The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พื้นที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kph.wanwisa, 2020-11-01 22:40:57

พื้นที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน

พื้นที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน

รายงานการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้

พน้ื ท่ีเตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสัตวป์ า่ ภโู น

กลมุ่ สารวจทรพั ยากรป่าไม้
ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรพั ยากรป่าไม้

สานักฟ้ืนฟแู ละพฒั นาพ้ืนทอ่ี นรุ ักษ์

พ้นื ท่เี ตรยี มประกาศ

ศเขตห้ามลา่ สตั วป์ ่าภโู น

บทสรุปสำหรับผู้บริหำร

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ทาการสารวจเก็บข้อมูล
ทรัพยากรปา่ ไมใ้ นพื้นทีเ่ ตรียมประกาศเขตห้ามลา่ สัตวป์ า่ ภโู น ซ่งึ มีเนอื้ ท่เี ทา่ กบั 44,614 ไร่ หรือประมาณ 71.38
ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ี อาเภอท่าคันโท อาเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธ์ุ และอาเภอกระนวน
จงั หวดั ขอนแกน่

ในดาเนินงานได้ทาการวางแปลงตัวอย่างวงกลม ขนาด 0.1 แฮกแตร์ (0.625 ไร่) จานวน 12 แปลง
ครอบคลุมทั้งพ้นื ท่ี ผลการสารวจพบลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ 3 ประเภท ดงั น้ี

1. ป่าเบญจพรรณ คิดเป็นร้อยละ 50.00 มีความหนาแน่น 77.07 ต้นต่อไร่ ปริมาตร 12.20
ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่

2. ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 41.67 มีความหนาแน่น 66.80 ต้นต่อไร่ ปริมาตร 10.67
ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่

3. พื้นที่เกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) คิดเป็นร้อยละ 8.33 มีความหนาแน่น 9.60 ต้นต่อไร่
ปริมาตร 0.71 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่

กล่าวคือ ในพ้ืนที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน สารวจพบพันธุ์ไม้มากกว่า 63 ชนิด หมู่ไม้ มี
ความหนาแน่นเฉลี่ย 67.20 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรเฉล่ีย 10.60 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ลูกไม้ (Sapling) มีค่า
ความหนาแนน่ เฉลย่ี 216.00 ตน้ ตอ่ ไร่ กล้าไม้ (Seedling) มีความหนาแน่นเฉลยี่ 5,626.67 ตน้ ตอ่ ไร่ และมีค่า
ความหนาแน่นของตอไม้เฉลยี่ 4.27 ตอตอ่ ไร่

ชนิดไม้ที่พบมาก 10 ลาดับแรก ได้แก่ กระถิน (Leucaena leucocephala) มะค่าแต้ (Sindora
siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) รัง (Shorea siamensis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) คอแลน
(Nephelium hypoleucum) สม้ กบ (Hymenodictyon orixense) ปอแกน่ เทา (Grewia eriocarpa) ตะแบกเกรยี บ
(Lagerstroemia balansae) และ ขวา้ ว (Haldina cordifolia) ตามลาดบั

ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรมาก 10 ลาดับแรก ได้แก่ ง้ิวป่า (Bombax anceps) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) รัง (Shorea siamensis) มะกอก (Spondias pinnata) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata)
เส้ียวป่า (Bauhinia saccocalyx) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata)
มังตาน (Schima wallichii) และกระถนิ (Leucaena leucocephala) ตามลาดบั

ลูกไม้ (Sapling) พบมากกว่า 10 ชนิด มีความหนาแน่นเฉล่ียเท่ากับ 216.00 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ที่พบมาก
5 ลาดบั แรก ได้แก่ กระถนิ (Leucaena leucocephala) ข่อย (Streblus asper) แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) และสัก (Tectona grandis) ตามลาดับ จากการสารวจพบลูกไม้มากท่ีสุดใน
ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ แลง้ และพืน้ ท่เี กษตรกรรม ตามลาดับ

กล้าไม้ (Seedling) พบมากกว่า 17 ชนิด มีความหนาแน่นของลูกไม้ 5,626.67 ต้นต่อไร่ โดยกล้าไม้ท่ีมี
ปริมาณมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ กระถิน (Leucaena leucocephala) ข่อย (Streblus asper) เสี้ยวป่า
(Bauhinia saccocalyx) ตะเคยี นหนู (Anogeissus acuminata) ชงโค (Bauhinia purpurea) ตามลาดับ

เม่ือทาการประเมินทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน โดยใช้สัดส่วนของ
แปลงสารวจกับขนาดของพ้ืนท่ี (44,614 ไร่) สรุปผลดังนี้ มีปริมาณไม้รวม 2,996,574 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้
473,117.38 ลกู บาศกเ์ มตร มลี กู ไม้ (Sapling) จานวน 9,636,624 ตน้ กล้าไม้ (Seedling) จานวน 251,028,107 ตน้
มไี ผ่ (Bamboo) จานวน 975,559 กอ รวมทง้ั สิ้น 12,729,861 ลา มตี อไม้ จานวน 223,070 ตอ

ในส่วนของการประเมินขนาดความโตของหมู่ไม้ พบว่ามีไม้ยืนท่ีมีขนาดความโต (GBH) ต้ังแต่ 15-45
เซนติเมตร จานวน 2,010,688 ตน้ ไมท้ ่ีมีขนาดความโต (GBH) มากกวา่ 45-100 เซนตเิ มตร จานวน 843,192 ตน้
และขนาดความโต (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร จานวน 142,694 ต้น คดิ เป็นร้อยละ 67.10, 28.14 และ
4.76 ตามลาดับ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชและความหลากหลายทางชีวภาพในพ้ืนที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่า
สัตว์ปา่ ภโู น พบวา่

1. ชนิดไม้ที่มีความถี่ (Frequency) มากที่สุด คือ ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) รองลงมา คือ
มะค่าแต้ (Sindora siamensis) และ กระถิน (Leucaena leucocephala)

2. ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากที่สุด คือ กระถิน (Leucaena leucocephala)
รองลงมา คอื มะค่าแต้ (Sindora siamensis) และ แดง (Xylia xylocarpa)

3. ชนิดไม้ท่ีทีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา คือ
ง้วิ ปา่ (Bombax anceps) และ รงั (Shorea siamensis)

4. ชนิดไม้ท่ีมีความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากที่สุด คือ ส้มกบ (Hymenodictyon
orixense) รองลงมา คือ มะคา่ แต้ (Sindora siamensis) และ กระถนิ (Leucaena leucocephala)

5. ชนิดไม้ท่ีมีความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density) มากที่สุด คือ กระถิน (Leucaena
leucocephala) รองลงมา คอื มะคา่ แต้ (Sindora siamensis) และ แดง (Xylia xylocarpa)

6. ชนิดไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากท่ีสุด คือ ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) รองลงมา คอื ง้ิวป่า (Bombax anceps) และ รงั (Shorea siamensis)

7. ชนิดไม้ที่มีค่าความสาคัญทางนิเวศวิทยา (IVI) มากที่สุด คือ กระถิน (Leucaena leucocephala)
รองลงมาคอื ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และ มะค่าแต้ (Sindora siamensis)

8. ข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าที่มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้
(Species Diversity) มากทส่ี ุด คอื ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดิบแลง้ ชนิดป่าทมี่ ีความมากมายของชนิด

พนั ธไุ์ ม้ (Species Richness) มากท่ีสดุ คอื ป่าดบิ แลง้ รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ ชนดิ ป่าท่มี คี วามสม่าเสมอของ
ชนิดพนั ธไุ์ ม้ (Species Evenness) มากที่สุด คอื ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ แลง้

ในการประมาณค่าปริมาณไม้ท้ังหมดของพ้ืนที่อนุรักษ์แต่ละแห่ง เป็นการคานวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อที่
จากแผนท่แี นบทา้ ยกฤษฎีกา ซ่ึงบางพนื้ ทอ่ี นุรักษม์ ขี ้อมลู คลาดเคลอ่ื นจากข้อเท็จจรงิ และสง่ ผลตอ่ การคานวณ
ปริมาณไม้ทงั้ หมด ดังน้นั ปริมาณและปรมิ าตรไม้เปน็ ค่าประมาณการเบอ้ื งตน้ อย่างไรกต็ ามค่าความหนาแน่น
และปริมาณไม้ต่อหน่วยเน้ือที่ของแต่ละพ้ืนท่ี สามารถเป็นตัวแทนของพ้ืนที่น้ัน ๆ ได้ และหากได้ข้อมูลเน้ือท่ี
แต่ละชนิดป่าของพื้นที่อนุรักษ์ จะทาให้ค่าประมาณการมีความถูกต้องและแม่นยามากยิ่งข้ึน และในกรณีท่ี
ชนิดปา่ ใดมแี ปลงตัวอยา่ งตกอยู่เพยี งแปลงเดียว ควรวางแปลงตวั อย่างเพ่มิ

สสารบญัญ i

เรอ่ื ง หน้า
สารบญั i
สารบัญตาราง iii
สารบญั ภาพ iv
คานา 1
วัตถปุ ระสงค์ 2
พนื้ ท่ีการดาเนินงาน 2
2
ประวตั ิความเป็นมา 2
ท่ตี ้งั และอาณาเขต 3
ลักษณะภมู ิประเทศ 3
ลักษณะภูมอิ ากาศ 3
ความสาคญั ของพน้ื ที่ด้านอนุรักษ์สตั ว์ป่า 3
สัตว์ปา่ ที่สาคญั 4
การคมนาคม 4
รูปแบบและวธิ ีการสารวจทรัพยากรป่าไม้ 4
การสุม่ ตัวอย่าง (Sampling Design) 4
รปู ร่างและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design) 5
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมูลทีท่ าการสารวจ 5
การวิเคราะห์ขอ้ มลู การสารวจทรพั ยากรป่าไม้ 5
1. การคานวณเนื้อทีป่ า่ และปริมาณไม้ท้ังหมด 6
2. การคานวณปริมาตรไม้ 7
3. ข้อมูลท่วั ไป 7
4. การวเิ คราะหข์ ้อมูลองค์ประกอบของมู่ไม้ 7
5. การวิเคราะห์ข้อมูลชนดิ และปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย 7
6. การวเิ คราะหข์ ้อมูลสงั คมพืช 8
7. วิเคราะห์ข้อมูลเกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ
ผลการสารวจและวิเคราะห์ขอ้ มูลทรัพยากรป่าไม้ 10
1. แปลงตวั อยา่ ง 10
2. พนื้ ท่ีป่าไม้ 10
3. ปริมาณไม้ 15
4. ชนิดพนั ธไุ์ ม้ 17
5. สงั คมพืช 24

สสาารรบบัญัญ ((ตต่ออ่ )) ii

6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 29
สรผุ ลการสารวจและวเิ คราะห์ขอ้ มูลทรัพยากรปา่ ไม้ 29
29
1. ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน 29
2. ชนดิ พันธุ์และปรมิ าตรไม้ 30
3. การประเมินสถานภาพของทรพั ยากรป่าไม้ 30
4. ค่าดชั นคี วามสาคัญทางวิเวศวทิ ยา 31
5. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 31
6. ขนาดความโตของต้นไม้ในปา่ 31
7. ปจั จัยท่ีมผี ลกระทบต่อพน้ื ทป่ี ่า 32
วจิ ารณ์ผล 32
ปญั หาและอุปสรรค 32
ข้อเสนอ 34
เอกสารอา้ งอิง 35
ภาคผนวก

iii

สสาารรบบัญญั ตตาารราางง

ตารางที่ หนา้

1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมูลท่ีทาการสารวจ 5

2 พ้ืนทป่ี ่าไมจ้ าแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ ิน (Area by Landuse Type) 11

3 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ต่อหน่วยพนื้ ท่ีจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน (Density

and Volume per Area by Landuse Type) 13

4 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ (Volume by Landuse Type) 16

5 การกระจายของต้นไมใ้ นแต่ละช่วงขนาดความโต 16

6 ปรมิ าณไม้ทง้ั หมดของพ้ืนทเ่ี ตรยี มประกาศเขตห้ามล่าสตั ว์ป่าภูโน (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไม้

สูงสุด) 19

7 ปรมิ าณไม้ในป่าเบญจพรรณของพื้นทเ่ี ตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตวป์ ่าภูโน (30 ชนิดแรกท่ีมี

ปริมาตรไม้สงู สุด) 20

8 ปรมิ าณไม้ในป่าดิบแล้งของพื้นทีเ่ ตรยี มประกาศเขตห้ามลา่ สตั ว์ป่าภโู น (30 ชนดิ แรกท่มี ี

ปริมาตรไมส้ ูงสดุ ) 21

10 ชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในพน้ื ท่ีเตรยี มประกาศเขตหา้ มล่าสัตวป์ ่าภโู น 22

11 ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ทพ่ี บในพน้ื ท่ีเตรียมประกาศเขตห้ามลา่ สัตว์ปา่ ภโู น 23

12 ชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ที่พบในพนื้ ทเี่ ตรียมประกาศเขตห้ามลา่ สัตวป์ า่ ภูโน 23

13 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทพี่ บในพืน้ ที่เตรียมประกาศเขตหา้ มลา่ สัตว์ปา่ ภูโน 23

14 ดชั นคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพน้ื ทป่ี ่าในพ้นื ทีเ่ ตรียม

ประกาศเขตห้ามล่าสัตวป์ า่ ภโู น 25

15 ดชั นคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณในพ้ืนที่

เตรียมประกาศเขตหา้ มลา่ สัตว์ป่าภโู น 26

16 ดชั นีความสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ แลง้ ในพืน้ ทเ่ี ตรียม

ประกาศเขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ ภูโน 27

17 ดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพ้นื ทเี่ กษตรกรรม (ไรม่ นั

สาปะหลัง) ในพนื้ ทเี่ ตรยี มประกาศเขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ ภูโน 28

18 ความหลาหลายทางชวี ภาพขอชนดิ พันธุ์ไมพ้ น้ื ทเี่ ตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สัตวป์ ่าภโู น 29

สารสบาัญรบภัญาภพาพ iv

ภาพที่ หนา้
1 รูปแบบและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 4
2 พิกดั ตาแหนง่ แปลงตวั อย่าง 10
3 ชนดิ ป่าในพน้ื ทเ่ี ตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั ว์ภูโน 11
4 ลักษณะป่าเบญจพรรณทส่ี ารวจพบในพ้ืนที่เตรียมประกาศเขตห้ามลา่ สัตว์ป่าภูโน 12
5 ลกั ษณะของปา่ ดิบแลง้ ทีส่ ารวจพบในพ้นื ทเ่ี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าภูโน 13
6 ลกั ษณะของพื้นท่เี กษตรกรรมท่ีสารวจพบในพ้ืนท่ีเตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ภูโน 14
7 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไมเ้ ฉลย่ี จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ 15
8 ปริมาณและปรมิ าตรไม้ท้ังหมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ 16
9 การกระจายของตน้ ไมใ้ นแต่ละชว่ งขนาดความโต 17

1

คำนำ

ในปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นท่ีป่าไม้เหลืออยู่ร้อยละ 31.62 ของพื้นที่ประเทศ (สถิติป่าไม้, 2558) ซ่ึง
พ้ืนท่ีดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ซ่ึงมีหน้าที่ท่ีจะต้อง
อนุรักษ์ สงวน และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้
อยา่ งย่งั ยืน จงึ จาเป็นท่จี ะต้องทราบถงึ สถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ัง
ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพ้ืนที่ป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ท่ีมีผลต่อการบุกรุก
ทาลายป่า

ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักพื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ รับผิดชอบในการสารวจ
เก็บข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอนุรักษ์ทั่วประเทศ เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลการดาเนินงานในกิจกรรมที่มี
ความเกีย่ วข้องกับความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมทัง้ ใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
และส่วนที่เก่ียวข้อง เพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ หรือใช้เป็นต้นแบบในการดาเนินการในพ้ืนที่อื่น ๆ
ตอ่ ไป

ในปีงบประมาณ 2557 ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ โดยกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ได้
ดาเนินการสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีเตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน เพื่อประเมินสถานภาพและ
ศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ โดยผลการสารวจที่ได้จะแสดงให้ทราบถึงความหลากหลายของพืชพรรณในแต่ละ
สภาพพ้นื ที่ รวมทง้ั ชนดิ ปริมาณ ปรมิ าตรของไม้ ตลอดจนปริมาณกล้าไม้และลูกไม้ ซึง่ ข้อมลู ดังกล่าวสามารถ
นาไปใช้ในการประเมินการสบื ต่อพันธ์ุตามธรรมชาติและความสมบูรณ์ของหมู่ไม้ในอนาคตต่อไป นอกจากน้ียัง
สามารถใช้ในการติดตามความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ซ่งึ สามารถนาไปใช้ประเมินมูลค่าทางด้านเศรษฐกิจ
และสงิ่ แวดล้อมตอ่ ไป

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่เตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั วป์ ่าภูโน

2

วตั ถปุ ระสงค์

1. ทาการสารวจเก็บข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานภาพและ
ศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ ความหลากหลายของพันธพ์ุ ืช รวมถึงปริมาณและกาลังผลิตของไม้ในพื้นท่ี ตลอดจน
การสบื พันธต์ุ ามธรรมชาตขิ องหมูไ่ ม้

2. สามารถประเมินมูลค่าทรัพยากรป่าไม้ และมูลค่าความเสียหายหรือสูญเสีย หากมีการดาเนินการ
โครงการท่ีส่งผลกระทบต่อพืน้ ทอี่ นรุ กั ษ์

3. เพือ่ ติดตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรป่าไมใ้ นพ้ืนท่ี

พพ้นืน้ื ทท่ีกี่กำำรรดดำำเเนนนินิ งงำำนน

ประวัตคิ วำมเปน็ มำ

ป่าภูโน อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาตปิ า่ ดงมลู ท้องที่ อาเภอทา่ คนั โท อาเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธ์ุ และ
อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ซึ่งป่าดงมูลได้ประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2511 ในอดีตพื้นที่
ป่าดงมูลเป็นเขตแทรกซึมของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ซ่ึงมีปัญหากับการปกครองของรัฐบาลเป็นอย่างมาก
ต่อมามีการทาสัมปทานของบริษัทกาฬสินธท์ุ าไม้จากัด และจัดตั้งนิคมสหกรณ์ดงมูล ทาให้ป่าถูกบุกรุกพื้นที่เพื่อ
ทากินและอยู่อาศัยเป็นจานวนมาก จึงได้มีโครงการปรับปรุงป่าสงวนแห่งชาติในรูปแบบหมู่บ้านป่าไม้ โดยกอง
จัดการท่ีดินป่าสงวนแห่งชาติ ปัจจุบันป่าภูในทางสานักงานป่าไม้จังหวดั กาฬสินธุ์ได้ทางานสารวจรังวดั กาหนด
พ้ืนทเี่ ขตปา่ ท่ีเหลืออย่ใู หเ้ ปน็ เขตอนรุ ักษ์

เมอ่ื วนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2549 กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ืช ได้ส่ังการให้ส่วนอนรุ ักษ์สัตว์ป่า
สานักบริหารพื้นที่อนรุ ักษ์ท่ี 8 (สานักงานป่าไม้เขตขอนแก่นเดิม) สารวจป่าสงวนแห่งชาติดงมูล บริเวณป่าภูโน
และพ้ืนที่ใกล้เคียง เพื่อกาหนดให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าต่อไป เน่ืองจากเห็นว่าสภาพป่าส่วนใหญ่ในพื้นที่บริเวณ
ภูโน มีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์และมีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มากมาย ไม่มีปัญหากับราษฎรในพ้ืนที่ อยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีจะ
จดั ตงั้ เปน็ เขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ ได้ และเปน็ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรป่าไมแ้ ละสตั วป์ ่าให้คงอยสู่ ืบไป

ทต่ี ้ังและอำณำเขต

ป่าภูโน อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าดงมูล อยู่ในพื้นที่ของสองจังหวัด คือ ท้องท่ีอาเภอท่าคันโท
อาเภอหนองกงุ ศรี จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ และท้องท่ีอาเภอกระนวน จงั หวดั ขอนแก่น มอี าณาเขตติดตอ่ ดงั น้ี

ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับ หมู่บา้ นสร้างแก้ว บ้านกุงเก่า ตาบลกุงเก่า
ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ อาเภอท่าคนั โท จงั หวดั กาฬสินธุ์
หมู่บา้ นนาคาน้อย บ้านนามลู ตาบลหนองกุงศรี
จังหวัดกาฬสินธุ์

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ที่เตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ ภูโน

3

ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ หมูบ่ ้านไทรทอง บ้านด่านช้าง จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ และ
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 2299 ท่าคันโท–หนองกุงศรี
บ้านโนนอดุ ม บา้ นแสนสุข ตาบลดนู สาด อาเภอกระนวน
จงั หวดั ขอนแก่น

ลักษณะภมู ิประเทศ

ป่าภูโน เป็นลักษณะเนินเขาสูงเตี้ยสลับกันไป ทางทิศเหนือเป็นสันเขาชันเหมือนกับหน้าผา ทาให้
เสมือนเป็นแนวร้ัวและแนวเขตที่ดี มีที่ราบบนสันเขาเปน็ แนวกว้าง ประกอบด้วยเนินเขาท่ีมีความสูงประมาณ
400-500 เมตร ภูมิประเทศของภโู นจะเป็นเขาสงู ชันโดยรอบ พื้นท่ีมคี วามลาดเอียงจากทศิ เหนือลงใต้ มีเนินเขา
เล็ก ๆ วางตัวสลบั ซับซ้อนอยู่ มคี วามสงู ประมาณ 200-500 เมตร มีภปู ักกอก ภูหินเพชร ภูเชอื ก ภถู า้ ถุง และภู
คาไฮ เป็นตน้

ลักษณะภูมิอำกำศ

พ้ืนท่ีป่าภูโนจัดอยู่ในเขตภูมิอากาศเป็นทุ่งหญ้าเขตร้อน ในรอบหนึ่งปีจะมีฤดูแล้งที่ยาวนาน ฤดูร้อน
อณุ หภมู ิสงู สดุ ประมาณ 40 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวอุณหภูมิตา่ สุดประมาณ 18 องศาเซลเซยี ส ฤดูฝนส่วนใหญ่
ไดร้ ับอิทธิพลจากลมมรสุมที่พัดผ่าน ปรมิ าณน้าฝนเฉล่ียปีละ 1,770 มิลลเิ มตร มีฝนตกชกุ ระหว่างเดือนสิงหาคม
ถึงเดือนกันยายน มีสภาพภูมิอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี โดยเฉพาะในฤดูหนาวอุณหภูมิจะต่ามากประมาณ
0-4 องศาเซลเซียส มีหมอกปกคลุมทั่วบริเวณ ส่วนฤดูร้อนอากาศจะเย็นสบาย ฝนตกชุกในฤดูฝน อุณหภูมิเฉลี่ย
ทง้ั ปปี ระมาณ 18-25 องศาเซลเซยี ส

ควำมสำคัญของพ้ืนทด่ี ้ำนอนุรักษส์ ัตว์ปำ่

อดีตพื้นที่ป่าดงมูลถูกสัมปทานทาไม้ ทาให้พื้นท่ีป่าถูกบุกรุกเพ่ือทากินและอยู่อาศัย จึงมีโครงการ
ปรับปรุงป่าสงวนแห่งชาติในรูปแบบหมู่บ้านป่าไม้ ภูมิประเทศเป็นเขาสูงชันโดยรอบ มีที่ราบบนสันเขา มีเนินเขา
วางตัวซ้อนกันอยู่ เป็นแหล่งต้นน้าลาธารที่สาคัญ เช่น ห้วยเดือก จากเทือกเขาภูโนไหลผ่านบ้านไทรทอง
บา้ นหนองกบ แลว้ ไหลรวมกบั หว้ ยหนองแสน ผ่านบ้านนาคานอ้ ยลงสู่ลาน้าปาว หว้ ยสายบาตร จากเทือกเขาภู
โนไหลผ่านอาเภอกระนวนลงสลู่ าน้าชี และเป็นลาห้วยแบ่งเขตของจังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวดั ขอนแก่น พ้ืนท่ี
ปา่ ภโู นยังเป็นพน้ื ทอี่ ยู่ใกลก้ ับป่าสงานแห่งชาติปา่ เขาสวนกวาง สามารถเชอ่ื มต่อพน้ื ท่ีปา่ ท้ังสองเพื่อเพ่ิมศักยภาพ
ในการเปน็ ถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของสตั วป์ ่า

สตั วป์ ำ่ ที่สำคญั

อีเก้ง ลิง หมูป่า อีเห็น เม่น พังพอน บ่าง กระต่ายป่า กระรอก กระแต ไก่ป่า นกเขาชวา นกเขาใหญ่
เหยี่ยว งเู หลอื ม งูเหา่ ตะกวด เปน็ ต้น

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีเตรียมประกาศเขตห้ามลา่ สตั ว์ปา่ ภโู น

4

กำรคมนำคม เส้นทางคมนาคม มี 2 เส้นทาง
1. จากจังหวัดขอนแก่นตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2252 เข้าสู่อาเภอน้าพอง ระยะทาง 30

กิโลเมตร ไปอาเภอกระนวน อาเภอหนองกุงศรี ระยะทาง 17 กิโลเมตร จากอาเภอหนองกุงศรีไปบ้านภูฮัง
เลย้ี วซ้ายไป วัดบ้านไทรทอง ตรงไปจนถึงโครงการพัฒนาปา่ ดงมลู 2 รวมระยะทาง 112 กิโลเมตร

2. สายกาฬสินธุ์ ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2299 เข้าสู่อาเภอสหัสขันธ์ ประมาณ 35
กิโลเมตร แล้วข้ามแพขนานยนต์ ไปอาเภอหนองกุงศรี ประมาณ 20 กิโลเมตร จากหนองกุงศรีเข้าสู่โครงการ
พฒั นาปา่ ดงมูล 1 ประมาณ 17 กโิ ลเมตร เข้าโครงการ 2 ประมาณ 11 กิโลเมตร รวมระยะทาง 83 กโิ ลเมตร

รูปแรบปู บแแบลบะแวลธิ ะีกวำิธรกีสำำรรสวำจรทวรจพั ทยรำพั กยรำปก่ำรไปม้่ำไม้

กำรสมุ่ ตัวอย่ำง (Sampling Design)
ในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) โดยวาง

แปลงตัวอย่าง (Sample plot) แบบวงกลมขนาด 0.1 แฮกแตร์ ระยะ 2.5x2.5 กิโลเมตร ท่ัวทั้งพ้ืนที่ โดยเร่ิม
จากการสุ่มแปลงตวั อย่างแรกลง ณ จุดตดั ของเส้นกรดิ (Grid) บนแผนท่ีประเทศไทย มาตราสว่ น 1:50,000 ซง่ึ
เปน็ พืน้ ที่ท่ีภาพถา่ ยดาวเทยี มแปลว่ามสี ภาพเป็นปา่ ลกั ษณะของแปลงตัวอยา่ งแสดงดังภาพท่ี 1

ภำพท่ี 1 รูปแบบและขนำดของแปลงตัวอยำ่ ง
รูปแบบและขนำดของแปลงตัวอย่ำง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสารวจ มีทั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างช่ัวคราว เป็น
แปลงท่มี ขี นาดคงที่ (Fixed Area Plot) และมรี ูปรา่ ง 2 ลกั ษณะด้วยกนั คอื

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทเ่ี ตรยี มประกาศเขตหา้ มล่าสตั ว์ปา่ ภโู น

5

1. รูปวงกลม (Circular Plot)

1.1 รปู วงกลมทม่ี ีจดุ ศูนย์กลางร่วมกัน รัศมแี ตกตา่ งกัน จานวน 3 วง คอื วงกลมรัศมี 3.99, 12.62 และ
17.84 เมตรตามลาดับ

1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดยจุด
ศูนยก์ ลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลักทัง้ 4 ทิศ

2. แบบเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดยมีจุดเร่ิมต้น
ร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทามุมฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งค่ามุม Azimuth ของเส้นที่ 1 ได้จากการสุ่ม
ตัวอย่าง

ขนำดของแปลงตัวอย่ำงและขอ้ มูลท่ีทำกำรสำรวจ

ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลที่ทาการสารวจ แสดงรายละเอยี ดไวใ้ นตารางท่ี 1

ตำรำงท่ี 1 ขนำดของแปลงตัวอย่ำงและข้อมูลท่ดี ำเนินกำรสำรวจ

รศั มขี องวงกลม หรือ จำนวน พน้ื ที่/ควำมยำว ขอ้ มลู ทส่ี ำรวจ
ควำมยำว (เมตร)

0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กลา้ ไม้ (Seedling)

3.99 1 วง 0.005 เฮกตาร์ ลกู ไม้ (Sapling) และการปกคลมุ พ้ืนทข่ี องกล้าไม้

(Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)

12.62 1 วง 0.05 เฮกตาร์ ไผ่ หวายที่ยังไมเ่ ล้ือย และตอไม้

17.84 1 วง 0.1 เฮกตาร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปจั จยั ท่รี บกวนพน้ื ท่ปี า่

17.84 (เสน้ ตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลือ้ ย

และไม้เถาว์ ที่พาดผ่าน

กำรกวำิเรควรเิำคะรหำข์ ะ้อหม์ขลู อ้ กมำูลรกสำำรรทวรจพั ทยรำัพกยรำปก่ำรไปมำ่้ ไม้

1. กำรคำนวณเน้อื ทป่ี ่ำและปริมำณไม้ทงั้ หมด

1.1 ใชข้ ้อมลู พนื้ ทีจ่ ากแผนท่ีแนบท้ายกฤษฎกี า

1.2 ใช้สัดส่วน ชนิดป่า หรือชนิดป่า จากแปลงตัวอย่างท่ีสารวจพบ เปรียบเทียบกับจานวนแปลง
ตัวอย่างท้งั หมดในพ้ืนท่ี

1.3 ในกรณีที่ไม่สามารถเข้าถึงแปลงตัวอย่างได้ ให้ประเมินสภาพพื้นที่ของแปลงตัวอย่างจากภาพถ่าย
ดาวเทียมหรือภาพถา่ ยทางอากาศ แลว้ นารวมกนั เพือ่ คานวณเปน็ เนื้อท่ีปา่ แต่ละชนิด

1.4 ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดของพ้นื ที่ เป็นการประมาณโดยใชข้ อ้ มูลพน้ื ท่ีจากแผนทแี่ นบท้ายกฤษฎกี า

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทเ่ี ตรยี มประกาศเขตห้ามลา่ สตั วป์ ่าภูโน

6

2. กำรคำนวณปริมำตรไม้

สมการปริมาตรไม้ที่ใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพ้ืนที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume Based
Approach โดยแบง่ กลมุ่ ของชนดิ ไม้เป็นจานวน 7 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จนั ทน์กะพ้อ สนสองใบ

ใช้สมกำร ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ กระพี้จั่น กระพี้เขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน กระพ้ี
ถ่อน แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกุลมะเกลอื

ใช้สมกำร ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอ้าย กระบก ตะคร้า ตะคร้อ
ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เล่ียน มะฮอกกานี ขีอ้ า้ ย ตะบนู ตะบนั รกั ติ้ว สะแกแสง ป่เู จ้า
และไมส้ กลุ สา้ น เสลา อนิ ทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค

ใชส้ มกำร ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

กล่มุ ท่ี 4 ได้แก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลมุ พอ และสกุลข้เี หล็ก
ใช้สมกำร ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

กลุ่มที่ 5 ได้แก่ สกลุ ประดู่ เติม
ใช้สมกำร ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99

กลมุ่ ท่ี 6 ไดแ้ ก่ สกั ตีนนก ผ่าเสยี้ น หมากเล็กหมากน้อย ไข่เนา่ กระจบั เขา กาสามปกี สวอง
ใชส้ มกำร ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186

กลุ่มที่ 7 ได้แก่ ไมช้ นิดอนื่ ๆ เช่น กุ๊ก ขวา้ ว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมนั แสมสาร และไม้
ในสกุลปอ กอ่ เปล้า เป็นต้น

ใช้สมกำร ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยที่ V คือ ปรมิ าตรสว่ นลาต้นเมื่อตดั โค่นทคี่ วามสงู เหนือพ้นื ดิน (โคน) 10 เซนติเมตร

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่เี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าภูโน

7

ถึงกิ่งแรกที่ทาเป็นสินคา้ ได้ มีหนว่ ยเป็นลกู บาศกเ์ มตร
DBH มหี นว่ ยเป็นเซนตเิ มตร
ln = natural logarithm

3. ข้อมูลทว่ั ไป

ข้อมูลทั่วไปท่ีนาไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีต้ัง ตาแหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ท่ีทาการเก็บข้อมูล
ความสูงจากระดับน้าทะเล และสภาพป่า เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้ประกอบในการวิเคราะห์และ
ประเมินผลร่วมกับข้อมูลด้านอ่ืน ๆ เพื่อติดตามความเปล่ียนแปลงของพื้นที่และทรัพยากรป่าไม้ในการสารวจ
ครัง้ ตอ่ ไป

4. กำรวเิ ครำะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหม่ไู ม้

4.1 ความหนาแนน่

4.2 ปรมิ าตร

4.3 ข้อมูลชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling)

4.4 ขอ้ มูลชนดิ และปริมาณของกลา้ ไม้ (Seedling)

5. กำรวิเครำะหข์ ้อมลู ชนิดและปรมิ ำณของไม้ไผ่ หวำย

5.1 ความหนาแนน่ ของไมไ้ ผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)

5.2 ความหนาแน่นของหวายเสน้ ต้ัง (จานวนตน้ )

6. กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูลสังคมพืช

การวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในด้านความถ่ี (Frequency) ความหนาแน่น (Density) ความเด่น
(Dominance) และความสาคัญทางนิเวศวทิ ยา (Important Value Index, IVI) โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะห์
ข้อมลู ดังน้ี

6.1) ความหนาแนน่ ของพรรณพืช (Density: D) คือ จานวนตน้ ทัง้ หมดของไม้แต่ละชนิด ทพี่ บในแปลง
ตัวอยา่ งต่อเนื้อทีข่ องพื้นที่ที่ทาการสารวจ

Da = จานวนต้นทงั้ หมดของไมช้ นิดน้นั
.

พืน้ ที่แปลงตวั อย่างทง้ั หมดทท่ี าการสารวจ

6.2) ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบพันธ์ุไม้ชนิดนั้น ต่อ
จานวนแปลงท้ังหมดท่ีทาการสารวจ

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่เี ตรียมประกาศเขตห้ามล่าสตั วป์ า่ ภูโน

8

Fa = จานวนแปลงตัวอยา่ งที่พบไม้ชนิดทกี่ าหนด X 100
จานวนแปลงตวั อยา่ งท้ังหมดทที่ าการสารวจ

6.3) ความเด่น (Dominance: Do) ใช้ความเด่นด้านพ้ืนท่ีหน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พ้นื ทห่ี น้าตัดของต้นไม้ที่ระดับ 1.30 เมตร ต่อพืน้ ท่ีทที่ าการสารวจ

Do = พืน้ ท่ีหนา้ ตัดทัง้ หมดของไมช้ นิดที่กาหนด X 100
พื้นทีแ่ ปลงตัวอยา่ งทท่ี าการสารวจ

6.4) ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density: RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่นของไม้
แตล่ ะชนดิ ต่อค่าความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RDa = ความหนาแนน่ ของไมช้ นดิ นั้น X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ ุกชนดิ

6.5) คา่ ความถ่สี มั พัทธ์ (Relative Frequency: RF) คอื คา่ ความสัมพัทธข์ องความถ่ีของแต่ละชนิดไม้
ต่อคา่ ความถี่ทงั้ หมดของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตัวอย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ

RFa = ความถข่ี องไม้ชนิดน้ัน X 100
ความถร่ี วมของไมท้ กุ ชนิด

6.6) ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ คา่ ความสัมพันธข์ องความเดน่
ในรปู พ้ืนท่หี นา้ ตัดของไมแ้ ต่ละชนดิ ต่อความเดน่ รวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RDoa = ความเด่นของไมช้ นดิ น้นั X 100
ความเด่นรวมของไม้ทุกชนดิ

6.7) คา่ ดัชนคี วามสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) คือ ผลรวมของคา่ ความสมั พัทธ์
ต่าง ๆ ของชนิดไม้ในสังคมพืช ประกอบด้วย ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถี่
และค่าความสมั พทั ธด์ ้านความเดน่

IVI = RD + RF + RDo
7. วิเครำะหข์ ้อมูลเก่ยี วกบั ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ โดยทาการวเิ คราะหค์ ่าต่าง ๆ ดังนี้

7.1) ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) คิดจากจานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏในสังคม
และจานวนตน้ ที่มใี นแตล่ ะชนดิ พนั ธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of Diversity
ตามวิธกี ารของ Kreb (1972) ซึ่งมสี ูตรการคานวณดงั ตอ่ ไปน้ี

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทเี่ ตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ ภโู น

9

โดย H คอื คา่ ดชั นีความหลากชนิดของชนิดพนั ธไ์ุ ม้
Pi คอื สัดสว่ นระหว่างจานวนตน้ ไมช้ นิดที่ i ตอ่ จานวนตน้ ไม้ทงั้ หมด
S คือ จานวนชนดิ พันธไ์ุ ม้ทงั้ หมด

7.2) ความรา่ รวยของชนดิ พนั ธุ์ (Richness Indices) อาศยั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งจานวนชนิดกับ
จานวนต้นท้งั หมดที่ทาการสารวจ ซ่ึงจะเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มพืน้ ท่ีแปลงตวั อย่าง และดชั นีความร่ารวย ท่ีนิยมใช้กัน
คือ วธิ ขี อง Margalef index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสตู รการ
คานวณดงั น้ี

(1) Margalef Index (R1)

R1 = (S-1) / ln(n)
(2) Menhinick Index (R2)

R2 = S / √

เมือ่ S คือ จานวนชนดิ ทัง้ หมดในสงั คม
n คอื จานวนต้นทัง้ หมดทส่ี ารวจพบ

7.3) ความสม่าเสมอของชนิดพนั ธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนที ่ตี ัง้ อย่บู นสมมติฐานทว่ี ่า ดัชนคี วาม
สม่าเสมอจะมีค่ามากที่สุดเม่ือทุกชนิดในสังคมมีจานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้กันมากในหมู่นัก
นเิ วศวทิ ยา คอื วธิ ขี อง Pielou (1975) ซ่งึ มีสตู รการคานวณดงั นี้

E = H/ ln(S)
= ln (N1)/ln (N0)

เมื่อ H คอื ค่าดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จานวนชนิดทง้ั หมด (N0)
N1 คอื eH

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่ีเตรยี มประกาศเขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ ภูโน

10

ผลกำรสำรวจและวเิ ครำะหข์ อ้ มลู ทรพั ยำกรปำ่ ไม้

1. แปลงตัวอยำ่ ง
ทาการวางแปลงตวั อยา่ งแบบวงกลม ขนาด 0.1 แฮกแตร์ ระยะหา่ ง 2.5 x 2.5 กโิ ลเมตร กระจาย

ครอบคลุมพื้นที่อุทยานฯ (44,614 ไร่ หรือ 71.38 ตารากโิ ลเมตร) จานวนท้งั สนิ้ 12 แปลง แสดงดงั ภาพที่ 2

ภำพท่ี 2 พกิ ัดตำแหน่งแปลงตัวอยำ่ ง
2. พื้นที่ปำ่ ไม้

จากผลการสารวจ สามารถจาแนกสภาพพื้นท่ีป่าได้ 3 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และ
พื้นที่เกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) โดยพบว่าป่าเบญจพรรณมีพื้นที่มากที่สุด 35.69 ตารางกิโลเมตร
(22,307.00 ไร)่ คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 ของพื้นท่ีท้ังหมด รองลงมา คือ ปา่ ดบิ แลง้ มีพ้นื ท่ี 29.74 ตารางกิโลเมตร
(18,589.17 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 41.67 ของพื้นท่ีทั้งหมด และพ้ืนท่ีเกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) มีพื้นท่ี 5.95
ตารางกโิ ลเมตร (3,717.83 ไร่) คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.33 ของพนื้ ท่ที งั้ หมด ดังแสดงในภาพที่ 3 และตารางที่ 2

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ที่เตรียมประกาศเขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ ภูโน

11

ภำพท่ี 3 ชนดิ ป่ำในพน้ื ที่เตรียมประกำศเขตห้ำมล่ำสตั วป์ ่ำภโู น

ตำรำงที่ 2 พ้นื ท่ีปำ่ ไม้จำแนกตำมลกั ษณะกำรใช้ประโยชน์ทด่ี ิน (Area by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ พืน้ ท่ี ร้อยละ

(Landuse Type) ตร.กม ไร่ เฮกแตร์ ของพ้ืนท่ีทง้ั หมด

ปา่ เบญจพรรณ 35.69 22,307.00 3,569.12 50.00

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ ดิบแล้ง 29.74 18,589.17 2,974.27 41.67

(Dry Evergreen Forest)

ไรม่ ันสาปะหลัง 5.95 3,717.83 594.85 8.33

(Cassava)

รวม 71.38 44,614.00 7,138.24 100.00

หมายเหตุ : ไมส่ ามารถดาเนนิ การจานวนได้ 1 แปลง (ป่าดิบแล้ง) เนื่องจากพื้นทสี่ ูงชัน

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่เตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั ว์ปา่ ภโู น

12

ภำพท่ี 4 ลักษณะของป่ำเบญจพรรณท่ีสำรวจพบในพนื้ ท่ีเตรยี มประกำศเขตห้ำมลำ่ สัตว์ปำ่ ภโู น

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเ่ี ตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ ภูโน

13

ภำพท่ี 5 ลักษณะของปำ่ ดิบแล้งท่ีสำรวจพบในพนื้ ที่เตรยี มประกำศเขตห้ำมลำ่ สตั ว์ป่ำภโู น

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่ีเตรียมประกาศเขตห้ามล่าสตั วป์ า่ ภโู น

14

ภำพที่ 6 ลกั ษณะของพนื้ ท่เี กษตรกรรมท่ีสำรวจพบในพื้นที่เตรียมประกำศเขตหำ้ มล่ำสตั ว์ปำ่ ภโู น

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเี่ ตรยี มประกาศเขตห้ามล่าสตั วป์ ่าภูโน

15

3. ปรมิ ำณไม้

ในการประเมินความหนาแนน่ ของหมู่ไม้ในพ้ืนที่ พบว่า มีความหนาแน่นของหมู่ไม้เฉล่ยี 67.20 ต้นต่อ
ไร่ และมีปรมิ าตรไมเ้ ฉลยี่ 10.60 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่

ไม้ยืนต้นท่ีมีความสงู มากกวา่ 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ตั้งแต่ 15 เซนติเมตรข้ึนไป
มจี านวนมากกวา่ 63 ชนดิ รวม 2 , 9 9 6 , 5 7 4 ตน้ คิดเปน็ ปรมิ าตรไม้ 4 7 3 , 1 1 7 . 3 8 ลกู บาศก์เมตร

ป่าเบญจพรรณเป็นป่าท่ีมีปริมาณไม้มากที่สุด ประมาณ 1,719,126 ต้น รองลงมา ได้แก่ ป่าดิบแล้ง
จานวน 1,241,756 ตน้ สาหรบั ปริมาตรไม้ พบวา่ ปา่ เบญจพรรณมีปริมาตรไมม้ ากท่สี ดุ ประมาณ 272,177.63
ลูกบาศก์เมตร รองลงมา ได้แก่ ป่าดิบแล้ง 198,292.05 ลูกบาศก์เมตร แสดงดังตารางที่ 3-4 และ ภาพท่ี 7-8
ตามลาดบั

ตำรำงที่ 3 ควำมหนำแนน่ และปรมิ ำตรไม้ต่อหนว่ ยพืน้ ที่จำแนกตำมลักษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน

(Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ี่ดิน ควำมหนำแน่น ปริมำตร

(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/แฮกแตร์ ลบ.ม/ไร่ ลบ.ม/เฮกแตร์

ป่าเบญจพรรณ 77.07 481.67 12.20 76.26

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าดิบแลง้ 66.80 417.50 10.67 66.67

(Dry Evergreen Forest)

พ้ืนทเ่ี กษตรกรรม (ไรม่ นั สาปะหลงั ) 9.60 60.00 0.71 4.45

(Cassava)

เฉลี่ย 67.20 420.00 10.60 66.24

ภำพที่ 7 ควำมหนำแน่นและปรมิ ำตรไมเ้ ฉลี่ยจำแนกตำมลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่ีเตรยี มประกาศเขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าภูโน

16

ตำรำงที่ 4 ปริมำณไม้ท้ังหมดจำแนกตำมลักษณะกำรใช้ประโยชน์ท่ีดิน

(Volume by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ปรมิ ำณไม้ทั้งหมด

(Landuse Type) จำนวนตน้ (ตน้ ) ปริมำตร (ลบ.ม.)

ป่าเบญจพรรณ 1,719,126 272,177.63

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าดบิ แลง้ 1,241,756 198,292.05

(Dry Evergreen Forest)

พนื้ ที่เกษตรกรรม (ไรม่ ันสาปะหลงั ) 35,691 2,647.71

(Cassava)

รวม 2,996,574 473,117.38

ภำพท่ี 8 ปริมำณและปรมิ ำตรไม้ท้ังหมดจำแนกตำมลกั ษณะกำรใช้ประโยชน์ทด่ี ิน

ตำรำงท่ี 5 กำรกระจำยของตน้ ไมใ้ นแต่ละชว่ งขนำดควำมโต

ขนำดควำมโต (GBH) ปริมำณไมท้ ัง้ หมด (ต้น) ร้อยละ (%)

15 – 45 ซม. 2,010,688 67.10
28.14
> 45 – 100 ซม. 843,192 4.76
100.00
> 100 ซม. 142,694

รวม 2,996,574

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ที่เตรียมประกาศเขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ ภโู น

17

ภำพที่ 9 กำรกระจำยของต้นไมใ้ นแตล่ ะชว่ งขนำดควำมโต

4. ชนิดพันธ์ุไม้

พันธุ์ไม้จาแนกโดยเจ้าหน้าท่ีท่ีทาการสารวจและคนในพื้นที่ที่มาช่วยเก็บข้อมูล ซ่ึงมีความรู้และรู้จัก
ชนิดพันธุ์ไม้ประจาถ่ิน ในกรณีท่ีไม่สามารถจาแนกชนิดได้ จะทาการเก็บตัวอย่างชนิดพันธุไ์ ม้นน้ั ๆ แล้วนามาให้
ผเู้ ชยี่ วชาญด้านพันธ์ุไม้ของสานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาตสิ ัตวป์ ่าและพันธุ์พืช ช่วยจาแนกชื่อวิทยาศาสตร์
ทถ่ี กู ต้องใหต้ ่อไป

ผลการสารวจทรัพยากรปา่ ไม้ในพืน้ ทเี่ ตรยี มประกาศเขตหา้ มล่าสัตวป์ ่าภโู น

1. พบชนิดพันธุ์ไม้ 31 วงศ์ มากกว่า 63 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 2,996,574 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม
473,117.38 ลกู บาศก์เมตร หมูไ่ ม้มีคา่ ความหนาแนน่ เฉลย่ี 67.20 ตน้ ตอ่ ไร่ มปี รมิ าตรไมเ้ ฉล่ยี 10.60 ลูกบาศก์
เมตรตอ่ ไร่

ชนิดไมท้ ี่มีปริมาตรไมม้ ากท่สี ุด 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ งิ้วป่า (Bombax anceps) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) รงั (Shorea siamensis) มะกอก (Spondias pinnata) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata)
เสย้ี วป่า (Bauhinia saccocalyx) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata)
มังตาน (S c h i m a w a l l i c h i i) กระถิน (L e u c a e n a l e u c o c e p h a l a) แสดงในตารางที่ 6

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทีเ่ ตรยี มประกาศเขตห้ามลา่ สตั ว์ป่าภูโน

18

2. ป่าเบญจพรรณ มปี รมิ าณไมร้ วม 1,719,126 ตน้ คดิ เปน็ ปริมาตรไมร้ วม 272,177.63 ลกู บาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉลย่ี 77.07 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลยี่ 12.20 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่

ชนิดไม้ที่มีปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รัง (Shorea
siamensis) มะกอก (Spondias pinnata) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) เสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx)
มะค่าแต้ (Sindora siamensis) งิ้วป่า (Bombax anceps) กระถิน (Leucaena leucocephala) แดง (Xylia
xylocarpa) มะพลับดง (Diospyros Kerrii) แสดงในตารางท่ี 7

3. ป่าดิบแล้ง มีปริมาณไม้รวม 1,241,756 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 198,292.05 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉล่ีย 66.83 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลีย่ 10.67 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่

ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ ง้ิวป่า (Bombax anceps) ตะเคียนหนู (Anogeissus
acuminata) มังตาน (Schima wallichii) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia
balansae) ซ้อ (Gmelina arborea) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) กาจัดต้น (Zanthoxylum
limonella) สะทบิ (Phoebe paniculata) มะยมปา่ (Ailanthus triphysa) แสดงในตารางที่ 8

4. พื้นที่เกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) มีปริมาณไม้รวม 35,619 ต้น มีปริมาตร 2,647.71
ลกู บาศกเ์ มตร มีค่าความหนาแนน่ เฉลยี่ 9.60 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปรมิ าตรไมเ้ ฉล่ีย 0.71 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่

ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรมาก ได้แก่ ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) และ โมกมัน (Wrightia arborea)
แสดงในตารางที่ 9

5. ลูกไม้ (Sapling) มีมากกว่า 10 ชนิด รวมท้งั สิ้น 9,636,624 ตน้ มีความหนาแน่นของ 216.00 ตน้ ต่อ
ไร่

ลูกไมท้ ี่มีปริมาณมากทสี่ ุด ได้แก่ กระถนิ (Leucaena leucocephala) รองลงมา คอื ข่อย (Streblus
asper) แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สัก (Tectona grandis) ข่อยหนาม
(Streblus ilicifolius) และ สม้ กบ (Hymenodictyon orixense) แสดงดงั ตารางท่ี 10

6. กล้าไม้ (Seedling) มีมากกว่า 17 ชนิด รวมจานวนทั้งส้ิน 251,028,107 ต้น มีความหนาแน่น
5,626.67 ตน้ ตอ่ ไร่

กล้าไม้ท่ีมีปริมาณมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ กระถิน (Leucaena leucocephala) ข่อย (Streblus
asper) เสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) ชงโค (Bauhinia purpurea)
ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) เขลง (Dialium cochinchinense)
คอแลน (Nephelium hypoleucum) สกั (Tectona grandis) แสดงในตารางท่ี 11

7. ไผ่ (Bamboo) พบ 2 ชนิด ได้แก่ เป๊าะ (Dendrocalamus giganteus) และ เพ็ก (Vietnamosasa
pusilla) มีปริมาณไม้ไผจ่ านวน 975,559 กอ รวมทัง้ ส้นิ 12,729,861 ลา แสดงในตารางที่ 12

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทเ่ี ตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั วป์ ่าภูโน

19

8. ตอไม้ พบมากกว่า 2 ชนิด รวมท้ังสิ้น 190,353 ตอ มีความหนาแน่น 4.27 ตอต่อไร่ ชนิดไม้ที่พบ
มาก ได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และ พลบั พลา (Microcos tomentosa) ตามลาดับ แสดงใน
ตารางท่ี 13

ตำรำงท่ี 6 ปรมิ ำณไม้ท้ังหมดของพื้นทเี่ ตรยี มประกำศเขตหำ้ มล่ำสตั ว์ปำ่ ภโู น (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ ำตรไม้สงู สุด)

ลำดบั ชนิดพันธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณทง้ั หมด ปริมำตรท้ังหมด ควำมหนำแนน่ ปริมำตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร)่

1 ง้วิ ปา่ Bombax anceps 43,127 69,160.07 1.02 1.44
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 130,868 37,682.60 3.20 0.92

3 รัง Shorea siamensis 148,713 32,287.96 3.64 0.79

4 มะกอก Spondias pinnata 11,897 27,239.48 0.29 0.67
5 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 35,691 24,412.60 0.87 0.60
6 เส้ยี วป่า Bauhinia saccocalyx 23,794 21,265.04 0.58 0.52

7 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 193,327 18,338.98 4.65 0.45
22,307 18,161.86 0.44 0.36
8 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata

9 มงั ตาน Schima wallichii 14,871 16,952.48 0.29 0.33
10 กระถนิ Leucaena leucocephala 295,940 11,311.34 6.98 0.27
11 มะพลับดง Diospyros Kerrii 25,281 9,070.42 0.58 0.21

12 คอแลน Nephelium hypoleucum 74,357 10,167.08 1.45 0.20
50,563 9,702.43 1.02 0.20
13 ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia balansae

14 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 52,050 7,549.30 1.16 0.18

15 แดง Xylia xylocarpa 190,353 6,522.18 4.65 0.16
16 ขว้าว Haldina cordifolia 47,588 5,841.31 1.16 0.14

17 ซอ้ Gmelina arborea 7,436 6,406.64 0.15 0.13
18 มะเกลือ Diospyros mollis 40,153 5,380.64 0.87 0.12
19 กระทุ่ม Anthocephalus chinensis 17,846 3,030.15 0.44 0.07

20 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 14,871 3,711.09 0.29 0.07
21 ขีเ้ หลก็ Senna siamea 29,743 2,942.16 0.73 0.07

22 สัตบรรณ Alstonia scholaris 23,794 2,908.51 0.58 0.07
23 กาจดั ตน้ Zanthoxylum limonella 22,307 3,500.28 0.44 0.07
24 โมกมนั Wrightia arborea 17,846 2,613.76 0.44 0.06

25 พะยูง Dalbergia cochinchinensis 23,794 2,381.08 0.58 0.06
26 สะทิบ Phoebe paniculata 44,614 2,972.69 0.87 0.06
27 มะยมป่า Ailanthus triphysa 7,436 2,912.41 0.15 0.06

28 ขานาง Homalium tomentosum 23,794 2,322.74 0.58 0.06
29 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 63,947 2,439.51 1.45 0.05

30 ยมหิน Chukrasia tabularis 5,949 1,921.12 0.15 0.05
31 อน่ื ๆ Others 1,292,319 102,009.46 27.49 2.18

รวม 2,996,574 473,117.38 67.20 10.60

หมายเหตุ : พันธุไ์ ม้ทส่ี ารวจพบมากกว่า 63 ชนิด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเ่ี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั ว์ปา่ ภโู น

20

ตำรำงท่ี 7 ปริมำณไม้ในป่ำเบญจพรรณของพ้ืนท่ีเตรียมประกำศเขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำภูโน

(30 ชนิดแรกท่ีมปี รมิ ำตรไม้สูงสดุ )

ลำดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณท้งั หมด ปรมิ ำตรทง้ั หมด ควำมหนำแน่น ปรมิ ำตร
(ลบ.ม./ไร่)
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่
1.69
1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 130,868 37,682.60 5.87 1.45
2 รัง Shorea siamensis 148,713 32,287.96 6.67 1.22
1.09
3 มะกอก Spondias pinnata 11,897 27,239.48 0.53 0.95
0.81
4 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 35,691 24,412.60 1.60 0.80
5 เส้ยี วปา่ Bauhinia saccocalyx 23,794 21,265.04 1.07 0.40
0.29
6 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 178,456 18,021.39 8.00 0.29
0.26
7 ง้ิวป่า Bombax anceps 35,691 17,908.14 1.60 0.25
8 กระถิน Leucaena leucocephala 243,890 8,964.09 10.93 0.16
0.14
9 แดง Xylia xylocarpa 190,353 6,522.18 8.53 0.13
10 มะพลบั ดง Diospyros Kerrii 17,846 6,434.83 0.80 0.13
11 ขวา้ ว Haldina cordifolia 47,588 5,841.31 2.13 0.11
0.10
12 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 29,743 5,621.96 1.33 0.09
13 มะเกลอื Diospyros mollis 17,846 3,649.80 0.80 0.08
0.06
14 กระทมุ่ Anthocephalus chinensis 17,846 3,030.15 0.80 0.06
0.06
15 ขเ้ี หล็ก Senna siamea 29,743 2,942.16 1.33 0.05
16 สตั บรรณ Alstonia scholaris 23,794 2,908.51 1.07 0.05
0.04
17 โมกมนั Wrightia arborea 11,897 2,483.58 0.53 0.03
18 ขานาง Homalium tomentosum 23,794 2,322.74 1.07 0.03
19 ยมหิน Chukrasia tabularis 5,949 1,921.12 0.27 0.02
0.02
20 เขลง Dialium cochinchinense 11,897 1,701.81 0.53 1.32
21 สกั Tectona grandis 41,640 1,417.45 1.87 12.20

22 สะเดา Azadirachta indica 5,949 1,339.06 0.27
23 หมกั มอ่ Rothmannia wittii 5,949 1,267.51 0.27
24 กระพ้ีจั่น Millettia brandisiana 29,743 1,147.24 1.33

25 ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia balansae 5,949 1,135.66 0.27
35,691 983.58 1.60
26 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 41,640 693.59 1.87

27 พลับพลา Microcos tomentosa

28 กุ๊ก Lannea coromandelica 5,949 605.13 0.27
11,897 488.81 0.53
29 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum

30 แคหัวหมู Markhamia stipulata 11,897 486.72 0.53
31 อน่ื ๆ Others 285,530 29,451 12.80

รวม 1,719,126 272,177.63 77.07

หมายเหตุ : พนั ธุ์ไมท้ สี่ ารวจพบมากกว่า 41 ชนิด

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทเ่ี ตรยี มประกาศเขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ ภโู น

21

ตำรำงท่ี 8 ปริมำณไม้ในป่ำดิบแล้งของพ้ืนที่เตรียมประกำศเขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำภูโน

(30 ชนิดแรกที่มีปรมิ ำตรไม้สูงสุด)

ลำดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ชอ่ื วิทยำศำสตร์ ปริมำณท้ังหมด ปริมำตรทง้ั หมด ควำมหนำแนน่ ปริมำตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 ง้วิ ปา่ Bombax anceps 7,436 51,251.93 0.40 2.76
22,307 18,161.86 1.20 0.98
2 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 14,871 16,952.48 0.80 0.91
74,357 10,167.08 4.00 0.55
3 มังตาน Schima wallichii 44,614 8,566.77 2.40 0.46
7,436 6,406.64 0.40 0.34
4 คอแลน Nephelium hypoleucum 14,871 3,711.09 0.80 0.20
22,307 3,500.28 1.20 0.19
5 ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia balansae 44,614 2,972.69 2.40 0.16
7,436 2,912.41 0.40 0.16
6 ซอ้ Gmelina arborea 7,436 2,635.59 0.40 0.14
52,050 2,347.25 2.80 0.13
7 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 29,743 2,152.31 1.60 0.12
22,307 1,927.34 1.20 0.10
8 กาจดั ตน้ Zanthoxylum limonella 22,307 1,730.84 1.20 0.09
22,307 1,644.75 1.20 0.09
9 สะทิบ Phoebe paniculata 22,307 1,594.89 1.20 0.09
22,307 1,319.48 1.20 0.07
10 มะยมปา่ Ailanthus triphysa 7,436 0.40 0.03
37,178 522.27 2.00 0.03
11 มะพลับดง Diospyros Kerrii 29,743 472.54 1.60 0.02
22,307 399.08 1.20 0.02
12 กระถนิ Leucaena leucocephala 14,871 381.74 0.80 0.02
14,871 317.59 0.80 0.01
13 ข่อย Streblus asper 104,099 183.88 5.60 0.43
22,307 7,916.22 1.20 0.04
14 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 7,436 805.88 0.40 0.03
81,792 472.51 4.40 0.57
15 มะเกลอื Diospyros mollis 44,614 10,648.21 2.40 0.55
22,307 10,241.11 1.20 0.04
16 คา้ งคาว Aglaia edulis 371,783 794.71 20.00 1.35
25,181
17 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifolia 1,241,756 66.80 10.67
198,292.05
18 สม้ กบ Hymenodictyon orixense

19 นนทรี Peltophorum pterocarpum

20 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius

21 หมักมอ่ Rothmannia wittii

22 มะชมพ่ปู า่ Syzygium megacarpum

23 มะค่าแต้ Sindora siamensis

24 หว้า Syzygium cumini

25 F.MELASTOMATACEAE F.MELASTOMATACEAE

26 F.DIPTEROCARPACEAE F.DIPTEROCARPACEAE

27 F.STERCULIACEAE F.STERCULIACEAE

28 Diospyros sp. Diospyros sp.

29 Syzygium sp. Syzygium sp.

30 Magnolia sp. Magnolia sp.

31 อื่นๆ Others

รวม

หมายเหตุ : พนั ธ์ุไมท้ ่ีสารวจพบมากกว่า 32 ชนิด

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทีเ่ ตรียมประกาศเขตห้ามล่าสตั ว์ป่าภูโน

22

ตำรำงท่ี 9 ปรมิ ำณไมใ้ นพื้นทเ่ี กษตรกรรม (ไร่มันสำปะหลัง) ที่พบในพน้ื ทเี่ ตรียมประกำศเขตห้ำมล่ำสตั วป์ ำ่ ภโู น

ลำดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ช่ือวทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณทงั้ หมด ปรมิ ำตรทง้ั หมด ควำมหนำแนน่ ปริมำตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

1 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 5,949 136.45 1.60 0.04

2 โมกมนั Wrightia arborea 5,949 130.18 1.60 0.04
23,794 2,381.08 6.40 0.64
3 Dalbergia sp. Dalbergia sp.

รวม 35,691 2,647.71 9.60 0.71

หมายเหตุ : พันธ์ไุ มท้ ีส่ ารวจพบมที งั้ หมด 3 ชนดิ

ตำรำงที่ 10 ชนิดและปรมิ ำณของลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในพื้นที่เตรียมประกำศเขตหำ้ มล่ำสตั วป์ ำ่ ภโู น

ลำดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ชือ่ วิทยำศำสตร์ ปริมำณลกู ไม้ทง้ั หมด

จำนวนตน้ ควำมหนำแน่น

1 กระถนิ Leucaena leucocephala 5,948,533 133.33
2 ขอ่ ย Streblus asper 1,903,531 42.67
3 แดง Xylia xylocarpa 10.67
475,883

4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 356,912 8.00
5 สัก Tectona grandis 237,941 5.33

6 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 118,971 2.67

7 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 118,971 2.67
8 F.BIGNONIACEAE F.BIGNONIACEAE 118,971 2.67

9 F.MELASTOMATACEAE F.MELASTOMATACEAE 118,971 2.67
10 Unknown Unknown 237,941 5.33

รวม 9,636,624 216.00

หมายเหตุ : พันธุ์ไมท้ ่ีสารวจพบมมี ากกวา่ 10 ชนิด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทเี่ ตรยี มประกาศเขตห้ามลา่ สตั ว์ปา่ ภูโน

23

ตำรำงที่ 11 ชนดิ และปริมำณของกลำ้ ไม้ (Seedling) ที่พบในพื้นทเี่ ตรยี มประกำศเขตห้ำมลำ่ สตั วป์ ำ่ ภโู น

ลำดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ชอื่ วทิ ยำศำสตร์ ปริมำณกล้ำไม้ทงั้ หมด

จำนวนต้น ควำมหนำแน่น

1 กระถนิ Leucaena leucocephala 57,105,920 1,280.00
44,019,147 986.67
2 ขอ่ ย Streblus asper 10,707,360 240.00
9,517,653 213.33
3 เส้ยี วปา่ Bauhinia saccocalyx 5,948,533 133.33
4,758,827 106.67
4 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 4,758,827 106.67
2,379,413 53.33
5 ชงโค Bauhinia purpurea 2,379,413 53.33
2,379,413 53.33
6 ตว้ิ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 1,189,707 26.67
1,189,707 26.67
7 ส้มกบ Hymenodictyon orixense 1,189,707 26.67
2,379,413 53.33
8 เขลง Dialium cochinchinense 2,379,413 53.33
2,379,413 53.33
9 คอแลน Nephelium hypoleucum 96,366,240
2,160.00
10 สัก Tectona grandis

11 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus

12 มะค่าแต้ Sindora siamensis

13 F.TILIACEAE F.TILIACEAE

14 F.ANNONACEAE F.ANNONACEAE

15 F.LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE F.LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE

16 F.MELASTOMATACEAE F.MELASTOMATACEAE

17 Unknown Unknown

รวม 251,028,107 5,626.67

หมายเหตุ : พันธุ์ไม้ทีส่ ารวจพบมากกว่า 17 ชนิด

ตำรำงท่ี 12 ชนดิ และปรมิ ำณไม้ไผ่ท่พี บในพน้ื ทเ่ี ตรยี มประกำศเขตหำ้ มล่ำสตั ว์ปำ่ ภูโน

ลำดบั ชนดิ ไผ่ ช่อื วทิ ยำศำสตร์ ปริมำณไมไ้ ผ่ทั้งหมด

1 เพ็ก Vietnamosasa pusilla จำนวนกอ จำนวนลำ
2 เป๊าะ Dendrocalamus giganteus
618,647 7,875,858

356,912 4,854,003

รวม 975,559 12,729,861

ตำรำงที่ 13 ชนิดและปริมำณของตอไม้ (Stump) ทพ่ี บในพ้นื ที่เตรยี มประกำศเขตห้ำมล่ำสตั ว์ปำ่ ภโู น

ลำดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชอื่ วิทยำศำสตร์ จำนวนท่พี บ ปริมำณ ควำมหนำแน่น
(ตอ) (ตอ) (ตอ/ไร)่

1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 2 23,794 0.53
2 พลับพลา Microcos tomentosa 1 11,897 0.27

3 Unknown Unknown 13 154,662 3.47

รวม 16 190,353 4.27

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทีเ่ ตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ ภโู น

24

5. สังคมพชื
ผลการสารวจสังคมพืชในพื้นท่ีเตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโนพบว่ามีสังคมพืช 3 ประเภท คือ

ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และพ้ืนท่ีเกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) และจากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบ
ความถ่ี (Frequency) ความเดน่ (Dominance) และดชั นคี วามสาคญั ของพรรณไม้ (IVI) ดังน้ี

5.1 พื้นที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ กระถิน (Leucaena leucocephala) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) มะค่าแต้
(Sindora siamensis) ง้ิวป่า (Bombax anceps) รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) ส้มกบ
(Hymenodictyon orixense) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) คอแลน (Nephelium hypoleucum)
และ เสยี้ วปา่ (Bauhinia saccocalyx) ตามลาดับ แสดงในตารางท่ี 14

5.2 ป่าเบญจพรรณ ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) กระถิน (Leucaena leucocephala) รัง
(Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) งิ้วป่า (Bombax
anceps) เส้ียวป่า (Bauhinia saccocalyx) มะกอก (Spondias pinnata) และ ส้มกบ (Hymenodictyon
orixense) ตามลาดับ แสดงในตารางท่ี 15

5.3 ป่าดิบแล้ง ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ง้ิวป่า
(Bombax anceps) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) ตะแบกเกรียบ
(Lagerstroemia balansae) กระถิน (Leucaena leucocephala) มังตาน (Schima wallichii) สะทิบ (Phoebe
paniculata) มะเกลือ (Diospyros mollis) หมักม่อ (Rothmannia wittii) และ ข่อย (Streblus asper)
ตามลาดบั แสดงในตารางที่ 16

5.4 พ้ืนที่เกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด ได้แก่
ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) โมกมัน (Wrightia arborea) ตามลาดับ แสดงในตารางที่ 17

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทีเ่ ตรียมประกาศเขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ ภโู น

25

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่เี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ ภูโน

26

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่เี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ ภูโน

27

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่เี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ ภูโน

28

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่เี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั วป์ า่ ภูโน

29

6. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ

จากการวิเคราะห์ค่าความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าเบญจพรรณมีค่าความหลากหลายของ
ชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) ค่าความมากมาย (Species Richness) และ ค่าความสม่าเสมอ (Species
Evenness) มากทีส่ ดุ แสดงดงั ตารางที่ 18

ตำรำงที่ 18 ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของชนดิ พันธ์ไุ มพ้ ้นื ทีเ่ ตรียมประกำศเขตหำ้ มล่ำสัตว์ป่ำภูโน

ลักษณะกำรใช้ประโยชน์ท่ีดิน ควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ (Biodiversity)

(Landuse Type) ควำมหลำกหลำย ควำมสมำ่ เสมอ ควำมมำกมำย

(Diversity) (Evenness) (Richness)

ป่าเบญจพรรณ 3.02 0.81 2.00

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ ดิบแล้ง 2.78 0.80 6.00

(Dry Evergreen Forest)

พ้ืนที่เกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) 0.87 0.79 1.12

(Cassava)

พืน้ ที่เตรยี มประกำศเขตห้ำมล่ำสตั ว์ปำ่ ภูโน 3.38 0.81 10.19

สรุปผลกำรสำรวจและวิเครำะหข์ อ้ มูลทรัพยำกรป่ำไม้

ในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่าภูโน ซ่ึงมีเน้ือที่เท่ากับ 44,614 ไร่
(ประมาณ 71.38 ตารางกิโลเมตร) ได้ทาการวางแปลงตัวอย่างถาวร จานวน 12 แปลง และเก็บข้อมูลเพ่ือนามาใช้
ประเมินสถานภาพและศักยภาพของพ้ืนท่ี ได้แก่ เนื้อที่ป่าแต่ละชนิด ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของ
หมู่ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบต่อพันธ์ุตามธรรมชาติของหมู่ไม้ โดยทาการวิเคราะห์และประมวลผล
โดยใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศการสารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สรปุ ผลได้ดังนี้

1. ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ

สารวจพบชนิดปา่ หรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่าเบญจพรรณ ปา่ ดิบแลง้ และ
พ้ืนท่ีเกษตรกรรม (มันสาปะหลัง) โดยป่าเบญจพรรณพบมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของพื้นท่ีทั้งหมด
รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แลง้ และพ้นื ที่เกษตรกรรม (มนั สาปะหลัง) คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.67 และ 8.33 ตามลาดบั

2. ชนดิ พันธ์ุและปรมิ ำณไม้

ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบในแปลงสารวจมีจานวน 31 วงศ์ มากกว่า 63 ชนิด หมู่ไม้มีความหนาแน่นโดยเฉล่ีย
เท่ากบั 67.20 ต้นตอ่ ไร่ ปริมาตรเฉลี่ยเท่ากับ 10.60 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ และพบว่า ชนิดปา่ ทม่ี ีความหนาแน่น
มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณเท่ากับ 77.07 ต้นต่อไร่ คิดเป็นปริมาตร 12.20 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ รองลงมา ได้แก่
ปา่ ดิบแล้งเท่ากับ 66.80 ตน้ ตอ่ ไร่ ปรมิ าตร 10.67 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่ และพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม (มันสาปะหลงั )

การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่ีเตรียมประกาศเขตหา้ มลา่ สตั วป์ ่าภูโน

30

เท่ากับ 9.60 ต้นต่อไร่ ปริมาตร 0.71 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ตามลาดับ โดยชนิดไม้ที่พบมาก 10 ลาดับแรก ได้แก่
กระถิน (Leucaena leucocephala) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) แดง (Xylia xylocarpa ) รัง (Shorea
siamensis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ส้มกบ (Hymenodictyon
orixense) ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa) ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia balansae) และ ขว้าว (Haldina
cordifolia) ตามลาดับ และชนดิ ไม้ทมี่ ีปริมาตรมาก 10 ลาดบั แรก ได้แก่ ง้วิ ปา่ (Bombax anceps) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) รัง (Shorea siamensis) มะกอก (Spondias pinnata) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata)
เส้ียวป่า (Bauhinia saccocalyx) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) มังตาน
(Schima wallichii) กระถิน (Leucaena leucocephala) ตามลาดับ

หมู่ไม้แบ่งตามขนาดความโตของเส้นรอบวง (GBH) ดังนี้ ไม้ท่ีมีขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร
มากกว่า 45-100 เซนตเิ มตรและมากกว่า 100 เซนตเิ มตร มีสัดสว่ นรอ้ ยละ 67.10, 8.14 และ 4.76 ตามลาดบั

ลูกไม้ (Sapling) พบมากกว่า 10 ชนิด มีความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 216 ต้นต่อไร่ ในการสารวจพบ
จานวนลกู ไมม้ ากทีส่ ุดในปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ ดิบแลง้ ในสว่ นของพ้ืนที่เกษตรกรรมไม่พบลูกไม้

กล้าไม้ (Seedling) สารวจพบมากกว่า 17 ชนิด มีความหนาแน่นเฉล่ีย 5,626.67 ต้นต่อไร่ โดยพบ
กลา้ ไมม้ ากทีส่ ุดในปา่ ดบิ แล้ง รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ ในส่วนของพน้ื ที่เกษตรกรรมไมพ่ บกลา้ ไม้

ไผ่ (Bamboo) พบในป่าเบญจพรรณเท่านั้น สารวจพบมากกว่า 2 ชนิด ได้แก่ เป๊าะ (Dendrocalamus
giganteus) และ เพ็ก (Vietnamosasa pusilla) เป็นต้น ส่วนตอไม้ท่ีสารวจพบ มีมากกว่า 2 ชนิด ค่าความ
หนาแน่นเฉลยี่ ของตอไม้ เท่ากบั 4.27 ตอตอ่ ไร่ พบตอไมม้ ากทสี่ ุดในปา่ ดบิ แลง้ รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ

3. กำรประเมนิ สถำนภำพของทรพั ยำกรปำ่ ไม้

ในการประเมินทรัพยากรป่าไม้ในพนื้ ทเ่ี ตรยี มประกาศเขตห้ามล่าสัตวป์ ่าภูโน พบว่า มีปริมาณไม้ท้ังสิ้น
2,996,574 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้ทั้งส้ิน 473,117.38 ลูกบาศก์เมตร มีลูกไม้ (Sapling) จานวนท้ังสิ้น
9,636,624 ต้น กล้าไม้ (Seedling) จานวนท้ังส้ิน 251,028,107 ต้น มีไผ่ (Bamboo) รวมทั้งส้ิน 975,559 กอ
รวมทัง้ ส้ิน 12,729,861 ลา มีตอไม้ รวมท้งั สน้ิ ประมาณ 190,353 ตอ

4. ค่ำดชั นีควำมสำคัญทำงนิเวศวิทยำ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถี่ (Frequency) มากท่ีสุด คือ ส้มกบ
(Hymenodictyon orixense) รองลงมา คือ มะค่าแต้ (Sindora siamensis) และกระถิน (Leucaena leucocephala)
ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากที่สุด คือ กระถิน (Leucaena leucocephala) รองลงมา
คอื มะค่าแต้ (Sindora siamensis) และ แดง (Xylia xylocarpa) ชนดิ ไม้ทที่ คี วามเด่น (Dominance) มากท่ีสุด
คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา คือ ง้ิวป่า (Bombax anceps) และ รัง (Shorea siamensis)
ชนิดไม้ท่ีมีความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากที่สุด คือ ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) รองลงมา
คอื มะคา่ แต้ (Sindora siamensis) และกระถนิ (Leucaena leucocephala) ชนิดไม้ทมี่ ีความหนาแนน่ สัมพัทธ์

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทเ่ี ตรียมประกาศเขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าภโู น

31

(Relative Density) มากที่สุด คือ กระถิน (Leucaena leucocephala) รองลงมา คือ มะค่าแต้ (Sindora
siamensis) และแดง (Xylia xylocarpa) ชนดิ ไม้ทม่ี คี วามเดน่ สัมพทั ธ์ (Relative Dominance) มากท่สี ดุ คือ ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา คือ ง้ิวป่า (Bombax anceps) และรัง (Shorea siamensis) และจาก
วเิ คราะหข์ ้อมูลสังคมพชื สรปุ ได้ดงั นี้

ในพื้นท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่
ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) มะคา่ แต้ (Sindora siamensis) กระถิน (Leucaena leucocephala) รงั
(Shorea siamensis) และแดง (Xylia xylocarpa)

ในพ้ืนท่ีดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ง้ิวป่า
(Bombax anceps) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) ตะแบกเกรียบ
(Lagerstroemia balansae) และ กระถนิ (Leucaena leucocephala)

ในพื้นท่ีเกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุดได้แก่
ส้มกบ (Hymenodictyon orixense) และ โมกมัน (Wrightia arborea)
5. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ

ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) และสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ไม้ (Species
Evenness) มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้งและพ้ืนท่ีเกษตรกรรม (ไร่มันสาปะหลัง) ส่วนค่า
ความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness) มากที่สุด คือ ป่าดิบแล้ง รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ
และพน้ื ทเี่ กษตรกรรม ตามลาดับ

6. ขนำดควำมโตของตน้ ไม้ในป่ำ
โครงสรา้ งป่าในทุกชนดิ ป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดิน พบว่ามไี ม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียง

อก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จานวน 2,010,688 ต้น คิดเป็นร้อยละ 67.10 ของไม้ทั้งหมด ไมย้ นื ต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจานวน 843,192 ต้น คิดเป็นร้อยละ
28.14 ของไม้ท้ังหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร ข้ึนไปจานวน
142,694 ตน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.76 ของไมท้ ้ังหมด
7. ปจั จยั ทม่ี ีผลกระทบตอ่ พ้ืนทปี่ ำ่

จากการสารวจผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนในแปลงตัวอยา่ ง พบวา่ ในพื้นที่เตรียมประกาศเขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ ภูโนมี
การใช้ประโยชน์ที่ดินในรูปแบบอ่ืนนอกจากเป็นพน้ื ท่ปี ่า เชน่ การทาเกษตรกรรม (ไรม่ ันสาปะหลัง) ซ่ึงหากขาดการ
ดูแลควบคุมของเจ้าหน้าที่ อาจเกิดการบุกรุกพ้ืนที่ป่าเพ่ิมเติมได้ ซึ่งจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้
ประโยชน์ทีด่ นิ ไปอย่างส้นิ เชิง และยากต่อการเปลยี่ นสภาพให้กลบั มาเป็นปา่ ดังเดิมอีก

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทเ่ี ตรยี มประกาศเขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ ภโู น

32

วจิ ำรณ์ผล

1. ชว่ งฤดูกาลทีเ่ ก็บขอ้ มลู ภาคสนาม มผี ลต่อปรมิ าณกลา้ ไม้ (Seedling) เชน่ ในฤดฝู นมีโอกาสทีจ่ ะพบ
กล้าไม้มากกว่าในฤดูแล้ง ดังนั้น ข้อมูลกล้าไม้จะมีความผันแปรค่อนข้างสูงตามฤดูกาล อย่างไรก็ตาม ควรให้
ความสาคัญเก่ียวกับปริมาณของกล้าไม้ เน่ืองจากเป็นตัวช้ีวัดชนิดหนึ่งในการบ่งบอกถึงชนิดพันธ์ุไม้ในป่า
รวมถึงแนวโนม้ การสืบตอ่ พนั ธใ์ุ นอนาคตของหมู่ไม้

2. จากการศึกษาการกระจายของหมู่ไม้ พบวา่ ร้อยละ 67.10 เป็นไมข้ นาดเล็ก มีเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH)
เท่ากับ 15-45 เซนติเมตร และร้อยละ 28.14 เป็นไม้ขนาดกลางมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) > 45-100
เซนติเมตร และพบไม้ท่ีมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร เพียงร้อยละ 4.76 โครงสร้างของหมู่
ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้หนุ่ม แสดงว่าความเพิ่มพูนรายปีของป่าค่อนข้างสูงและป่าจะเติบโตและพัฒนาเป็นป่าท่ีมี
ความสมบรู ณ์ตอ่ ไป ทั้งน้ี จะตอ้ งคานึงถงึ ปัจจัยผลกระทบจากสภาพแวดล้อมประกอบดว้ ย

3. การคานวณปริมาณไม้ เนื่องจากยังไม่มีพ้ืนที่ของแต่ละชนิดป่า จึงต้องใช้สัดส่วนของแปลงตัวอย่างที่
สารวจพบ เทียบกับพื้นที่จากการสารวจพื้นที่ของส่วนจัดการพื้นที่อนุรักษ์สัตว์ป่า สานักอนุรักษ์สัตว์ป่า
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช แล้วนามาคูณกับความหนาแน่นเฉล่ียของชนิดป่า ดังนั้น ในการนา
ข้อมูลไปใชอ้ า้ งอิงผู้ใชต้ อ้ งทาความเข้าใจเกี่ยวกับความคลาดเคลอ่ื นท่เี กดิ ขึน้ ใหถ้ ูกต้องก่อน

4. เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่เี ป็นตวั แทนท่ีดปี า่ แต่ละชนดิ ควรมีแปลงตัวอย่างอยา่ งน้อย 3 แปลง

ปญั หำและอุปสรรค

ปัญหาและอปุ สรรคในการดาเนนิ งานทพ่ี บ

1. การจาแนกชนิดไม้ต้นและไม้พ้ืนล่างในภาคสนามส่วนใหญ่อาศัยจากความรู้และประสบการณ์ของ
คนในพนื้ ที่ ซงึ่ เปน็ ช่ือท้องถนิ่ จึงอาจเกิดปญั หาการไมส่ ามารถระบชุ นิดพรรณไม้ได้

2. เส้นทางสู่แปลงสารวจทางค่อนข้างคดเคี้ยวและบางจุดตั้งอยู่บนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง การเข้า
พื้นทตี่ ้องใช้การเดนิ เทา้ ทาใหใ้ ชเ้ วลานานในการเข้าถึงจุดสารวจ

ขอ้ เสนอแนะ

เพ่อื ใหก้ ารดาเนนิ งานสารวจทรัพยากรป่าไม้ในโอกาสต่อไปมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น จึงมีขอ้ เสนอแนะ
ดังน้ี

1. เพื่อให้การปฏิบัติงานภาคสนามเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะสารวจภาคสนามควรมีเจ้าหน้าท่ีท่ี
ชานาญเส้นทางและมีความรู้เกยี่ วกับพรรณไม้ในพ้นื ทด่ี ว้ ย

2. ควรวางแผนการสารวจภาคสนามให้เสร็จส้ินก่อนเข้าฤดฝู น เนอ่ื งจากฤดูฝนเป็นอุปสรรคต่อการเข้า
สู่พน้ื ท่ีและเกบ็ ข้อมูลสารวจ

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทเี่ ตรียมประกาศเขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ ภูโน

33

3. ควรบันทึกภาพลักษณะเด่นของพันธ์ุไม้และเก็บตัวอย่างไม้ท่ีไม่ทราบชนิด เพ่ือส่งให้นักพฤกษศาสตร์
จาแนกชนดิ ตอ่ ไป

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีเตรียมประกาศเขตหา้ มลา่ สตั วป์ ่าภโู น

34

เอกสำรอำ้ งอิง

ส่วนจัดการพื้นท่ีอนุรักษ์สัตว์ป่า. 2549. รายงานผลการสารวจพ้ืนท่ีป่าภูโนเพื่อเตรียมการประกาศเป็น
เขตหา้ มล่าสตั ว์ปา่ ท้องที่อาเภอท่าคันโท อาเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธ์ุ และอาเภอกระนวน
จังหวดั ขอนแก่น, กรงุ เทพฯ. 17 หนา้ .

ก่องกานดา ชยามฤต. 2541. คู่มอื การจาแนกพันธุ์ไม้. สว่ นพฤกษศาสตร์ สานักวิชาการป่าไม้ กรมปา่ ไม้,
กรงุ เทพฯ. 253 หนา้ .

ชวลิต นยิ มธรรม. 2545. ทรพั ยากรป่าไม้ของประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ สานักวชิ าการป่าไม้ กรมป่าไม,้
กรงุ เทพฯ. 10 หน้า.

ธวชั ชยั สันตสิ ุข. 2549. ปา่ ขิงประเทศไทย. สานกั หอพรรณไม้, กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธ์ุพชื .
บริษทั ประชาชน จากดั , กรุงเทพฯ. 120 หน้า.

วิชาญ ตราชู. 2548. แนวทางการสารวจทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพ้นื ที่อนรุ กั ษ.์ ส่วนวเิ คราะห์ทรพั ยากรปา่ ไม้
สานกั วิชาการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้, กรงุ เทพฯ. 95 หน้า.

สว่ นพฤกษศาสตร์. 2544. ช่ือพรรณไมแ้ ห่งประเทศไทย เต็ม สมติ นิ ันท์ ฉบบั แก้ไขเพ่ิมเติม สานกั วชิ าการปา่ ไม้
กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 810 น.

การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทเ่ี ตรยี มประกาศเขตหา้ มล่าสตั ว์ป่าภโู น

35

ภภำำคคผผนนววกก

การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีเ่ ตรยี มประกาศเขตหา้ มลา่ สตั ว์ป่าภโู น

ตารางผนวกที่ 1 ชนิดและปริมาณไมท้ ้ังหมดในพ้ืนทเี่ ตรยี มประกาศเขตห้ามล่าสตั วป์ า่ ภโู น

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ปรมิ ำณไมท้ งั้ หมด

ลำดบั ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยำศำสตร์ ป่ ำดบิ แลง้ ป่ ำเบญจพรรณ ไรม่ นั สำปะหลงั

Bombax anceps จำนวน ปรมิ ำตร จำนวน ปรมิ ำตร จำนวน ปรมิ ำตร จำนวน ปรมิ ำตร
Pterocarpus macrocarpus (ตน้ ) (ลบ.ม)
Shorea siamensis (ตน้ ) (ลบ.ม) (ตน้ ) (ลบ.ม) (ตน้ ) (ลบ.ม) 43,127 69,160.07
Spondias pinnata 130,868 37,682.60
1 งว้ิ ป่ า Lagerstroemia cuspidata 7,436 51,251.93 35,691 17,908.14 -- 148,713 32,287.96
2 ประดู่ Bauhinia saccocalyx 11,897 27,239.48
3 รัง Sindora siamensis - - 130,868 37,682.60 -- 35,691 24,412.60
4 มะกอก Anogeissus acuminata 23,794 21,265.04
5 ตะแบก Schima wallichii - - 148,713 32,287.96 -- 193,327 18,338.98
6 เสยี้ วป่ า Leucaena leucocephala 22,307 18,161.86
7 มะคา่ แต ้ Diospyros Kerrii - - 11,897 27,239.48 -- 14,871 16,952.48
8 ตะเคยี นหนู Nephelium hypoleucum 295,940 11,311.34
9 มงั ตาน Lagerstroemia balansae - - 35,691 24,412.60 -- 25,281 9,070.42
10 กระถนิ Grewia eriocarpa 74,357 10,167.08
11 มะพลบั ดง Xylia xylocarpa - - 23,794 21,265.04 -- 50,563 9,702.43
12 คอแลน Haldina cordifolia 52,050 7,549.30
13 ตะแบกเกรยี บ Gmelina arborea 14,871 317.59 178,456 18,021.39 -- 190,353 6,522.18
14 ปอแกน่ เทา Diospyros mollis 47,588 5,841.31
15 แดง Anthocephalus chinensis 22,307 18,161.86 - - -- 7,436 6,406.64
16 ขวา้ ว Lagerstroemia calyculata 40,153 5,380.64
17 ซอ้ Senna siamea 14,871 16,952.48 - - -- 17,846 3,030.15
18 มะเกลอื Alstonia scholaris 14,871 3,711.09
19 กระทมุ่ Zanthoxylum limonella 52,050 2,347.25 243,890 8,964.09 -- 29,743 2,942.16
20 ตะแบกแดง Wrightia arborea 23,794 2,908.51
21 ขเ้ี หลก็ Dalbergia cochinchinensis 7,436 2,635.59 17,846 6,434.83 -- 22,307 3,500.28
22 สตั บรรณ Phoebe paniculata 17,846 2,613.76
23 กาจัดตน้ Ailanthus triphysa 74,357 10,167.08 - - -- 23,794 2,381.08
24 โมกมนั Homalium tomentosum 44,614 2,972.69
25 พะยงู Hymenodictyon orixense 44,614 8,566.77 5,949 1,135.66 -- 7,436 2,912.41
26 สะทบิ Chukrasia tabularis 23,794 2,322.74
27 มะยมป่ า 22,307 1,927.34 29,743 5,621.96 -- 63,947 2,439.51
28 ขานาง 5,949 1,921.12
29 สม้ กบ - - 190,353 6,522.18 --
30 ยมหนิ
- - 47,588 5,841.31 --

7,436 6,406.64 - - --

22,307 1,730.84 17,846 3,649.80 --

- - 17,846 3,030.15 --

14,871 3,711.09 - - --

- - 29,743 2,942.16 --

- - 23,794 2,908.51 --

22,307 3,500.28 - - --

- - 11,897 2,483.58 5,949 130.18

- -- - 23,794 2,381.08

44,614 2,972.69 - - --

7,436 2,912.41 - - --

- - 23,794 2,322.74 --

22,307 1,319.48 35,691 983.58 5,949 136.45

- - 5,949 1,921.12 --

ตารางผนวกท่ี 1 (ต่อ)

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ปรมิ ำณไมท้ งั้ หมด

ลำดบั ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยำศำสตร์ ป่ ำดบิ แลง้ ป่ ำเบญจพรรณ ไรม่ นั สำปะหลงั

จำนวน ปรมิ ำตร จำนวน ปรมิ ำตร จำนวน ปรมิ ำตร จำนวน ปรมิ ำตร
(ตน้ ) (ลบ.ม)
(ตน้ ) (ลบ.ม) (ตน้ ) (ลบ.ม) (ตน้ ) (ลบ.ม) 29,743 2,152.31
11,897 1,701.81
31 ขอ่ ย Streblus asper 29,743 2,152.31 - - -- 35,691 1,666.59
32 เขลง Dialium cochinchinense 41,640 1,417.45
33 หมกั มอ่ Rothmannia wittii - - 11,897 1,701.81 -- 5,949 1,339.06
34 สกั Tectona grandis 22,307 1,644.75
35 สะเดา Azadirachta indica 29,743 399.08 5,949 1,267.51 -- 22,307 1,594.89
36 คา้ งคาว Aglaia edulis 29,743 1,147.24
37 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifolia - - 41,640 1,417.45 -- 41,640
38 กระพจี้ ่ัน Millettia brandisiana 5,949 693.59
39 พลบั พลา Microcos tomentosa - - 5,949 1,339.06 -- 11,897 605.13
40 ก๊กุ Lannea coromandelica 11,897 488.81
41 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum 22,307 1,644.75 - - -- 7,436 486.72
42 แคหวั หมู Markhamia stipulata 37,178 522.27
43 นนทรี Peltophorum pterocarpum 22,307 1,594.89 - - -- 22,307 472.54
44 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 11,897 381.74
45 มะชมพปู่ ่ า Syzygium megacarpum - - 29,743 1,147.24 -- 11,897 270.94
46 ปอหู Hibiscus macrophyllus 5,949 250.57
47 เพกา Oroxylum indicum - - 41,640 693.59 -- 5,949 248.95
48 กระบก Irvingia malayana 11,897 210.59
49 กระดงั งาดง Cyathocalyx sumatrana - - 5,949 605.13 -- 14,871 205.77
50 ลาย Microcos paniculata 5,949 183.88
51 หวา้ Syzygium cumini - - 11,897 488.81 -- 5,949
52 ตวิ้ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 104,099 73.10
53 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum - - 11,897 486.72 -- 25,281 45.95
22,307 7,916.22
7,436 522.27 - - -- 11,897 1,550.22
81,792 805.88
37,178 472.54 - - -- 44,614 172.49
17,846 10,648.21
22,307 381.74 - - -- 22,307 10,241.11
7,436 1,840.93
- - 11,897 270.94 -- 542,804 794.71
139.07
- - 11,897 250.57 -- 2,996,574 50,095.98
473,117.38
- - 5,949 248.95 --

- - 5,949 210.59 --

- - 11,897 205.77 --

14,871 183.88 - - --

- - 5,949 73.10 --

- - 5,949 45.95 --

54 F.MELASTOMATACEAE F.MELASTOMATACEAE 104,099 7,916.22 - - --

55 F.STERCULIACEAE F.STERCULIACEAE 7,436 472.51 17,846 1,077.72 --

56 F.DIPTEROCARPACEAE F.DIPTEROCARPACEAE 22,307 805.88 - - --

57 F.BIGNONIACEAE F.BIGNONIACEAE - - 11,897 172.49 --

58 Diospyros sp. Diospyros sp. 81,792 10,648.21 - - --

59 Syzygium sp. Syzygium sp. 44,614 10,241.11 - - --

60 Dalbergia sp. Dalbergia sp. - - 17,846 1,840.93 --

61 Magnolia sp. Magnolia sp. 22,307 794.71 - - --

62 Ficus sp. Ficus sp. 7,436 139.07 - - --

63 Unknown Unknown 364,348 25,041.55 178,456 25,054.43 --
รวม (total)
1,241,756 198,292.05 1,719,126 272,177.63 35,691 2,647.71

ตารางผนวกท่ี 2 ชนิดและปริมาณลกู ไม้ (Sapling) ท้งั หมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ินของพนื้ ที่เตรยี มประกาศเขตห้ามลา่ สัตวป์ ่าภูโน

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ปรมิ ำณลกู ไมท้ ง้ั หมด

ป่ ำดบิ แลง้ ป่ ำเบญจพรรณ

ลำดบั ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยำศำสตร์ จำนวน ควำม จำนวน ควำม ควำม
(ตน้ ) หนำแนน่ (ตน้ / (ตน้ ) หนำแนน่ (ตน้ / จำนวน (ตน้ ) หนำแนน่ (ตน้ /
1 กระถนิ
2 ขอ่ ย ไร)่ ไร)่ ไร)่
3 แดง
4 ประดู่ Leucaena leucocephala - - 5,948,533 266.67 5,948,533 133.33
5 สกั
6 ขอ่ ยหนาม Streblus asper 1,903,531 102.40 - - 1,903,531 42.67
7 สม้ กบ
Xylia xylocarpa - - 475,883 21.33 475,883 10.67

Pterocarpus macrocarpus - - 356,912 16.00 356,912 8.00

Tectona grandis - - 237,941 10.67 237,941 5.33

Streblus ilicifolius 118,971 6.40 - - 118,971 2.67

Hymenodictyon orixense - - 118,971 5.33 118,971 2.67

8 F.BIGNONIACEAFE.BIGNONIACEAE 118,971 6.40 - - 118,971 2.67

9 F.MELASTOMATFA.MCEALAESTOMATACEAE118,971 6.40 - - 118,971 2.67

10 Unknown Unknown 237,941 12.80 - - 237,941 5.33
2,498,384 320.00
รวม Total 134.40 7,138,240 9,636,624 216.00

ตารางผนวกท่ี 3 ชนิดและปริมาณกล้าไม้ (Seedling) ท้ังหมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ของพืน้ ทเ่ี ตรียมประกาศเขตห้ามลา่ สตั ว์ป่าภูโน

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ปรมิ ำณลกู ไมท้ งั้ หมด

ป่ ำดบิ แลง้ ป่ ำเบญจพรรณ

ลำดบั ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยำศำสตร์ ควำม
จำนวน (ตน้ ) หนำแนน่ (ตน้ /
จำนวน (ตน้ ) ควำมหนำแนน่ (ตน้ /ไร)่ จำนวน (ตน้ ) ควำมหนำแนน่ (ตน้ /ไร)่
ไร)่

1 กระถนิ Leucaena leucocephala - - 57,105,920 2,560.00 57,105,920 1,280.00
2 ขอ่ ย - - 44,019,147 986.67
3 เสยี้ วป่ า Streblus asper 44,019,147 2,368.00 10,707,360 240.00
4 ตะเคยี นหนู 10,707,360 480.00 213.33
5 ชงโค Bauhinia saccocalyx -- - - 9,517,653 133.33
6 ตว้ิ เกลยี้ ง 5,948,533 106.67
7 สม้ กบ Anogeissus acuminata 9,517,653 512.00 5,948,533 266.67 4,758,827 106.67
8 เขลง 4,758,827 213.33 4,758,827 53.33
9 คอแลน Bauhinia purpurea -- 4,758,827 213.33 2,379,413 53.33
10 สกั 2,379,413 106.67 2,379,413 53.33
11 ประดู่ Cratoxylum cochinchinense - - 2,379,413 106.67 2,379,413 26.67
12 มะคา่ แต ้ 2,379,413 106.67 1,189,707 26.67
Hymenodictyon orixense - - 1,189,707 1,189,707 26.67
53.33 1,189,707 53.33
Dialium cochinchinense - - - - 2,379,413 53.33
2,379,413 53.33
Nephelium hypoleucum - - 2,379,413
96,366,240 2,160.00
Tectona grandis -- 251,028,107 5,626.67

Pterocarpus macrocarpus - -

Sindora siamensis 1,189,707 64.00

13 F.TILIACEAE F.TILIACEAE 1,189,707 64.00 - -

14 F.ANNONACEAE F.ANNONACEAE - - 2,379,413 106.67

15 F.LEGUMINOSAE-CAESAFL.PLIENGIOUIMDEINAOESAE-CAESALPIN2I,O37ID9E,4A1E3 128.00 - -

16 F.MELASTOMATACEAE F.MELASTOMATACEAE 2,379,413 128.00 - -

17 Unknown Unknown 77,330,933 4,160.00 19,035,307 853.33
รวม (total) 138,005,973 7,424.00 113,022,133 5,066.67

ตารางผนวกท่ี 4 พชื ลม้ ลุก และไม้อืน่ ๆ ทพ่ี บในพื้นทเ่ี ตรียมประกาศเขตห้ามล่าสตั วป์ ่าภโู น

ลำดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วิทยำศำสตร์ ลักษณะวิสยั
1 เถายา่ นาง Tiliacora triandra C
2 ลน้ิ กวาง Ancistrocladus tectorius C
3 เสี้ยวเครือ Phanera glauca C
4 หนามหัน Caesalpinia godefroyana C
5 หญา้ ขจรจบ Pennisetum pedicellatum ExG
6 หญา้ ขจรจบดอกเล็ก Pennisetum polystachion ExG
7 สาบเสือ Chromolaena odoratum ExH
8 สาบหมา Ageratina adenophora ExH
9 แขม Saccharum arundinaceum G
10 หญ้าคา Imperata cylindrica G
11 เปราะปา่ Kaempferia marginata H
12 ตาว Arenga pinnata P
13 เจตพังคี Cladogynos orientalis S
14 หมกั ม่อ Rothmannia wittii S
15 Calamus sp. Calamus sp.
CP to P


Click to View FlipBook Version