนิดไม้ท่ีทีความเด่น (Dominance) มากท่ีสุด คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา คือ
เต็ง (Shorea obtusa) และ รงั (Shorea siamensis)
4. ชนิดไม้ทมี่ ีค่าความสาคัญทางนิเวศวิทยา (IVI) มากท่สี ดุ คือ แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คือ
ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และเต็ง (Shorea obtusa)
5. ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าเบญจพรรณ มีความหลากหลายของชนิด
พันธุ์ไม้ (Species Diversity) ความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness) และความสม่าเสมอของ
ชนดิ พันธุ์ไม้ (Species Evenness) มากทีส่ ดุ มาก

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแห่งชาติน้าพอง

สารบัญ i

เร่อื ง หนา้
สารบัญ i
สารบญั ตาราง iii
สารบัญภาพ iv
คานา 1
วัตถุประสงค์ 2
พน้ื ที่การดาเนินงาน 2
2
ประวตั ิความเปน็ มา 2
ลักษณะภมู ิประเทศ 3
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 3
การเดินทาง 3
สถานทีท่ ่องเทย่ี ว 4
รปู แบบและวิธีการสารวจทรัพยากรปา่ ไม้ 4
การสุม่ ตัวอย่าง (Sampling Design) 5
รปู ร่างและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design) 6
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มูลท่ีทาการสารวจ 6
การวเิ คราะห์ข้อมูลการสารวจทรพั ยากรป่าไม้ 6
1. การคานวณเนื้อทป่ี ่าและปริมาณไม้ทงั้ หมด 6
2. การคานวณปรมิ าตรไม้ 7
3. ข้อมูลทว่ั ไป 8
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้ 8
5. การวิเคราะห์ข้อมูลชนิดและปริมาณของไผ่ หวาย 8
6. การวเิ คราะห์ข้อมูลสงั คมพืช 9
7. วเิ คราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ
ผลการสารวจและวเิ คราะห์ขอ้ มูลทรพั ยากรป่าไม้ 10
1. แปลงตัวอยา่ ง 10
2. พนื้ ท่ีป่า 11
3. ปริมาณไม้ 16
4. ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ 19
5. สงั คมพืช 29
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 34

สารบัญ (ตอ่ ) ii

สรุปผลการสารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรพั ยากรป่าไม้ หนา้
วิจารณ์ผล 35
ปญั หาและอปุ สรรค 38
ข้อเสนอแนะ 38
เอกสารอ้างองิ 38
ภาคผนวก 40
41

iii

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา้

1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ทที่ าการสารวจ 6

2 พนื้ ที่ป่าไม้จาแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ (Area by Landuse Type) 11

3 ปริมาณไม้ท้ังหมดตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินในอุทยานแห่งชาติน้าพอง (Volume by

Landuse type) 16

4 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ต่อหน่วยพื้นท่ีจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินใน

อทุ ยานแหง่ ชาตินา้ พอง (Density and Volume per Area by Landuse Type) 17

5 การกระจายของตน้ ไม้ในแต่ละชว่ งขนาดความโต 19

6 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดของอทุ ยานแห่งชาตนิ า้ พอง (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาตรไม้สงู สดุ ) 22

7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดิบแล้งของอทุ ยานแห่งชาตนิ ้าพอง (30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมาตรไมส้ งู สดุ ) 23

8 ปริมาณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของอทุ ยานแห่งชาตินา้ พอง (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไม้สูงสดุ ) 24

9 ปรมิ าณไมใ้ นป่าเตง็ รังของอุทยานแห่งชาตนิ ้าพอง (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไม้สงู สดุ ) 25

10 ปริมาณไม้ในปา่ ฟน้ื ฟธู รรมชาติของอทุ ยานแหง่ ชาตินา้ พอง 26

11 ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) (30 ชนิดแรกท่มี ีปรมิ าณไมส้ ูงสดุ ) 26

12 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) (30 ชนดิ แรกที่มปี รมิ าณไมส้ งู สดุ ) 27

13 ชนิดและปริมาณไมไ้ ผท่ พ่ี บในอุทยานแงชาติแหง่ ชาติน้าพอง 28

14 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) 28

15 ดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) ของป่าดิบแล้งในอุทยาน

แห่งชาตนิ า้ พอง (20 อันดบั แรก) 30

16 ดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) ของป่าเบณจพรรณในอุทยาน

แห่งชาตนิ า้ พอง (20 อนั ดับแรก) 31

17 ดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) ของป่าเต็งรังในอุทยาน

แห่งชาตินา้ พอง (20 อันดับแรก) 32

18 ดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) ของป่าฟ้ืนฟูธรรมชาติใน

อุทยานแหง่ ชาตนิ า้ พอง 33

19 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนดิ พนั ธุ์ไมอ้ ทุ ยานแหง่ ชาตินา้ พอง 34

สารบัญภาพ iv

ภาพท่ี หนา้
1 รปู แบบและขนาดของแปลงตัวอย่าง 5
2 พกิ ัดตาแหนง่ แปลงตัวอย่าง 10
3 พนื้ ทีป่ ่าไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ในพนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตนิ า้ พอง 11
4 ลักษณะของปา่ ดิบแลง้ ท่สี ารวจพบในพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตินา้ พอง 12
5 ลักษณะของป่าเบญจพรรณท่ีสารวจพบในพ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาตนิ ้าพอง 13
6 ลักษณะของปา่ เต็งรงั ทส่ี ารวจพบในพื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติน้าพอง 14
7 ลักษณะของปา่ ฟนื้ ฟตู ามธรรมชาติทีส่ ารวจพบในพ้นื ท่ีอุทยานแหง่ ชาตนิ า้ พอง 15
8 ปริมาณไม้ท้ังหมดที่พบในอุทยานแหง่ ชาตนิ า้ พอง 16
9 ปรมิ าตรไม้ทั้งหมดในอุทยานแห่งชาติน้าพอง 17
10 ความหนาแน่นของไม้ทั้งหมดในอทุ ยานแห่งชาตนิ า้ พอง 18
11 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติน้าพอง 18
12 การกระจายของต้นไม้ในแตล่ ะชว่ งขนาดความโต 19

1

คาํ นํา

ในปจจุบันประเทศไทยมีพ้ืนท่ีปาไมเหลืออยูรอยละ 33.56 ของพื้นท่ีประเทศ (สถิติปาไม, 2553) ซ่ึง
พ้ืนที่ดังกลาวสวนใหญอยูในความรับผิดชอบของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ซึ่งมีหนาท่ีที่จะตอง
อนุรักษ สงวน และฟนฟูทรัพยากรปาไม ใหสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนในประเทศไดอยาง
ยั่งยืน จึงจําเปนที่จะตองทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรปาไม รวมท้ัง
ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยูในพื้นท่ีปาไม ตลอดจนปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลตอการบุกรุก
ทาํ ลายปา

สวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปา ไม สํานักพ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ รับผิดชอบในการสาํ รวจ
เก็บขอมูลทรัพยากรปาไมในพ้ืนท่ีอนุรักษท่ัวประเทศ เพื่อรวบรวมเปนฐานขอมูลในการดาํ เนินงานในกิจกรรม
ท่ีมีความเกี่ยวของกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งใชในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากรปาไมและสวนที่เก่ียวของเพื่อนําไปใชในการพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ หรือใชเปนตนแบบในการดําเนินการใน
พ้นื ทอี่ ่นื ๆ ตอไป

ในปงบประมาณ 2557 สวนสํารวจและวิเคราะหทรัพยากรปาไม โดยกลุมสํารวจทรัพยากรปาไมได
ดําเนินการสํารวจทรัพยากรปาไมในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติน้ําพอง เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากรปาไม โดยผลการสํารวจจะแสดงใหทราบถึงความหลากหลายของพืชพรรณในแตละสภาพพ้ืนที่
รวมท้ัง ชนิด ปริมาณ ปริมาตรของไม ตลอดจนปริมาณกลาไมและลูกไม ซ่ึงขอมูลดังกลาวสามารถนําไปใชใน
การประเมินการสืบตอพันธุตามธรรมชาติและความสมบูรณของหมูไมในอนาคตตอไปนอกจากนี้ยังสามารถใช
ในการติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรปาไม ซ่ึงสามารถนําไปใชประเมินมูลคาทางดานเศรษฐกิจและ
สิง่ แวดลอ มตอ ไป

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พ้นื ท่อี ทุ ยานแหงชาตนิ ้าํ พอง

2

วตั ถุประสงค

1. ทาํ การสํารวจเกบ็ ขอ มลู ทรพั ยากรปา ไม เพอื่ ใหทราบขอมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั สถานภาพ และศักยภาพ
ของทรัพยากรปาไม ความหลากหลายของพันธุพืช รวมถึงปริมาณและกําลังผลิตของไมในพื้นที่ตลอดจนการ
สบื พันธุตามธรรมชาติของหมไู ม

2. สามารถประเมินมูลคาทรัพยากรปาไม และมูลคาความเสียหายหรือสูญเสีย หากมีการดําเนินการ
โครงการทส่ี งผลกระทบตอ พ้ืนทีอ่ นุรกั ษ

3. เพอื่ ติดตามการเปลยี่ นแปลงของทรัพยากรปา ไมในพ้ืนท่ี

ประวตั คิ วามเปนมา พน้ื ทกี่ ารดาํ เนนิ งาน

อุทยานแหงชาติน้ําพอง เปนชื่อเรียกตามตนกําเนิดลํานํ้าพอง ท่ีไหลมารวมกับอางเก็บน้ําเข่ือนอุบล
รัตน (เดิมชื่ออางเก็บนํ้าน้ําพอง) เปนอุทยานแหงชาติที่จัดตั้งข้ึนตามขอเสนอของจังหวัดขอนแกน มีเนื้อท่ี
ประมาณ 197 ตารางกิโลเมตร หรือ 123,125 ไร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 117 ตอนที่ 105ก ลงวันที่
15 พฤศจิกายน 2543 ครอบคลุมพ้ืนทีป่ าสงวนแหงชาติ ปา โสกแต ปา ภูเม็ง ปาโคกหลวง ปา โคกหลวงแปลงท่ีสาม
ปาภูผาดํา ปาภผู าแดง ในเขตอําเภออุบลรตั น อาํ เภอบานฝาง อาํ เภอหนองเรือ อําเภอมญั จาครี ี และกงิ่ อําเภอ
โคกโพธ์ไิ ชย จังหวดั ขอนแกน รวมทั้งพืน้ ท่ีบางสว นของ อาํ เภอบานแทน อําเภอแกงครอ จงั หวัดชยั ภมู ิ

หนวยงานในพ้ืนท่ี
- ทีท่ าํ การอทุ ยานแหง ชาตินํ้าพอง
- หนว ยพทิ ักษอุทยานแหงชาตนิ ้าํ พอง ท่ี นพ. 1 (หนองสองหอง)
- หนวยพทิ ักษอทุ ยานฯ (ช่วั คราว) ท่ี นพ. 2 (หินชางส)ี
- หนวยพิทักษอทุ ยานฯ (ชั่วคราว) ที่ นพ. 3 (นํา้ ตกหวยเข)
- สวนปาโสกแต

ลกั ษณะภมู ิประเทศ

สภาพพื้นที่โดยทั่วไป มีลักษณะสัณฐานธรณีเปนภูเขาหินทราย ไดแก หินชุดเขาวิหาร หินชุด
ภูกระดึง และหินชุดเสาขัว สภาพทางปฐพีเปนดินรวนปนทราย ไดแก ดินชุดโคราช ดินชุดสตึก ดินชุดบรบือ
และดินชุดน้ําพอง โดยประกอบดวยเทือกเขาท่ีสําคัญ ๆ ไดแก เทือกเขาภูพานคํา ภูเม็ง และภูผาดําภูผาแดง
มีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางโดยเฉลี่ยประมาณ 200-600 เมตร คลายกับเทือกเขาท่ัว ๆ ไปของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเทือกเขาเหลานี้ทอดตัวเปนแนวยาวจากทิศเหนือสูทิศใต ขนานกับอางเก็บนํ้าเข่ือน
อบุ ลรัตน เปนแหลงกาํ เนิดตน น้ําลําธารสวนหน่ึงของลํานาํ้ ทีส่ ําคัญหลายสาย เชน ลํานํา้ พอง ลาํ น้าํ เชญิ ลํานํา้ ชี
เปน ตน แบง พน้ื ท่ีไดเปน 2 สว น คือ สวนทอี่ ยใู นเทือกเขาภูพานคํา ดา นทิศเหนือและดานทิศใตอยูในเทือกเขาภูเม็ง

การสาํ รวจทรพั ยากรปาไม
พ้นื ทอี่ ทุ ยานแหงชาตนิ ํา้ พอง

3

และภูผาดําภูผาแดง พื้นที่ดานทิศตะวันตกมีสภาพลาดชัน สลับกับหนาผาในบางชวง จรดท่ีราบอางเก็บน้ํา
ดา นลาง สว นพ้ืนที่ดา นทศิ ตะวันออกเปนท่ีราบเชงิ เขา

ลกั ษณะภมู ิอากาศ

ฤดูกาลของอุทยานแหงชาตินํ้าพองแบงออกเปน 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ระหวางเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
อุณหภูมิเฉลี่ยจะรอนจัดในเดือนเมษายน ฤดูฝน ระหวางเดือนมิถุนายน-ตุลาคม ปริมาณนํ้าฝนจะตกมากชวง
เดือนสิงหาคม-ตุลาคม ฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุดในเดือนมกราคม
ซึ่งไดรับอิทธิพลจากรองความกดอากาศสูงทางตอนใตของประเทศจีน โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งป ตํ่าสุด 23.8
องศาเซลเซียส สูงสดุ 30.7 องศาเซลเซียส มปี ริมาณนํา้ ฝนโดยเฉล่ยี ท้งั ป ประมาณ 1,145.3 มลิ ลเิ มตร

การเดนิ ทาง

รถยนต สําหรับการเดินทางมาอุทยานแหงชาตินา้ํ พองสามารถเดินทางได 2 ทาง คอื

1. จากตวั เมอื งขอนแกนตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 12 (ไปอําเภอชมุ แพ) ถงึ กม. 30 กลับรถแลว
จะมีแยกเล้ียวซาย (บานดอนดู) เดินทางตามทางหลวงชนบทหมายเลข ขก. 2015 มาอีกประมาณ 5 กิโลเมตร จะ
มีสามแยก (หนองแสง) เลี้ยวขวาไปเขื่อนอุบลรัตนตามทางหลวงชนบทหมายเลข ขก. 4014 เดินทางผานบาน
หนองผือ และบานดอนกอก ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ก็จะถึงท่ีทําการอุทยานแหงชาติ ซึ่งตั้งอยูบนเชงิ
เขาดานขวามือ รวมระยะทางประมาณ 49 กโิ ลเมตร

2. จากขอนแกน-อําเภออุบลรัตน ตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 (ไปจังหวัดอุดรธานี) แยกซายเขา
อําเภออุบลรัตน ตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 2109 ถึงตัวอําเภอจะมีแยกเลี้ยวซายตามทางหลวงชนบท
หมายเลข ขก. 4014 (หนองแสง-ทาเรือ) เดินทางเลาะรมิ เข่ือนอุบลรัตนมาอีกประมาณ 20 กิโลเมตร ก็จะถึงที่
ทาํ การอทุ ยานฯ รวมระยะทางประมาณ 65 กโิ ลเมตร

สถานท่ีทองเท่ียว
1. อางเกบ็ น้ําเขื่อนอุบลรัตน
เปนจุดชมวิวทิวทัศนของอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน บริเวณหนาที่ทําการอุทยานแหงชาติ สามารถ

สัมผัสวิถีชีวิตของชาวประมงพ้ืนบานในยามเชา สวนยามเย็นชมความงดงามของตะวันลับขอบฟา ซึ่งบริเวณนี้
เหมาะสาํ หรับการพักผอ นหยอนใจ ต้ังแคมปพ กั แรม เลน นาํ้ ตลอดจนกิจกรรมสันทนาการตา ง ๆ

2. พลาญชาด หรอื ลานชาด
ลักษณะเปนลานหินกวาง มีพันธุไมเดน เรียกวา ตนชาด ขึ้นอยู และสามารถชมทัศนียภาพของผืนปาที่
สวยงามของอทุ ยานแหงชาตนิ ํ้าพอ
3. ผาจนั ได
ต้ังอยูบนเทือกเขาภูเม็ง ทองที่ตําบลคําแคน อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน เปนหนาผาที่มีกอนหิน
ต้งั อยู มรี ูปรา งแปลกตา ซง่ึ มีตนจนั ไดข้นึ อยู และสามารถชมทวิ ทัศนของผืนปาของเทือกเขาภุเม็งท่ีมีความอุดม
สมบรู ณท ี่งดงามยิง่ นัก

การสํารวจทรพั ยากรปาไม
พืน้ ทอี่ ุทยานแหง ชาติน้าํ พอง

4

4. หินชางสี
เปนประติมากรรมทางธรรมชาติที่วิจิตร ตระการตา ซึ่งธรรมชาติไดปรุงแตงผืนปาอันเขียวขจีแทรกอยูกับ
กลุมหินทรายขนาดใหญ รูปรางแปลกตา ประวัติความเปนมาของหินชางสี แตเดิมพื้นท่ีปาแหงนี้ มีความอุดม
สมบูรณ มีชา งปา และสัตวปานานาชนิดอาศัยอยูเ ปนจํานวนมาก โดยพบโปงดนิ ทม่ี ีรอยแทะกนิ ของสตั ว และท่ีบรเิ วณ
โขดหนิ ทีม่ รี อยแทะกนิ ของสตั ว มีรองรอยโคลนดินและขนชาง ทเี่ กิดจากการเสียดสีผวิ หนงั ของชางปา เปนทมี่ า
ของชื่อ หินชางสี มาจนถึงปจจุบัน ซึ่งมีจุดทองเท่ียวท่ีนาสนใจในบริเวณนี้ ไดแก กลุมหินชางสี จุดชมวิวหินหัว
กะโหลก โปงธรรมชาติ นาํ้ ในโพรงหิน และภาพเขยี นสสี ลักกอนประวัติศาสตร
5. ผาสวรรค
เปนลานหินขนาดใหญยื่นออกไป ทอดตัวในแนวทิศเหนือและทิศตะวันตก ถือไดวาเปนจุดชมวิว
ทิวทัศนท่ีสวยงามไมแพหินชา งสี อยูหางจากหินชางสีไปทางทิศเหนอื ประมาณ 2-3 กิโลเมตร โดยการเดินเทา
สามารถชมทวิ ทศั นของอา งเกบ็ นํา้ เขือ่ นอบุ ลรัตนแ ละผืนปาทีส่ วยงาม
6. ถาํ้ ชาง
ตั้งอยูบนเทือกเขาภูพานคํา ทองท่ีตําบลทุงโปง อําเภออุบลรัตน จังหวัดขอนแกน เปนพลาญหินกวาง ใจ
กลางเปนบอ น้าํ ซับมีนํา้ อยตู ลอดป สามารถรับประทานได นอกจากน้ียังมีถํ้าหินทราย สูง 7-8 เมตร
7. สวนหนิ ปะการัง
ตั้งอยูเทือกเขาภูพานคํา ทองท่ีตําบลโคกงาม อําเภอบานฝาง จังหวัดขอนแกน เปนลานหินกวาง ที่มี
ลักษณะหินท่ีเกิดจากการกัดกรอนของธรรมชาติ ซึ่งเปนประติมากรรมทางธรณีที่สวยงาม อยูหางจากหินชางสี
ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ทางดานทศิ เหนอื
8. นํ้าตกหวยเข
ต้ังอยูบนเทือกเขาภูเม็ง ทองที่ตําบลคําแคน อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน ซึ่งอยูในความ
รับผิดชอบของหนวยพิทักษอุทยานฯ (ช่ัวคราว) ท่ี นพ. 3 เปนนํ้าตกท่ีเกิดจากลําหวยยางและลําหวยกุดบาก
ไหลมารวมเปนลําหวยเข สามารถเที่ยวชมน้ําตก เลนนํ้า พักผอนหยอนใจ ศึกษาธรรมชาติและจัดกิจกรรม
นนั ทนาการตา ง ๆ

รปู แบบและวิธีการสํารวจทรัพยากรปา ไม

การสมุ ตวั อยา ง (Sampling Design)

ในการสํารวจทรัพยากรปาไม ใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเปนระบบ (Systematic Sampling) โดย
วางแปลงตัวอยาง (Sample plot) แบบวงกลมขนาด 0.1 เฮกแตร ระยะ 2.5x2.5 กิโลเมตร ทั่วท้ังพ้ืนที่ โดย
เริ่มจากการสุมแปลงตัวอยางแรกลง ณ จุดตัดของเสนกริด (Grid) บนแผนท่ีประเทศไทย มาตราสวน 1 : 50,000 ซ่ึง
เปน พืน้ ที่ท่ีภาพถา ยดาวเทียมแปลวามีสภาพเปน ปา ลักษณะของแปลงตัวอยางแสดงดงั ภาพที่ 9

การสํารวจทรัพยากรปา ไม
พนื้ ท่อี ทุ ยานแหงชาตินา้ํ พอง

5

ภาพท่ี 1 รปู แบบและขนาดของแปลงตัวอยา ง
รปู แบบและขนาดของแปลงตวั อยาง (Plot Design)

แปลงตวั อยา ง (Sample Plot) ท่ีใชในการสาํ รวจมีทงั้ แปลงตัวอยางถาวรและแปลงตวั อยางชั่วคราวเปน
แปลงทม่ี ีขนาดคงที่ (Fixed Area Plot) และมีรูปรา ง 2 ลักษณะดวยกนั คือ

1. รปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รปู วงกลมท่ีมจี ดุ ศูนยก ลางรว มกัน รัศมีแตกตางกันจาํ นวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62 และ
17.84 เมตร ตามลาํ ดับ
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเทากัน จุดศูนยกลางตางกันจํานวน 4 วงรัศมี 0.631 เมตร เทากัน โดยจุด
ศนู ยก ลางของวงกลมอยูบนเสนรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ท้งั 4 ทิศ
2. แบบเสนตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เสน ความยาวเสนละ 17.84 เมตร โดยมีจดุ เรม่ิ ตนรว มกัน
ณ จุดศูนยกลางแปลงตวั อยาง ทาํ มุมฉากซง่ึ กันและกัน ซึง่ คา มุม Azimuth ของเสน ท่ี 1 ไดจากการสมุ ตวั อยาง

การสํารวจทรัพยากรปา ไม
พืน้ ท่อี ทุ ยานแหง ชาตินํ้าพอง

6

ขนาดของแปลงตวั อยางและขอมลู ท่ที าํ การสํารวจ

ขนาดของแปลงตัวอยาง และขอมลู ที่ทาํ การสํารวจแสดงรายละเอียดไวใ นตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตัวอยางและขอมูลท่ดี าํ เนินการสาํ รวจ

รัศมีของวงกลม หรือ จาํ นวน พน้ื ท/่ี ความยาว ขอมลู ทสี่ าํ รวจ
ความยาว (เมตร)

0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร กลา ไม (Seedling)

3.99 1 วง 0.005 เฮกตาร ลกู ไม (Sapling) และการปกคลมุ พืน้ ท่ีของกลาไม

(Seedling) และลกู ไม (Sapling)

12.62 1 วง 0.05 เฮกตาร ไผ หวายที่ยังไมเ ล้อื ย และตอไม

17.84 1 วง 0.1 เฮกตาร ตนไมและตรวจสอบปจ จยั ท่รี บกวนพ้ืนที่ปา

17.84 (เสน ตรง) 2 เสน 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลอ้ื ย

และไมเถาทพ่ี าดผาน

การวิเคราะหขอ มลู การสาํ รวจทรัพยากรปาไม

1. การคาํ นวณเนื้อทปี่ าและปริมาณไมทัง้ หมด

1.1 ใชขอมลู พ้ืนทจี่ ากแผนทแี่ นบทายกฤษฎกี า

1.2 ใชสัดสวนชนิดปาจากแปลงตัวอยางที่สํารวจพบ เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอยางทัง้ หมด
ในพน้ื ที่

1.3 ในกรณีท่ีไมสามารถเขาถึงแปลงตัวอยางได ใหประเมินสภาพพ้ืนที่ของแปลงตัวอยางจากภาพถาย
ดาวเทยี มหรือภาพถา ยทางอากาศ แลว นํารวมกันเพอ่ื คํานวณเปนเนือ้ ท่ีปา แตละชนดิ

1.4 ปรมิ าณไมท ้งั หมดของพ้ืนท่ี เปนการประมาณโดยใชขอ มูลพื้นท่ีจากแผนท่ีแนบทา ยกฤษฎกี า

2. การคํานวณปรมิ าตรไม

สมการปริมาตรไมที่ใชในการประเมินการกักเก็บธาตุคารบอนในพื้นที่ปาไม แบบวิธี Volume based
approach โดยแบงกลุมของชนิดไมเ ปน จํานวน 7 กลมุ ดงั นี้

กลุมที่ 1 ไดแก ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไขเขียว พะยอม จันทนกะพอ
สนสองใบ

ใชสมการ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

กลุมที่ 2 ไดแก กระพี้จั่น กระพ้ีเขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลยเปรียง พะยูง ชิงชัน กระพ้ี
ถอ น แดง ขะเจาะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ

ใชสมการ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)

การสํารวจทรัพยากรปา ไม
พน้ื ท่ีอทุ ยานแหงชาตนิ ้ําพอง

7

R2 = 0.91, sample size = 135

กลุมที่ 3 ไดแก รกฟา สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอาย กระบก ตะคร้ํา ตะครอ
ตาเสือ คางคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอน เลี่ยน มะฮอกกานี ข้ีอาย ตะบูน ตะบัน รัก ติ้ว สะแกแสง ปู
เจา และไมสกุลสา น เสลา อินทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค

ใชสมการ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

กลุมที่ 4 ไดแก กางขี้มอด คูน พฤกษ มะคาโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามปา หลุมพอ และสกุล
ข้ีเหล็ก

ใชส มการ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

กลมุ ท่ี 5 ไดแก สกุลประดู เติม
ใชส มการ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 99

กลุม ที่ 6 ไดแก สัก ตนี นก ผาเสี้ยน หมากเลก็ หมากนอ ย ไขเนา กระจับเขา กาสามปก สวอง
ใชส มการ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 186

กลุมที่ 7 ไดแก ไมชนิดอ่ืน ๆ เชน กุก ขวาว ง้ิวปา ทองหลางปา มะมวงปา ซอ โมกมัน แสมสาร และ
ไมใ นสกลุ ปอ กอ เปลา เปนตน

ใชส มการ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยท่ี V คือ ปริมาตรสวนลําตน เมื่อตัดโคน ทีค่ วามสงู เหนือพน้ื ดนิ (โคน) 10 เซนติเมตร
ถงึ กงิ่ แรกท่ีทําเปนสินคาได มีหนวยเปนลูกบาศกเมตร

DBH มหี นว ยเปนเซนติเมตร
ln = natural logarithm

3. ขอมูลท่ัวไป

ขอมูลท่ัวไปท่ีนําไปใชประกอบการวิเคราะห ไดแก ตําแหนงแปลง ชวงเวลาท่ีเก็บขอมูล ผูที่ทําการเก็บ
ขอมูล ความสูงจากระดับนํ้าทะเล และสภาพปา เปนตน โดยขอมูลเหลาน้ีจะใชประกอบในการวิเคราะหและ
ประเมินผลรวมกับขอมูลดานอ่ืน ๆ เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และทรัพยากรปาไมในการสํารวจ
ครัง้ ตอ ไป

การสาํ รวจทรัพยากรปา ไม
พืน้ ท่อี ทุ ยานแหง ชาตินํ้าพอง

8

4. การวิเคราะหขอมูลองคประกอบของหมูไม
4.1 ความหนาแนน
4.2 ปริมาตร
4.3 ขอ มูลชนิดและปรมิ าณของลกู ไม (Sapling)
4.4 ขอมูลชนดิ และปริมาณของกลา ไม (Seedling)

5. การวเิ คราะหข อมลู ชนดิ และปริมาณของไมไผ หวาย
5.1 ความหนาแนน ของไมไ ผ (จาํ นวนกอ และ จํานวนลํา)
5.2 ความหนาแนน ของหวายเสนต้ัง (จํานวนตน)

6. การวิเคราะหข อ มูลสังคมพืช
การวิเคราะหขอมูลสังคมพืชในดานความถี่ (Frequency) ความหนาแนน (Density) ความเดน

(Dominance) และความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Important value index, IVI) โดยมีรายละเอียดการวิเคราะห
ขอ มูลดังนี้

6.1 ความหนาแนนของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนตนทั้งหมดของไมแตละชนิด ท่ีพบในแปลง
ตวั อยา งตอ เนื้อท่ีของพื้นDทaี่ท่ีทาํ กา=รสํารวจ จํานวนตน ทงั้ หมดของไมช นิดนัน้ .

พนื้ ท่ีแปลงตัวอยางท้ังหมดทีท่ ําการสาํ รวจ
6.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตรารอยละของจํานวนแปลงตัวอยางที่พบพันธุไมชนิดน้ัน ตอ
จาํ นวนแปลงทัง้ หมดทที่ าํ การสํารวจ

Fa = จํานวนแปลงตวั อยางที่พบไมชนิดทีก่ าํ หนด X 100
จาํ นวนแปลงตัวอยา งทั้งหมดท่ีทาํ การสาํ รวจ

6.3 ความเดน (Dominance : Do) ใชความเดนดานพ้ืนที่หนาตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พ้นื ทห่ี นาตดั ของตน ไมท ่ีระดับ1.30 เมตรตอพน้ื ท่ีทท่ี าํ การสํารวจ

Do = พน้ื ท่ีหนา ตดั ท้ังหมดของไมช นิดที่กาํ หนด X 100
พนื้ ท่ีแปลงตวั อยา งที่ทาํ การสาํ รวจ

6.4 คาความหนาแนนสัมพัทธ (Relative Density : RD) คือ คาความสัมพัทธของความหนาแนนของไม
แตละชนิดตอ คาความหนาแนน ของไมท ุกชนิดในแปลงตวั อยาง คดิ เปน รอยละ

RDa = ความหนาแนน ของไมชนิดน้ัน X 100
ความหนาแนน รวมของไมทุกชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา ไม
พื้นทอ่ี ุทยานแหง ชาตนิ ํ้าพอง

9

6.5 คาความถ่ีสัมพัทธ (Relative Frequency: RF) คือ คาความสัมพัทธของความถ่ีของแตละชนิดไม
ตอ คา ความถที่ ้ังหมดของไมทกุ ชนดิ ในแปลงตวั อยาง คิดเปน รอยละ

RFa = ความถี่ของไมชนดิ นน้ั X 100
6.6 คาความเดนสัมพัทธ (RelคaวtาivมeถD่ีรวoมmขiอnงaไnมcทeกุ :ชRนDดิ o) คือ คาความสัมพันธของความเดนในรูป
พ้ืนทห่ี นา ตัดของไมแ ตล ะชนดิ ตอความเดน รวมของไมทกุ ชนดิ ในแปลงตัวอยา ง คิดเปนรอยละ

RDoa = ความเดน ของไมชนดิ นนั้ X 100
ความเดน รวมของไมทกุ ชนดิ

6.7 คาดัชนคี วามสาํ คัญของชนิดไม (Importance Value Index: IVI) คอื ผลรวมของคาความสมั พัทธ
ตาง ๆ ของชนดิ ไมในสงั คมพืชประกอบดว ย คา ความสัมพัทธดา นความหนาแนน คาความสัมพัทธด านความถ่ี
และคา ความสัมพัทธดานความเดน

IVI = RD + RF + RDo
7. วเิ คราะหขอ มูลเกีย่ วกับความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยทาํ การวเิ คราะหค าตาง ๆ ดงั น้ี

7.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ (Species Diversity) คิดจากจํานวนชนิดพันธุที่ปรากฏในสังคม
และจํานวนตน ท่ีมีในแตล ะชนิดพนั ธุ โดยใชด ัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of Diversity
ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซึง่ มีสตู รการคํานวณดังตอ ไปน้ี

โดย H คือ คาดัชนคี วามหลากชนดิ ของชนิดพนั ธุไ ม
Pi คอื สดั สว นระหวางจํานวนตนไมช นิดท่ี i ตอจาํ นวนตน ไมทงั้ หมด
S คือ จํานวนชนดิ พนั ธไุ มทัง้ หมด

7.2 ความรํา่ รวยของชนดิ พันธุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธร ะหวา งจาํ นวนชนิดกับจํานวน
ตนท้ังหมดท่ีทําการสํารวจ ซึ่งจะเพิ่มข้ึนเม่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีแปลงตัวอยาง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยมใชกัน คือ วิธี
ของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการคํานวณ
ดังนี้

(1) Margalef Index (R1)
R1 = (S-1)
ln(n)

(2) Menhinick Index (R2)

R2 = S


การสํารวจทรพั ยากรปาไม
พื้นทอี่ ทุ ยานแหงชาติน้าํ พอง

10

เม่อื S คือ จาํ นวนชนิดทง้ั หมดในสงั คม
n คือ จาํ นวนตนท้งั หมดที่สํารวจพบ

7.3 ความสม่ําเสมอของชนดิ พันธุ (Evenness Indices) เปนดัชนีที่ตั้งอยูบนสมมติฐานท่ีวา ดัชนีความ
สมํ่าเสมอจะมีคามากท่ีสุดเมื่อทุกชนิดในสังคมมีจํานวนตนเทากันท้ังหมด ซ่ึงวิธีการท่ีนิยมใชกันมากในหมูนัก
นิเวศวทิ ยา คือ วิธีของ Pielou (1975) ซ่ึงมีสูตรการคาํ นวณดังนี้

E = H/ ln(S)
= ln (N1)/ln (N0)

เม่ือ H คือ คา ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จํานวนชนดิ ทัง้ หมด (N0)
N1 คอื eH

ผลการสํารวจและวิเคราะหขอ มลู ทรัพยากรปาไม

1. แปลงตัวอยาง
ทําการวางแปลงตัวอยางแบบวงกลม ขนาด 0.1 เฮกแตร ระยะหาง 2.5x2.5 กิโลเมตร กระจาย

ครอบคลุมพน้ื ที่อทุ ยานฯ (123,125 ไร หรือ 197 ตารางกโิ ลเมตร) จาํ นวนท้งั สิ้น 33 แปลง แสดงดังภาพที่ 2

ภาพท่ี 2 พิกดั ตาํ แหนง แปลงตวั อยาง

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พื้นทีอ่ ุทยานแหง ชาตินาํ้ พอง

11

2. พ้นื ทีป่ า ไม
จากผลการสํารวจ สามารถจําแนกสภาพพ้ืนท่ีปา ได 4 ประเภท ดังนี้ ปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ ปา

เต็งรัง และทุงหญา แสดงดังภาพท่ี 3 โดยปาเบญจพรรณและปาเต็งรังพบมากท่ีสุด มีพ้ืนที่เทากันคือ 89.55
ตารางกโิ ลเมตร (55,965.91 ไร) คิดเปนรอ ยละ 45.45 ของพื้นที่ท้ังหมด รองลงมา คือ ปาดบิ แลง มพี นื้ ท่ี 11.94
ตารางกิโลเมตร (7,462.12 ไร) คิดเปนรอยละ 6.06 ของพื้นท่ีทั้งหมด และปาฟนฟูตามธรรมชาติ มีพ้ืนท่ี 5.97
ตารางกิโลเมตร (3,731.06 ไร) คิดเปน รอยละ 3.03 ของพื้นท่ีท้งั หมด แสดงดังตารางที่ 2

ภาพที่ 3 พนื้ ที่ปา ไมจ าํ แนกตามลกั ษณะการใชประโยชนท่ดี ินในพน้ื ท่ีอุทยานแหงชาตินํา้ พอง

ตารางท่ี 2 พื้นทีป่ าไมจําแนกตามลกั ษณะการใชป ระโยชนทด่ี นิ (Area by Landuse Type)

ลักษณะการใชป ระโยชนท ่ีดนิ พื้นท่ี รอยละ

(Landuse Type) ตร.กม. ไร เฮกแตร ของพื้นทีท่ ง้ั หมด

ปาดิบแลง 11.94 7,462.12 1,193.94 6.06

(Dry Evergreen Forest)

ปา เบญจพรรณ 89.55 55,965.91 8,954.55 45.45

(Mixed Deciduous Forest)

ปา เตง็ รัง 89.55 55,965.91 8,954.55 45.45

(Dry Dipterocarp Forest)

ปา ฟน ฟตู ามธรรมชาติ 5.97 3,731.06 596.97 3.03

(Regrowth Forest)

รวม 197.01 23,125.00 19,700.01 100.00

หมายเหตุ เนอื้ ทป่ี า แตละชนิดคํานวณจากสดั สวนของขอ มูลแปลงตัวอยางที่พบจากการสาํ รวจภาคสนาม

และใชพ นื้ ทแ่ี นบทายกฤษฎีกาของอทุ ยานแหง ชาตนิ ้ําพอง เทากับ 197 ตารางกิโลเมตร หรอื 123,125 ไร

ในการคาํ นวณหาพน้ื ทช่ี นิดปา

การสาํ รวจทรัพยากรปา ไม
พ้นื ทอ่ี ุทยานแหงชาตนิ าํ้ พอง

12

ภาพที่ 4 ลกั ษณะของปา ดิบแลงที่สํารวจพบในพนื้ ทอ่ี ุทยานแหงชาตินํ้าพอง

การสาํ รวจทรัพยากรปา ไม
พ้ืนทอี่ ุทยานแหงชาตินํ้าพอง

13

ภาพท่ี 5 ลกั ษณะของปา เบญจพรรณที่สาํ รวจพบในพื้นทอี่ ทุ ยานแหงชาติน้ําพอง

การสาํ รวจทรัพยากรปาไม
พ้นื ทีอ่ ุทยานแหง ชาตินํา้ พอง

14

ภาพที่ 6 ลกั ษณะของปาเตง็ รังที่สํารวจพบในพนื้ ทอ่ี ุทยานแหงชาตินํ้าพอง

การสํารวจทรัพยากรปา ไม
พ้ืนทอ่ี ุทยานแหง ชาตินํ้าพอง

15

ภาพท่ี 7 ลกั ษณะของปาฟนฟูตามธรรมชาติทีส่ าํ รวจพบในพน้ื ที่อทุ ยานแหงชาตนิ า้ํ พอง

การสํารวจทรพั ยากรปา ไม
พ้นื ที่อทุ ยานแหงชาตนิ ํา้ พอง

16

3. ปรมิ าณไม

ในการประเมินปริมาณ ปริมาตร และความหนาแนนของหมูไมในพื้นท่ีอุทยานฯ พบวา ไมยืนตนที่มี
ความสูงมากกวา 1.30 เมตร และมีขนาดเสนรอบวงเพียงอก (GBH) ตั้งแต 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวนมากกวา
147 ชนิด รวม 17,294,212 ตน คิดเปนปริมาตรไม 1,680,323.97 ลูกบากศเมตร มีความหนาแนนของหมูไม
เฉลี่ย 140.46 ตนตอไร คิดเปนปริมาตรไมเฉลี่ย 13.65 ลูกบาศกเมตรตอไร ปาเต็งรังเปนปาท่ีมีปริมาณไมมาก
ที่สุดประมาณ 9,587,333 ตน รองลงมา ไดแก ปาเบญจพรรณ มีจํานวน 6,375,636 ตน สําหรับปริมาตรไม
พบวา ปาเต็งรังมีปริมาตรมากท่ีสุด ประมาณ 957,217.73 ลูกบาศกเมตร รองลงมา ไดแก ปาเบญจพรรณ
จาํ นวน 576,371.78 ลกู บาศกเมตร แสดงดังตารางท่ี 3 และ 4 ตามลาํ ดบั

ตารางที่ 3 ปริมาณไมท ั้งหมดตามลักษณะการใชป ระโยชนท ีด่ ินในอทุ ยานแหงชาตินํา้ พอง

(Volume by Landuse type)

ลกั ษณะการใชป ระโยชนท ด่ี ิน ปรมิ าณไมท ัง้ หมด

(Landuse Type) จาํ นวน (ตน) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)

ปาดบิ แลง 1,307,364 145,197.80

(Dry Evergreen Forest)

ปา เบญจพรรณ 6,375,636 576,297.09

(Mixed Deciduous Forest)

ปาเตง็ รงั 9,587,333 957,138.03

(Dry Dipterocarp Forest)

ปาฟนฟตู ามธรรมชาติ 23,879 1,782.93

(Regrowth Forest)

รวม 17,294,212 1,680,415.85

ภาพท่ี 8 ปริมาณไมท ง้ั หมดท่พี บในอุทยานแหง ชาตนิ ้ําพอง

การสาํ รวจทรัพยากรปาไม
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง ชาติน้ําพอง

17

ภาพท่ี 9 ปริมาตรไมท้ังหมดในอทุ ยานแหง ชาตินํา้ พอง

ตารางท่ี 4 ความหนาแนน และปริมาตรไมตอหนวยพื้นที่จาํ แนกตามลกั ษณะการใชป ระโยชนท ่ีดิน

ในอุทยานแหงชาตินํ้าพอง (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลักษณะการใชประโยชนท ด่ี ิน ความหนาแนน ปรมิ าตร

(Landuse Type) ตน/ไร ตน /เฮกตาร ลบ.ม./ไร ลบ.ม./เฮกตาร

ปาดิบแลง 175.20 1,095.00 19.46 121.41

(Dry Evergreen Forest)

ปา เบญจพรรณ 113.92 712.00 10.30 64.37

(Mixed Deciduous Forest)

ปา เตง็ รัง 171.31 1,070.67 17.10 106.90

(Dry Dipterocarp Forest)

ปาฟนฟูตามธรรมชาติ 6.40 40.00 0.48 2.99

(Growth Forest)

เฉล่ยี 140.46 877.88 13.65 85.30

การสาํ รวจทรพั ยากรปาไม
พนื้ ที่อุทยานแหงชาตนิ ํา้ พอง

18

ความหนานแน่นตน้ ไม้ตอ่ หน่วยพ�นื ท�ีจําแนกตามลั
ในอุทยานแหง่ ชาตนิ ํ�าพอง

200.00 175.20 171.31
180.00
ความหนาแ( ่น้ต /นไ ่ร) 160.00 113.92
140.00
120.00 6.40
100.00 ป่าฟืน� ฟตู ามธรรมชาติ
80.00
60.00
40.00
20.00

0.00

ป่าดบิ แล้ง ปา่ เบญจพรรณ ป่าเตง็ รัง

ภาพที่ 10 ความหนาแนนของไมทั้งหมดในอุทยานแหงชาติน้ําพอง

ปริมาตรไม้ต่อหนว่ ยพน�ื ที�จาํ แนกตามลักษณะการใ

ในอทยานแหง่ ชาตนิ �าํ พอง

20.00 19.46 17.10
18.00

16.00

ป ิรมา (ตลร.บม./ไ)่ร 14.00

12.00 10.30
10.00

8.00

6.00

4.00

2.00 0.48
0.00

ปา่ ดิบแล้ง ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรงั ป่าฟื�นฟูตามธรรมชาติ

ภาพที่ 11 ปริมาตรไม (ลบ.ม./ไร) ในพื้นท่ีอุทยานแหง ชาตนิ ํา้ พอง

การสาํ รวจทรพั ยากรปาไม
พื้นที่อุทยานแหงชาติน้ําพอง

19

ตารางที่ 5 การกระจายของตน ไมใ นแตละชวงขนาดความโต

ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไมท ัง้ หมด (ตน ) รอยละ (%)
71.45
15 - 45 ซม. 12,357,273 26.82
1.73
> 45 - 100 ซม. 4,638,455
100.00
>100 ซม. 298,485

รวม 17,294,212

26.82% การกระจายของตน้ ไม้ในแตล่ ะช(่วGBงHข)นาด
ในอทยานแหง่ ชา(ต%ิน) ํา� พอง

1.73%

ความโ1ต5- 45ซม.
ความโ>ต45- 100ซม.
ความโ>ต100ซม.

71.45%

ภาพท่ี 12 การกระจายของตนไมใ นแตล ะชว งขนาดความโต

4. ชนิดพันธุไม

พันธุไ มจ ําแนกโดยเจาหนาที่ทท่ี ําการสํารวจและคนในพ้ืนที่ที่มาชวยเก็บขอมลู ซงึ่ บางครงั้ อาจจะไดชื่อ
ประจําถนิ่ หรือชื่อพน้ื เมือง และในกรณีท่ีไมส ามารถจาํ แนกชนิดไดจะทําการเก็บตัวอยางชนิดพันธุไมนน้ั ๆ แลว
นํามาใหผูเชี่ยวชาญดานพันธุไมของสํานักหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ชวยจําแนกชื่อ
วิทยาศาสตรท ีถ่ กู ตองใหต อ ไป

ผลการสาํ รวจทรพั ยากรปา ไมในพื้นท่ีอุทยานแหง ชาตินาํ้ พองในป 2557

1. พบชนิดพันธุไม 47 วงศ มากกวา 148 ชนิด มีปริมาณไมรวม 17,294,212 ตน คิดเปนปริมาตร
ไมรวม 1,680,415.85 ลูกบาศกเมตร หมูไมมีคาความหนาแนนเฉล่ีย 140.46 ตนตอไร มีปริมาตรไมเฉล่ีย
13.65 ลูกบาศกเ มตรตอไร

ชนิดไมท่ีมีปริมาตรมาก 10 ลําดับแรก ไดแก ประดู (Pterocarpus macrocarpus) เต็ง (Shorea
obtusa) รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) รักใหญ
(Gluta usitata) กระบก (Irvingia malayana) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) สาธร (Millettia
leucantha) และ มะคา โมง (Afzelia xylocarpa) ตามลําดับแสดงในตารางท่ี 6

การสาํ รวจทรัพยากรปาไม
พื้นท่อี ทุ ยานแหงชาตนิ ้าํ พอง

20

2. ปา ดิบแลง มปี ริมาณไมร วม 1,307,364 ตน คดิ เปนปริมาตรไมร วม 145,197.80 ลกู บาศกเ มตร มีคา
ความหนาแนน เฉลย่ี 175.20 ตนตอไร มีปรมิ าตรไมเฉล่ีย 19.46 ลูกบาศกเ มตรตอไร

ชนิดไมที่มีปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ไดแก คอแลน (Nephelium hypoleucum) จิกดง
(Barringtonia pauciflora) อบเชย (Cinnamomum bejolghota) แกว (Murraya paniculata) มะนาวผี
(Atalantia monophylla) ยางโดน (Polyalthia asteriella) ปออีเกง (Pterocymbium tinctorium) ตะเคียนหิน
(Hopea ferrea) คําแสด (Mallotus philippensis) และตะเคยี นทอง (Hopea odorata) แสดงในตารางที่ 7

3. ปาเบญจพรรณ มปี รมิ าณไมร วม 6,375,636 ตน คิดเปน ปริมาตรไมรวม 576,297.09 ลูกบาศกเมตร มีคา
ความหนาแนน เฉลยี่ 113.92 ตน ตอ ไร มปี ริมาตรไมเฉลยี่ 10.30 ลูกบาศกเมตรตอไร

ชนิดไมที่มีปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ไดแก ประดู (Pterocarpus macrocarpus) มะคาโมง
(Afzelia xylocarpa) มะกลํ่าตาไก (Adenanthera microsperma) แดง (Xylia xylocarpa) ยูคาลิปตัส
(Eucalyptus camaldulensis) ตะแบกแดง (agerstroemia calyculata) อะราง (Peltophorum dasyrachis)
กอกกัน (Rhus javanica) มะนาวผี (Atalantia monophylla) และ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) แสดงในตารางที่ 8

4. ปา เตง็ รัง มีปรมิ าณไมรวม 9,587,333 ตน มปี ริมาตร 957,138.03 ลกู บาศกเ มตร มีคาความ
หนาแนนเฉลี่ย 171.31 ตนตอไร มีปริมาตรไมเฉลย่ี 17.10 ลกู บาศกเมตรตอไร

ชนิดไมท่ีมีปริมาตรมาก 10 อนั ดบั แรก ไดแ ก เตง็ (Shorea obtusa) รงั (Shorea siamensis) ประดู
(Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) รักใหญ (Gluta
usitata) กระบก(Irvingia malayana) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) ส าธ ร (Millettia
leucantha) และ มะเกลอื เลอื ด (Terminalia mucronata) แสดงในตารางที่ 9

5. ปา ฟน ฟตู ามธรรมชาติ มีปริมาณไมรวม 23,879 ตน คิดเปนปริมาตรเทากับ 1,782.93 ลูกบาศกเมตร
มีคา ความหนาแนนเฉลีย่ 6.40 ตนตอไร มปี ริมาตรไมเฉล่ีย 0.48 ลกู บาศกเมตรตอไร

ชนิดไมที่มีปริมาตรไมมากท่ีสุด ไดแก โมกมัน (Wrightia arborea) รองลงมา คือ ลาย (Microcos
paniculata) แสดงในตารางที่10

6. ลูกไม (Sapling) มีมากกวา 51 ชนิด รวมท้ังส้ิน 21,371,515 ตน มีความหนาแนนเฉลี่ย 173.58
ตน ตอไร

ลูกไมที่มีปริมาณมาก 10 อันดับแรก ไดแก มะนาวผี (Atalantia monophylla) เต็ง (Shorea
obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) รัง (Shorea siamensis) เส้ียวปา (Bauhinia saccocalyx) ตะเคียนหนู
(Anogeissus acuminata) เส้ียวใหญ (Bauhinia malabarica) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) เข็มปา
(Ixora cibdela) และชงโค (Bauhinia purpurea) แสดงดงั ตารางท่ี 11

การสํารวจทรพั ยากรปาไม
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหงชาตนิ ้ําพอง

21
7. กลาไม (Seedling) มีมากกวา 72 ชนิด รวมท้ังสิ้น 644,727,273 ตน มีความหนาแนน 5236.36
ตน ตอไร
กลาไมที่มีปริมาณมาก 10 อันดับแรก ไดแก ปอพราน (Colona auriculata) แดง (Xylia xylocarpa)
คําแสด (Mallotus philippensis) เต็ง (Shorea obtusa) สาธร (Millettia leucantha) คนั แหลม (Spathiostemon
moniliformis) มะนาวผี (Atalantia monophylla) เหียง (Ficus hispida) ลาย (Microcos paniculata)
และตีนนก (Vitex pinnata) แสดงในตารางที่ 12
8. ไผ (Bamboo) สํารวจพบ 4 ชนิด ไดแก ไผซาง (Dendrocalamus strictus) ไผไร (Gigantochloa
albociliata) ไผรวก (Thyrsostachys siamensis) และไผปา (Bambusa bambos) มีปริมาณไมไผจํานวน
2,125,212 กอ รวมทัง้ ส้นิ 32,427,394 ลาํ แสดงในตารางที่ 13
9. ตอไม (Tree stump) พบมากกวา 23 ชนิด รวมทั้งส้ิน 1,158,121 ตอ มีความหนาแนน 9.41 ตอ
ตอไร ตอไมท่ีพบมาก ไดแก เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) และรักใหญ (Gluta usitata)
ตามลาํ ดบั แสดงในตารางท่ี 14

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พ้ืนท่อี ุทยานแหงชาตินาํ้ พอง

22

ตารางท่ี 6 ปริมาณไมท ้งั หมดของอทุ ยานแหงชาตนิ ํา้ พอง (30 ชนดิ แรกที่มปี ริมาตรไมสูงสุด)

ลําดบั ชนิดพันธไุ ม ช่ือวทิ ยาศาสตร ปริมาณไม ปริมาตรไม ความหนาแนน ปรมิ าตร
(ตน ) (ลบ.ม.) (ตน/ไร) (ลบ.ม./ไร)

1 ประดู Pterocarpus macrocarpus 1,170,061 160,482.68 9.50 1.30
1.30
2 เต็ง Shorea obtusa 1,104,394 160,090.86 8.97 1.18
0.95
3 รัง Shorea siamensis 973,061 144,895.42 7.90 0.59
0.52
4 แดง Xylia xylocarpa 1,904,333 117,027.42 15.47 0.47
0.37
5 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 746,212 72,942.14 6.06 0.29
0.26
6 รักใหญ Gluta usitata 937,242 63,911.20 7.61 0.23
0.23
7 กระบก Irvingia malayana 262,667 57,835.41 2.13 0.23
0.19
8 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 417,879 45,870.74 3.39 0.18
0.18
9 สาธร Millettia leucantha 591,000 35,189.45 4.80 0.18
0.17
10 มะคาโมง Afzelia xylocarpa 137,303 32,175.56 1.12 0.16
0.14
11 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 202,970 28,621.75 1.65 0.14
0.13
12 ยคู าลิปตัส Eucalyptus camaldulensis 143,273 28,479.89 1.16 0.12
0.11
13 มะกลํา่ ตาไก Adenanthera microsperma 167,152 28,446.44 1.36 0.11
0.10
14 พฤกษ Albizia lebbeck 95,515 23,839.11 0.78 0.10
0.09
15 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 250,727 22,764.60 2.04 0.09
0.09
16 กอกกัน Rhus javanica 185,061 22,711.51 1.50 3.42

17 มะนาวผี Atalantia monophylla 280,576 21,568.94 2.28 13.65

18 อะราง Peltophorum dasyrachis 173,121 20,880.02 1.41

19 ง้วิ ปา Bombax anceps 173,121 19,575.63 1.41

20 คอแลน Nephelium hypoleucum 155,212 17,654.73 1.26

21 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 89,545 17,315.96 0.73

22 ขวาว Haldina cordifolia 208,939 16,025.42 1.70

23 ฉนวน Dalbergia nigrescens 226,848 14,862.84 1.84

24 ตีนนก Vitex pinnata 125,364 13,365.75 1.02

25 ยางโดน Polyalthia asteriella 41,788 13,000.47 0.34

26 แคหางคาง Fernandoa adenophylla 244,758 12,744.85 1.99

27 คาํ รอก Ellipanthus tomentosus 77,606 12,743.86 0.63

28 จกิ ดง Barringtonia pauciflora 35,818 11,654.35 0.29

29 ตะครอ Schleichera oleosa 47,758 11,068.49 0.39

30 โมกมนั Wrightia arborea 155,212 10,987.44 1.26

31 อ่นื ๆ Others 5,969,697 421,682.93 48.48

รวม 17,294,212 1,680,415.85 140.46

หมายเหตุ : พันธุไมที่สาํ รวจพบมากกวา 148 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พื้นทอ่ี ทุ ยานแหง ชาตินา้ํ พอง

23

ตารางท่ี 7 ปริมาณไมใ นปา ดบิ แลง ของอุทยานแหง ชาตินํ้าพอง (30 ชนิดแรกท่มี ีปรมิ าตรไมส งู สดุ )

ลาํ ดับ ชนดิ พันธไุ ม ช่อื วิทยาศาสตร ปรมิ าณไม ปริมาตรไม ความหนาแนน ปริมาตร
(ตน ) (ลบ.ม.) (ตน/ไร) (ลบ.ม./ไร)

1 คอแลน Nephelium hypoleucum 143,273 16,886.32 19.20 2.26

2 จกิ ดง Barringtonia pauciflora 35,818 11,654.35 4.80 1.56

3 อบเชย Cinnamomum bejolghota 23,879 9,204.80 3.20 1.23

4 แกว Murraya paniculata 77,606 8,633.76 10.40 1.16

5 มะนาวผี Atalantia monophylla 83,576 6,723.62 11.20 0.90

6 ยางโดน Polyalthia asteriella 5,970 6,446.24 0.80 0.86

7 ปออีเกง Pterocymbium tinctorium 77,606 5,463.03 10.40 0.73

8 ตะเคยี นหนิ Hopea ferrea 17,909 5,130.80 2.40 0.69

9 คําแสด Mallotus philippensis 65,667 4,390.46 8.80 0.59

10 ตะเคยี นทอง Hopea odorata 107,455 3,512.71 14.40 0.47

11 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 5,970 2,869.95 0.80 0.38

12 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifolia 53,727 2,656.15 7.20 0.36

13 ซอ Gmelina arborea 17,909 2,478.61 2.40 0.33

14 กระดกู อ่ึง Dendrolobium triangulare 23,879 1,999.68 3.20 0.27

15 หวาขก้ี วาง Syzygium fruticosum 29,848 1,632.75 4.00 0.22

16 สะทอนรอก Elaeocarpus robustus 17,909 987.87 2.40 0.13

17 กลว ยนอ ย Xylopia vielana 23,879 827.24 3.20 0.11

18 ฝรัง่ ปา Rothmannia eucodon 11,939 809.37 1.60 0.11

19 เหมือดจ้ี Memecylon scutellatum 11,939 439.60 1.60 0.06

20 ขานาง Homalium tomentosum 5,970 345.50 0.80 0.05

21 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 5,970 148.71 0.80 0.02

22 พลองใบเล็ก Memecylon geddesianum 5,970 146.04 0.80 0.02

23 แสมสาร Senna garrettiana 5,970 138.22 0.80 0.02

24 สม กบ Hymenodictyon orixense 5,970 124.52 0.80 0.02

25 กระทงลอย Crypteronia paniculata 5,970 64.00 0.80 0.01

26 ลําบิด Diospyros vera 5,970 43.46 0.80 0.01

27 F.RUTACEAE F.RUTACEAE 95,515 10,134.76 12.80 1.36

28 Syzygium sp. Syzygium sp. 17,909 8,682.50 2.40 1.16

29 Diospyros sp. Diospyros sp. 53,727 2,477.38 7.20 0.33

30 F.TILIACEAE F.TILIACEAE 11,939 1,458.69 1.60 0.20

31 อ่ืนๆ Others 250,727 28,686.71 33.60 3.84

รวม 1,307,364 145,197.80 175.20 19.46

หมายเหตุ : พันธุไมท สี่ าํ รวจพบมากกวา 36 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรปาไม
พ้ืนท่ีอุทยานแหง ชาตินาํ้ พอง

24

ตารางท่ี 8 ปริมาณไมในปา เบญจพรรณของอุทยานแหงชาตนิ ้ําพอง (30 ชนิดแรกที่มปี ริมาตรไมสูงสุด)

ลําดบั ชนดิ พนั ธไุ ม ชือ่ วทิ ยาศาสตร ปรมิ าณไม ปรมิ าตรไม ความหนาแนน ปริมาตร
(ตน) (ลบ.ม.) (ตน/ไร) (ลบ.ม./ไร)

1 ประดู Pterocarpus macrocarpus 382,061 41,070.32 6.83 0.73

2 มะคา โมง Afzelia xylocarpa 137,303 32,175.56 2.45 0.57

3 มะกล่ําตาไก Adenanthera microsperma 167,152 28,446.44 2.99 0.51

4 แดง Xylia xylocarpa 376,091 26,026.53 6.72 0.47

5 ยคู าลิป Eucalyptus camaldulensis 95,515 23,331.36 1.71 0.42

6 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 250,727 22,764.60 4.48 0.41

7 อะราง Peltophorum dasyrachis 173,121 20,880.02 3.09 0.37

8 กอกกัน Rhus javanica 131,333 20,409.38 2.35 0.36

9 มะนาวผี Atalantia monophylla 197,000 14,845.32 3.52 0.27

10 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 83,576 14,446.02 1.49 0.26

11 พฤกษ Albizia lebbeck 77,606 13,875.32 1.39 0.25

12 แคหางคาง Fernandoa adenophylla 226,848 12,265.45 4.05 0.22

13 ฉนวน Dalbergia nigrescens 202,970 12,075.39 3.63 0.22

14 เต็ง Shorea obtusa 23,879 11,770.51 0.43 0.21

15 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 191,030 9,718.09 3.41 0.17

16 โมกมัน Wrightia arborea 125,364 9,286.48 2.24 0.17

17 งวิ้ ปา Bombax anceps 101,485 9,233.64 1.81 0.16

18 พะยูง Dalbergia cochinchinensis 41,788 8,902.89 0.75 0.16

19 มะคาแต Sindora siamensis 107,455 8,835.90 1.92 0.16

20 กระพีจ้ ่ัน Millettia brandisiana 35,818 8,701.39 0.64 0.16

21 สาธร Millettia leucantha 83,576 8,167.83 1.49 0.15

22 กระบก Irvingia malayana 23,879 7,272.74 0.43 0.13

23 เขลง Dialium cochinchinense 35,818 6,730.41 0.64 0.12

24 หมีเหม็น Litsea glutinosa 17,909 6,600.20 0.32 0.12

25 เสีย้ วปา Bauhinia saccocalyx 125,364 6,591.34 2.24 0.12

26 ยางโดน Polyalthia asteriella 35,818 6,554.23 0.64 0.12

27 ยอปา Morinda coreia 65,667 6,550.25 1.17 0.12

28 หาด Artocarpus lacucha 41,788 6,524.70 0.75 0.12

29 ขวาว Haldina cordifolia 119,394 6,397.46 2.13 0.11

30 เปอ ย Terminalia pedicellata 161,182 6,335.29 2.88 0.11

31 อ่นื ๆ Others 2,537,121 159,512.03 45.33 2.85

รวม 6,375,636 576,297.09 113.92 10.30

หมายเหตุ : พันธุไมท สี่ าํ รวจพบมากกวา 113 ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรปาไม
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง ชาตนิ ้ําพอง

25

ตารางท่ี 9 ปรมิ าณไมในปา เตง็ รังของอทุ ยานแหง ชาตนิ ํา้ พอง (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปรมิ าตรไมสูงสุด)

ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธไุ ม ช่ือวิทยาศาสตร ปรมิ าณไม ปริมาตรไม ความหนาแนน ปรมิ าตร
(ตน) (ลบ.ม.) (ตน/ไร) (ลบ.ม./ไร)

1 เตง็ Shorea obtusa 1,080,515 148,320.36 19.31 2.65

2 รัง Shorea siamensis 955,152 141,203.15 17.07 2.52

3 ประดู Pterocarpus macrocarpus 788,000 119,412.36 14.08 2.13

4 แดง Xylia xylocarpa 1,528,242 91,000.89 27.31 1.63

5 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 746,212 72,942.14 13.33 1.30

6 รักใหญ Gluta usitata 937,242 63,911.20 16.75 1.14

7 กระบก Irvingia malayana 238,788 50,562.66 4.27 0.90

8 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 352,212 39,610.77 6.29 0.71

9 สาธร Millettia leucantha 507,424 27,021.63 9.07 0.48

10 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata 125,364 24,147.33 2.24 0.43

11 ง้ิวปา Bombax anceps 71,636 10,341.99 1.28 0.18

12 พฤกษ Albizia lebbeck 17,909 9,963.79 0.32 0.18

13 ตะครอ Schleichera oleosa 35,818 9,925.53 0.64 0.18

14 เตง็ หนาม Bridelia retusa 101,485 9,842.54 1.81 0.18

15 ขวา ว Haldina cordifolia 89,545 9,627.97 1.6 0.17

16 ตนี นก Vitex pinnata 59,697 8,552.83 1.07 0.15

17 คํารอก Ellipanthus tomentosus 29,848 7,186.76 0.53 0.13

18 กอตลับ Quercus ramsbottomii 41,788 5,772.46 0.75 0.10

19 รกฟา Terminalia alata 35,818 5,582.83 0.64 0.10

20 สะเดาชาง Acrocarpus fraxinifolius 53,727 5,555.30 0.96 0.10

21 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 71,636 5,226.05 1.28 0.09

22 ยูคาลิป Eucalyptus camaldulensis 47,758 5,148.53 0.85 0.09

23 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri 53,727 4,693.05 0.96 0.08

24 พะยอม Shorea roxburghii 35,818 4,500.20 0.64 0.08

25 ฝห มอบ Beilschmiedia roxburghiana 53,727 4,249.44 0.96 0.08

26 อีแปะ Vitex quinata 41,788 4,090.35 0.75 0.07

27 สังหยูขาว Meiogyne virgata 35,818 3,706.35 0.64 0.07

28 โลด Aporosa villosa 59,697 3,552.11 1.07 0.06

29 มะมวงหวั แมงวนั Buchanania lanzan 59,697 3,060.53 1.07 0.05

30 ฉนวน Dalbergia nigrescens 23,879 2,787.45 0.43 0.05

31 อ่ืนๆ Others 1,307,364 55,639.49 23.39 0.98

รวม 9,587,333 957,138.04 171.36 17.06

หมายเหตุ : พนั ธไุ มท สี่ าํ รวจพบมากกวา 78 ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรปา ไม
พื้นทอ่ี ทุ ยานแหง ชาตนิ ํา้ พอง

26

ตารางท่ี 10 ปรมิ าณไมในปา ฟนฟูตามธรรมชาติของอุทยานแหงชาตินํา้ พอง

ลาํ ดบั ชนิดพันธุไม ชอ่ื วิทยาศาสตร ปรมิ าณไม ปรมิ าตรไม ความหนาแนน ปรมิ าตร
(ตน) (ลบ.ม./ไร)
(ลบ.ม.) (ตน /ไร)
0.38
1 โมกมัน Wrightia arborea 17,909 1,401.26 4.8 0.10

2 ลาย Microcos paniculata 5,969 381.67 1.6 0.48

รวม 23,878 1,782.93 6.4

ตารางท่ี 11 ชนดิ และปรมิ าณของลูกไม (Sapling) (30 ชนิดแรกท่มี ปี ริมาณไมส งู สดุ )

ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธไุ ม ชื่อวิทยาศาสตร ปริมาณลูกไมทั้งหมด

จาํ นวน (ตน ) ความหนาแนน (ตน /ไร)

1 มะนาวผี Atalantia monophylla 2,865,455 23.27

2 เต็ง Shorea obtusa 1,910,303 15.52

3 แดง Xylia xylocarpa 1,790,909 14.55

4 รัง Shorea siamensis 955,152 7.76

5 เส้ยี วปา Bauhinia saccocalyx 835,758 6.79

6 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 716,364 5.82

7 เสี้ยวใหญ Bauhinia malabarica 716,364 5.82

8 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 596,970 4.85

9 เข็มปา Ixora cibdela 596,970 4.85

10 ชงโค Bauhinia purpurea 477,576 3.88

11 ขวา ว Haldina cordifolia 477,576 3.88

12 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifolia 477,576 3.88

13 ตนี นก Vitex pinnata 477,576 3.88

14 งิว้ ปา Bombax anceps 358,182 2.91

15 แสมสาร Senna garrettiana 358,182 2.91

16 ปอพราน Colona auriculata 358,182 2.91

17 พลับพลา Microcos tomentosa 358,182 2.91

18 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 358,182 2.91

19 ปอเตา ไห Helicteres hirsuta 358,182 2.91

20 เคลด็ นํ้า Catunaregam longispina 358,182 2.91

21 สาธร Millettia leucantha 358,182 2.91

22 เลยี งมัน Berrya mollis 238,788 1.94

23 ปอแกน เทา Grewia eriocarpa 238,788 1.94

24 กกุ Lannea coromandelica 238,788 1.94

25 ประดู Pterocarpus macrocarpus 238,788 1.94

26 คันแหลม Spathiostemon moniliformis 238,788 1.94

27 กดั ล้นิ Walsura trichostemon 238,788 1.94

28 กระมอบ Gardenia obtusifolia 238,788 1.94

29 สะเดาชาง Acrocarpus fraxinifolius 119,394 0.97

30 โลด Aporosa villosa 119,394 0.97

31 อ่นื ๆ Others 3,701,212 30.06

รวม 21,371,515 173.58

หมายเหตุ : พันธุไ มท ่สี าํ รวจพบมากกวา 54 ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรปา ไม

พน้ื ท่อี ทุ ยานแหงชาตินาํ้ พอง

27

ตารางท่ี 12 ชนิดและปริมาณของกลาไม (Seedling) (30 ชนิดแรกท่ีมปี รมิ าณไมส ูงสุด)

ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธไุ ม ช่ือวิทยาศาสตร ปริมาณกลาไมท งั้ หมด

จํานวน (ตน) ความหนาแนน (ตน /ไร)

1 ปอพราน Colona auriculata 112,230,303 911.52

2 แดง Xylia xylocarpa 39,400,000 320.00

3 คําแสด Mallotus philippensis 38,206,061 310.30

4 เต็ง Shorea obtusa 33,430,303 271.52

5 สาธร Millettia leucantha 28,654,545 232.73

6 คนั แหลม Spathiostemon moniliformis 25,072,727 203.64

7 มะนาวผี Atalantia monophylla 22,684,848 184.24

8 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 22,684,848 184.24

9 ลาย Microcos paniculata 16,715,152 135.76

10 ตนี นก Vitex pinnata 14,327,273 116.36

11 ตาลเหลือง Ochna integerrima 14,327,273 116.36

12 เสยี้ วปา Bauhinia saccocalyx 13,133,333 106.67

13 สม กบ Hymenodictyon orixense 11,939,394 96.97

14 เส้ยี วใหญ Bauhinia malabarica 10,745,455 87.27

15 ประดู Pterocarpus macrocarpus 10,745,455 87.27

16 ตะครอ Schleichera oleosa 10,745,455 87.27

17 ฉนวน Dalbergia nigrescens 9,551,515 77.58

18 ขางหวั หมู Miliusa velutina 9,551,515 77.58

19 อะราง Peltophorum dasyrachis 9,551,515 77.58

20 กระบก Irvingia malayana 8,357,576 67.88

21 จักจ่นั Millettia xylocarpa 8,357,576 67.88

22 พะยอม Shorea roxburghii 8,357,576 67.88

23 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum 8,357,576 67.88

24 พฤกษ Albizia lebbeck 7,163,636 58.18

25 เฉียงพรานางแอ Carallia brachiata 7,163,636 58.18

26 พลับพลา Microcos tomentosa 7,163,636 58.18

27 ยางบง Persea kurzii 7,163,636 58.18

28 เคลด็ นาํ้ Catunaregam longispina 7,163,636 58.18

29 สะแกแสง Cananga brandisiana 5,969,697 48.48

30 มะเกลือ Diospyros mollis 5,969,697 48.48

31 อน่ื ๆ Others 109,842,424 892.12

รวม 644,727,273 5,236.00

หมายเหตุ : พันธไุ มท ี่สาํ รวจพบมากกวา 72 ชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา ไม
พ้ืนท่อี ุทยานแหง ชาตนิ ํา้ พอง

28

ตารางที่ 13 ชนดิ และปรมิ าณไมไ ผท ่ีพบในอทุ ยานแหง ชาตินํ้าพอง

ลําดบั ชนดิ ไผ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร ปริมาณไมไ ผท ง้ั หมด

จาํ นวนกอ จาํ นวนลํา

1 ไผรวก Thyrsostachys siamensis 1,707,333 25,407,030
2 ไผไร Gigantochloa albociliata
3 ไผป า Bambusa bambos 274,606 4,620,545
4 ซาง Dendrocalamus strictus
107,455 2,101,333
รวม
35,818 298,485

2,125,212 32,427,394

ตารางท่ี 14 ชนิดและปริมาณของตอไม (Stump)

ลาํ ดบั ชนิดไผ ช่อื วิทยาศาสตร ปริมาณตอไมทงั้ หมด

จาํ นวน (ตอ) ความหนาแนน (ตอ/ไร)

1 เต็ง Shorea obtusa 358,182 2.91

2 แดง Xylia xylocarpa 238,788 1.94

3 รักใหญ Gluta usitata 59,697 0.48

4 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 47,758 0.39

5 รงั Shorea siamensis 47,758 0.39

6 ยคู าลปิ Eucalyptus camaldulensis 47,758 0.39

7 ตะโกนา Diospyros rhodocalyx 35,818 0.29

8 เหียง Dipterocarpus obtusifolius 23,879 0.19

9 พลบั พลา Microcos tomentosa 23,879 0.19

10 ตะเคียนหิน Hopea ferrea 23,879 0.19

11 กกุ Lannea coromandelica 23,879 0.19

12 ประดู Pterocarpus macrocarpus 23,879 0.19

13 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 23,879 0.19

14 เปอย Terminalia pedicellata 23,879 0.19

15 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 11,939 0.1

16 ง้ิวปา Bombax anceps 11,939 0.1

17 ขวาว Haldina cordifolia 11,939 0.1

18 กระบก Irvingia malayana 11,939 0.1

19 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 11,939 0.1

20 ตนี นก Vitex pinnata 11,939 0.1

21 เหมือดจ้ี Memecylon scutellatum 11,939 0.1

22 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifolia 11,939 0.1

23 Lagerstroemia sp. Lagerstroemia sp. 11,939 0.1

24 อน่ื ๆ Others 47,758 0.39

รวม 1,158,121 9.41

การสาํ รวจทรัพยากรปา ไม
พืน้ ท่ีอุทยานแหงชาตินาํ้ พอง

29

5. สงั คมพืช
ผลการสํารวจสังคมพืชในอุทยานแหงชาตินํ้าพอง พบวา มีสังคมพืช 4 ประเภท คือ ปาดิบแลง ปา

เบญจพรรณ ปาเต็งรัง และทุงหญา และจากการวิเคราะหขอมูลสังคมพืช พบความถี่ (Frequency) ความเดน
(Dominance) และดชั นคี วามสาํ คัญของพรรณไม (IVI) ดังน้ี

5.1 ปาดิบแลง ชนิดไมท่ีมีคาดัชนีความสําคัญ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ไดแก คอแลน (Nephelium
hypoleucum) แกว (Murraya paniculata) มะนาวผี (Atalantia monophylla) ตะเคียนทอง (Hopea odorata)
ปออีเกง (Pterocymbium tinctorium) จิกดง (Barringtonia pauciflora) คําแสด (Mallotus philippensis)
อบเชย (Cinnamomum bejolghota) ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) และกระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolia)
ตามลาํ ดับ แสดงในตารางที่ 15

5.2 ปาเบญจพรรณ ชนิดไมที่มีคาดัชนีความสําคัญ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ไดแก ประดู
(Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบกแดง (agerstroemia calyculata) แคหางคาง
(Fernandoa adenophylla) มะคาโมง (Afzelia xylocarpa) อะราง (Peltophorum dasyrachis) มะกล่ําตาไก
(Adenanthera microsperma) ฉนวน (Dalbergia nigrescens) มะนาวผี (Atalantia monophylla) และ
กอกกัน (Rhus javanica) ตามลําดบั แสดงในตารางท่ี 16

5.3 ปาเต็งรัง ชนิดไมที่มีคาดัชนีความสําคัญ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ไดแก แดง (Xylia xylocarpa) เต็ง
(Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) รักใหญ (Gluta usitata)
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) สาธร (Millettia leucantha)
กระบก (Irvingia malayana) และ มะเกลอื เลอื ด (Terminalia mucronata) ตามลาํ ดับ แสดงในตารางที่ 17

5.4 ทงุ หญา ชนดิ ไมท ่มี ีคาดชั นีความสําคัญ (IVI) 2 อนั ดบั ไดแ ก โมกมนั (Wrightia arborea) และ ลาย
(Microcos paniculata) ตามลําดบั แสดงในตารางที่ 18

การสาํ รวจทรัพยากรปา ไม
พน้ื ท่อี ทุ ยานแหงชาตินํา้ พอง

30

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง ชาตนิ า้ํ พอง

31

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง ชาตนิ า้ํ พอง

32

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง ชาตนิ า้ํ พอง

33

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง ชาตนิ า้ํ พอง

34

6. ความหลากหลายทางชีวภาพ

จากการวิเคราะหหาคา ดัชนีความหลากหลายทางชวี ภาพ พบวา ปา เบญจพรรณมีคาความหลากหลาย
ของชนดิ พนั ธุ (Species Diversity) คาความสม่าํ เสมอ (Species Evenness) และคา ความมากมาย (Species
Richness) มากท่ีสุด ดงั แสดงในตารางท่ี 19

ตารางที่ 19 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พันธุไมอ ุทยานแหง ชาติน้าํ พอง

ลกั ษณะการใชประโยชนท ่ีดิน ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)

(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสม่ําเสมอ ความมากมาย

(Diversity) (Evenness) (Richness)

ปา ดิบแลง 3.02 0.84 6.47

(Dry Evergreen Forest)

ปา เบญจพรรณ 4.14 0.88 15.98

(Mixed Deciduous Forest)

ปาเตง็ รงั 3.10 0.71 10.36

(Dry Dipterocarp Forest)

ปา ฟนฟูตามธรรมชาติ - --

(Regrowth Forest)

อุทยานแหง ชาตนิ าํ้ พอง 4.05 0.81 18.35

หมายเหตุ เน่ืองจากสํารวจพบปาฟน ฟูตามธรรมชาติเพียง 1 แปลง จงึ ไมนํามาเปรยี บเทียบกับชนิดปา อ่นื ๆ

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พื้นท่ีอุทยานแหง ชาตินาํ้ พอง

35

สรปุ ผลปการสาํ รวจและวิเคราะหขอ มูลทรพั ยากรปาไม

ในการสํารวจไดทําการวางแปลงตัวอยางถาวรจํานวน 33 แปลง ในพนื้ ทอ่ี ุทยานแหงชาติน้ําพอง ซึง่ มีเนื้อ
ท่ีตามแผนท่ีแนบทายพระราชกฤษฎีกาเทากับ 123,125 ไร (ประมาณ 197 ตารางกิโลเมตร) เพื่อประเมิน
สถานภาพและศักยภาพของพื้นที่ ไดแก เนื้อที่ปาแตละชนิด ชนิดไมปริมาณและความหนาแนนของหมูไม
กําลังผลิตของปา ตลอดจนการสืบตอพันธุตามธรรมชาติของหมูไม โดยทําการวิเคราะหและประมวลผลโดยใช
โปรแกรมระบบสารสนเทศการสํารวจทรัพยากรปาไม ของสวนสํารวจและวเิ คราะหทรัพยากรปาไม สรุปผลได
ดังน้ี

1. ชนิดปา

สํารวจพบชนิดปา 4 ประเภท ไดแก ปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรังและทุงหญา ชนิดปาที่พบ
มากท่ีสุด คือ ปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง คิดเปนรอยละ 45.45 รองลงมา คือ ปาดิบแลง คิดเปนรอยละ
6.06 และปาฟน ฟตู ามธรรมชาติคดิ เปนรอ ยละ 3.03 ตามลาํ ดบั

2. ชนดิ พนั ธุแ ละความหนาแนนตอ ไร

พันธุไมที่พบในแปลงสํารวจ มี 47 วงศ มากกวา 148 ชนิด และพบวาชนิดปาที่มีความหนาแนนมาก
ที่สุด คือ ปาดิบแลง เทากับ 175.20 ตนตอไร คิดเปนปริมาตร 19.46 ลูกบาศกเมตรตอไร รองลงมา ไดแก ปา
เต็งรังเทากับ 171.31 ตนตอไร มีปริมาตร 17.10 ลูกบาศกเมตรตอไร ปาเบญจพรรณ เทากับ 113.92 ตน
ตอไร มีปริมาตร 10.30 ลูกบาศกเมตรตอไร และปาฟนฟูตามธรรมชาติ เทากับ 6.40 ตนตอไร ปริมาตร 0.48
ลูกบาศกเมตรตอไร ตามลําดับ

กลาวไดวา ในอุทยานแหงชาติน้ําพอง สํารวจพบพันธุไมมากกวา 148 ชนิด หมูไมมีความหนาแนนโดย
เฉล่ียเทากับ 140.46 ตนตอไร คิดเปนปริมาตรเฉล่ียเทากับ 13.65 ลูกบาศกเมตรตอไร ชนิดไมท่ีพบมาก 10
ลําดับแรก ไดแก แดง (Xylia xylocarpa) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) เต็ง (Shorea obtusa) รัง
(Shorea siamensis) รักใหญ (Gluta usitata) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) สาธร (Millettia
leucantha) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) มะนาวผี (Atalantia monophylla) และ กระบก (Irvingia
malayana) ตามลําดับ และชนิดไมที่มีปริมาตรมาก 10 ลําดับแรก ไดแก ประดู (Pterocarpus macrocarpus)
เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius)
รกั ใหญ (Gluta usitata) กระบก (Irvingia malayana) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) สาธร (Millettia
leucantha) และ มะคา โมง (Afzelia xylocarpa) ตามลาํ ดบั

หมูไมแบงตามขนาดความโตของเสนรอบวง (GBH) ดังน้ี ไมที่มีขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร,
มากกวา 45-100 เซนติเมตร และมากกวา 100 เซนติเมตร มีสัดสวนเทากับรอยละ 71.45, 26.82 และ 1.73
ตามลาํ ดบั

การสํารวจทรพั ยากรปาไม
พนื้ ทีอ่ ุทยานแหงชาตนิ ํ้าพอง

36

ลกู ไม (Sapling) พบมากกวา 51 ชนิด มีความหนาแนน เฉล่ียเทากบั 173.58 ตนตอไร ในการสาํ รวจพบ
จาํ นวนลกู ไมมากท่สี ุดในปาฟน ฟูตามธรรมชาติ รองลงมา คือ ปา เบญจพรรณ ปา เต็งรัง และปา ดบิ แลง ตามลําดบั

กลา ไม (Seedling) พบกลา ไมมากกวา 72 ชนดิ มีความหนาแนน เฉลย่ี เทา กับ 5,236.36 ตนตอไร จาก
การสํารวจพบกลาไมมากที่สุดในปาเต็งรัง รองลงมา คือ ปาเบญจพรรณ ปาฟนฟูตามธรรมชาติ และปาดิบแลง
ตามลาํ ดับ

ไผ (Bamboo) พบในปาเบญจพรรณ สาํ รวจพบ 4 ชนดิ ไดแก ไผซ าง (Dendrocalamus strictus) ไผไร
(Gigantochloa albociliata) ไผรวก (Thyrsostachys siamensis) และไผป า (Bambusa bambos)

ตอไม (Tree stump) ท่ีสํารวจพบ มีมากกวา 23 ชนิด คาความหนาแนนเฉลี่ยของตอไมเทากับ 9.41
ตอตอ ไร พบจํานวนตอมากที่สดุ ในปาเต็งรัง รองลงมา ไดแ ก ปา เบญจพรรณ และ ปา ดิบแลง ตามลาํ ดบั

3. การประเมินสถานภาพของทรัพยากรปา ไม

ในการประเมินทรัพยากรปาไมใ นอุทยานฯ พบวา มปี รมิ าณไมท้ังสน้ิ 17,294,212 ตน คดิ เปน ปริมาตร
ไมรวม 1,680,415.85 ลูกบาศกเ มตร มลี กู ไม (Sapling) จํานวนทัง้ ส้นิ 21,371,515 ตน กลา ไม (Seedling) จาํ นวน
ทงั้ ส้นิ 644,727,273 ตน มไี ผ (Bamboo) จาํ นวน 2,125,212 กอ รวมทง้ั ส้นิ 32,427,394 ลาํ มีตอไม รวมทงั้ สิ้น
ประมาณ1,158,121 ตอ

4. คาดชั นคี วามสําคญั ทางนิเวศวิทยา

จากการวิเคราะหขอมูลสังคมพืช พบวา ชนิดไมท่ีมีความถ่ี (Frequency) มากท่ีสุด คือ แดง (Xylia
xylocarpa) รองลงมา คือ ประดู (Pterocarpus macrocarpus) และมะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum)
ชนิดไมท่ีมีควาหนาแนนของพืชพรรณ (Density) มากท่ีสุด คือ แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คือ ประดู
(Pterocarpus macrocarpus) และ เต็ง (Shorea obtusa) ชนิดไมที่ทีความเดน (Dominance) มากที่สุด
คือ ประดู (Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา คือ เต็ง (Shorea obtusa) และ รัง (Shorea siamensis)
ชนิดไมท่ีมีความถ่ีสัมพัทธ (Relative Frequency ) มากท่ีสุด คือ แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คือ ประดู
(Pterocarpus macrocarpus) และ มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) ชนดิ ไมท่ีมีความหนาแนนสัมพัทธ
(Relative Density) มากที่สุด คือ แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คือ ประดู (Pterocarpus macrocarpus)
และเตง็ (Shorea obtusa) ชนิดไมท่มี ีความเดน สัมพัทธ (Relative Dominance) มากท่สี ุด คือ ประดู (Pterocarpus
macrocarpus) รองลงมา คือ เต็ง (Shorea obtusa) และ รงั (Shorea siamensis) และจากวเิ คราะหขอมูล
สงั คมพชื สรุปไดด ังนี้

ในพน้ื ที่ปาดบิ แลง มชี นดิ ไมท่มี ีคาดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม (IVI) สงู สดุ 5 อนั ดบั แรก ไดแ ก คอแลน
( Nephelium hypoleucum) แ ก ว ( Murraya paniculata) ม ะ น า ว ผี ( Atalantia monophylla)
ตะเคียนทอง (Hopea odorata) และปออเี กง (Pterocymbium tinctorium)

การสาํ รวจทรพั ยากรปา ไม
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาตนิ ํ้าพอง

37

ในพ้ืนทีป่ า เบญจพรรณ มชี นดิ ไมท ่มี ีคาดัชนคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม (IVI) สงู สุด 5 อันดบั แรก ไดแก ประดู
(Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบกแดง (agerstroemia calyculata) แคหาง
คา ง (Fernandoa adenophylla) และมะคาโมง (Afzelia xylocarpa)

ในพื้นที่ปาเต็งรัง มีชนิดไมที่มีคาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (IVI) สูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก แดง
(Xylia xylocarpa) เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) และ
รักใหญ (Gluta usitata)

ในพ้ืนท่ีปาฟนฟูตามธรรมชาติ มีชนิดไมที่มีคาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (IVI) 2 ชนิด ไดแก โมกมัน
(Wrightia arborea) และ ลาย (Microcos paniculata)

ชนิดไมท่ีมีคาความสําคัญทางนิเวศวิทยา (IVI) มากท่ีสุด คือ แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คือ ประดู
(Pterocarpus macrocarpus) และ เต็ง (Shorea obtusa)
5.ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายของชนิดพนั ธไุ ม (Species Diversity) มากท่ีสดุ คอื ปา เบญจพรรณ รองลงมาคอื ปา
เต็งรัง ความมากมายของชนิดพันธุไม (Species Richness) มากที่สุด คือ ปาเบญจพรรณ รองลงมา คือปาเต็ง
รัง และสม่ําเสมอของชนิดพันธุไม (Species Evenness) มากที่สุด คือ ปาเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปาดิบ
แลง
6. ขนาดความโตของตน ไมในปา

โครงสรา งปา ในทุกชนิดปา หรือทุกลกั ษณะการใชประโยชนที่ดิน พบวา มีไมย นื ตน ขนาดเสนรอบวงเพียง
อก (GBH) ระหวาง 15-45 เซนติเมตร จํานวน 12,357,273 ตน คดิ เปนรอ ยละ 71.45 ของไมท ั้งหมด ไมยนื ตนขนาด
เสนรอบวงเพียงอก (GBH) อยูระหวาง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน 4,638,455 ตน คิดเปนรอยละ 26.82 ของ
ไมท้ังหมด และไมยืนตนขนาดเสนรอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา 100 เซนติเมตรข้ึนไป จํานวน 298,485 ตน คิด
เปน รอ ยละ 1.73 ของไมท ั้งหมด
7. ปจ จัยทีม่ ีผลกระทบตอ พื้นที่ปา

จากการสาํ รวจผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ ในแปลงตัวอยาง พบวา พ้ืนท่ีอทุ ยานแหงชาตินํ้าพองมปี ญ หาการบุก
รุกพ้ืนท่ีปา เพื่อเปลี่ยนแปลงการใชป ระโยชนท่ีดนิ ของชาวบานตามแนวขอบเขตอุทยานฯ และระหวางทางเดิน
เขาแปลงสํารวจพบรองรอยการกระทําผิดเก่ียวกับการลักลอบลาสัตว และเก็บหาของปาในพื้นท่ี ซ่ึงปญหาที่พบ
เกดิ จากชมุ ชนทอ่ี าศยั อยใู นพ้ืนทมี่ าเปนเวลานาน

การสํารวจทรพั ยากรปาไม
พ้ืนที่อทุ ยานแหง ชาติน้ําพอง

38

วจิ ารณผ ล

1. ชวงฤดูกาลที่เก็บขอมูลภาคสนาม มีผลตอปริมาณกลาไม (Seedling) เชน ในฤดูฝนมีโอกาส ที่จะ
พบกลาไมมากกวาในฤดูแลง ดังนั้น ขอมูลกลาไมจะมีความผันแปรคอนขางสูงตามฤดูกาล อยางไรก็ตาม ควร
ใหความสําคัญเก่ียวกับปริมาณของกลาไม เนื่องจากเปนตัวช้ีวัดชนิดหนึ่งในการบงบอกถึงชนิดพันธุไมในปา
รวมถงึ แนวโนม การสืบตอพันธใุ นอนาคตของหมูไม

2. จากการศึกษาการกระจายของหมูไม พบวา รอยละ 71 เปนไมขนาดเล็กมี GBH เทากับ 15-45
เซนติเมตร และรอยละ 27 เปนไมขนาดกลาง GBH > 45-100 เซนติเมตร และพบไมที่มี GBH มากกวา 100
เซนติเมตร เพียงรอยละ 2 แสดงวา โครงสรางของหมูไมสวนใหญเปนไมหนุม แสดงวาความเพ่ิมพูนรายปของ
ปา คอนขางสูง และปาจะเติบโตและพัฒนาเปนปาที่มีความสมบรู ณตอไป ทง้ั น้ี จะตอ งคํานงึ ถึงปจ จัยผลกระทบ
จากสภาพแวดลอ มประกอบดวย

3. การคํานวณปริมาณไม เน่ืองจากยังไมมีพื้นท่ีของแตละชนิดปา จึงตองใชสัดสวนของแปลงตัวอยางท่ี
สํารวจพบเทียบกับพื้นท่ีแนบทายพระราชกฤษฎีกา แลวนํามาคูณกับความหนาแนนเฉล่ียของชนิดปา ดังนั้น ใน
การนาํ ขอมูลไปใชอ างอิงผูใชตองทําความเขาใจเกีย่ วกับความคลาดเคล่ือนทเ่ี กิดขน้ึ ใหถูกตองกอน

4. เพือ่ ใหไดข อมูลทีเ่ ปน ตวั แทนทีด่ ี ปา แตล ะชนิดควรมแี ปลงตวั อยางอยา งนอย 3 แปลง

ปญ หาและอุปสรรค

ปญ หาและอปุ สรรคในการดาํ เนินงานทพ่ี บ

1. การจําแนกชนดิ ไมตนและไมพื้นลางในภาคสนาม สว นใหญอาศัยจากความรูและประสบการณของ
คนในพน้ื ที่ ซง่ึ เปนช่ือทองถ่นิ จึงอาจเกิดปญ หาการไมสามารถระบุชนดิ พรรณไมไ ด

2. แปลงสํารวจบางจุดอยูในลักษณะภูมิประเทศท่ีคอนขางลาดชัน ทําใหใชเวลานานในการเขาถึงแปลง

และอาจกอ ใหเ กดิ อันตรายได ขอเสนอแนะ

เพื่อใหการดําเนินงานสํารวจทรัพยากรปาไมในโอกาสตอไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงมี
ขอเสนอแนะดงั นี้

1. ในการเขาสํารวจภาคสนาม ควรประสานแจงเจาหนาท่ีของอุทยานฯ ใหทราบกอน เพื่อจะไดวาง
แผนการเขา ถงึ จดุ สํารวจไดอยางถกู ตอง

2. เพื่อใหการปฏิบัติงานภาคสนามเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คณะสํารวจภาคสนามควรมีเจาหนาท่ีท่ี
ชํานาญเสนทางและมีความรเู กี่ยวกับพรรณไมใ นพน้ื ทีด่ วย

การสาํ รวจทรัพยากรปาไม
พืน้ ที่อุทยานแหงชาตินา้ํ พอง

39
3. ควรวางแผนการสํารวจภาคสนามใหเสร็จกอนเขาฤดูฝน เน่อื งจากฤดูฝนเปน อปุ สรรคตอการเขาสูพ้ืนท่ี
และเกบ็ ขอมลู สํารวจ
4. ควรบันทึกภาพลักษณะเดนของพันธุไม และเก็บตัวอยางไมที่ไมทราบชนิด เพื่อสงใหนัก
พฤกษศาสตรจําแนกชนดิ ตอไป

การสาํ รวจทรัพยากรปา ไม
พื้นทอ่ี ุทยานแหง ชาตนิ ํ้าพอง

40

เอกสารอา งองิ

กองกานดา ชยามฤต. 2541. คมู ือการจาํ แนกพันธุไม. สว นพฤกษศาสตร สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม,
กรงุ เทพฯ. 253 หนา

ขอ มูลสถติ ิอุทยานแหง ชาติ สัตวป า และพนั ธุพืช ป 2553. สาํ นกั แผนงานและสารสนเทศ กรมปาไม,
กรงุ เทพฯ. 109 น.

ชวลติ นยิ มธรรม. 2545. ทรพั ยากรปาไมของประเทศไทย. สวนพฤกษศาสตร สาํ นักวิชาการปาไม
กรมปาไม, กรุงเทพฯ. 10 หนา.

ธวชั ชัย สันตสิ ุข. 2549. ปา ขงิ ประเทศไทย. สาํ นักหอพรรณไม, กรมอุทยานแหงชาติ สัตวป า และพนั ธุพืช.
บริษทั ประชาชน จํากดั , กรุงเทพฯ. 120 หนา.

วิชาญ ตราช.ู 2548. แนวทางการสํารวจทรพั ยากรปา ไมในพน้ื ที่อนุรกั ษ. สวนวเิ คราะหท รพั ยากรปาไม
สาํ นักวิชาการปา ไม กรมปาไม, กรงุ เทพฯ. 95 หนา.

สว นพฤกษศาสตร. 2544. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตนิ นั ท ฉบบั แกไขเพ่ิมเติม สาํ นกั วชิ าการปา ไม
กรมปา ไม, กรงุ เทพฯ. 810 น.

การสํารวจทรพั ยากรปา ไม
พนื้ ทีอ่ ุทยานแหง ชาติน้ําพอง

41

ภาคผนวก

การสาํ รวจทรพั ยากรปาไม
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแหง ชาตินาํ้ พอง

ตารางผนวกท่ี 1 ชนิดและปริมาณไม (Tree) ท้งั หมดของอุทยานแหง ชาตินา้ํ พอง

ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด� นิ ปริมาณไม้ท�ังหมด

ลําดบั ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ชอื� วทิ ยาศาสตร์ ปา่ ดิบแล้ง ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ปา่ ฟน�ื ฟูตามธรรมชาติ

จํานวน ปริมาตร จาํ นวน ปริมาตร จํานวน ปริมาตร จาํ นวน ปรมิ าตร จํานวน ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น) (ลบ.ม.)
382,061 41,070.32 788,000 119,412.36 1,170,061
1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1,104,394 160,482.68
2 เตง็ Shorea obtusa 23,879 11,770.51 1,080,515 148,320.36 973,061 160,090.86
3 รัง Shorea siamensis 1,904,333 144,895.42
4 แดง Xylia xylocarpa 17,909 3,692.27 955,152 141,203.15 746,212 117,027.42
5 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 937,242
6 รักใหญ่ Gluta usitata 376,091 26,026.53 1,528,242 91,000.89 262,667 72,942.14
7 กระบก Irvingia malayana 417,879 63,911.20
8 มะกอกเกล�อื น Canarium subulatum 746,212 72,942.14 591,000 57,835.41
9 สาธร Millettia leucantha 137,303 45,870.74
10 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa 937,242 63,911.20 202,970 35,189.45
11 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata 143,273 32,175.56
12 ยคู าลิป Eucalyptus camaldulensis 23,879 7,272.74 238,788 50,562.66 167,152 28,621.75
13 มะกลํ�าตาไก่ Adenanthera microsperma 95,515 28,479.89
14 พฤกษ์ Albizia lebbeck 65,667 6,259.97 352,212 39,610.77 250,727 28,446.44
15 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 185,061 23,839.11
16 กอกกัน Rhus javanica 83,576 8,167.83 507,424 27,021.63 280,576 22,764.60
17 มะนาวผี Atalantia monophylla 173,121 22,711.51
18 อะราง Peltophorum dasyrachis 137,303 32,175.56 173,121 21,568.94
19 งิ�วป่า Bombax anceps 155,212 20,880.02
20 คอแลน Nephelium hypoleucum 77,606 4,474.42 125,364 24,147.33 89,545 19,575.63
21 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 208,939 17,654.73
22 ขวา้ ว Haldina cordifolia 95,515 23,331.36 47,758 5,148.53 226,848 17,315.96
23 ฉนวน Dalbergia nigrescens 125,364 16,025.42
24 ตีนนก Vitex pinnata 167,152 28,446.44 41,788 14,862.84
25 ยางโดน Polyalthia asteriella 244,758 13,365.75
26 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 77,606 13,875.32 17,909 9,963.79 77,606 13,000.47
27 คํารอก Ellipanthus tomentosus 35,818 12,744.85
28 จกิ ดง Barringtonia pauciflora 250,727 22,764.60 47,758 12,743.86
29 ตะครอ้ Schleichera oleosa 155,212 11,654.35
30 โมกมนั Wrightia arborea 131,333 20,409.38 53,727 2,302.13 107,455 11,068.49
31 สะเดาชา้ ง Acrocarpus fraxinifolius 107,455 10,987.44
32 เต็งหนาม Bridelia retusa 83,576 6,723.62 197,000 14,845.32 191,030 10,381.00
33 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 23,879
34 อบเชย Cinnamomum bejolghota 173,121 20,880.02 113,424 9,959.94
35 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 41,788 9,718.09
36 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 101,485 9,233.64 71,636 10,341.99 35,818 9,204.80
37 กระพจี� น�ั Millettia brandisiana 77,606 8,961.63
38 แก้ว Murraya paniculata 143,273 16,886.32 5,970 367.86 5,970 400.55 125,364 8,902.89
39 ยอป่า Morinda coreia 5,970 2,869.95 23,879 8,701.39
40 หมีเหมน็ Litsea glutinosa 83,576 14,446.02 8,633.76
7,852.37
119,394 6,397.46 89,545 9,627.97 7,793.62

202,970 12,075.39 23,879 2,787.45

65,667 4,812.92 59,697 8,552.83

5,970 6,446.24 35,818 6,554.23
35,818 11,654.35
226,848 12,265.45 17,909 479.40

47,758 5,557.09 29,848 7,186.76

11,939 1,142.96 35,818 9,925.53 17,909 1,401.26
125,364 9,286.48 11,939 299.69
4,825.70 53,727
53,727 101,485 5,555.30
5,970 117.40 9,842.54
9,718.09
191,030

23,879 9,204.80 107,455 8,835.90 5,970 125.73
77,606 8,633.76 41,788 8,902.89
35,818 8,701.39

65,667 6,550.25 59,697 1,302.12
17,909 6,600.20 5,970 1,193.42


Click to View FlipBook Version