รายงานการสาํ รวจทรัพยากรป่ าไม้
อุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
กลุ่มงานวชิ าการ สาํ นักบริหารพนื้ ท่อี นุรักษ์ท่ี 2 (ศรีราชา)
ส่วนสาํ รวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่ าไม้
สาํ นักฟื้นฟแู ละพฒั นาพนื้ ท่อี นุรักษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพชื
2556
รายงานการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
กลุม่ งานวิชาการ สาํ นักบริหารพ้นื ที่อนุรกั ษ์ที่ 2 (ศรรี าชา)
ส่วนสํารวจและวเิ คราะห์ทรพั ยากรป่าไม้ สํานกั ฟนื้ ฟูและพฒั นาพื้นทอ่ี นุรกั ษ์
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพันธุพ์ ชื พ.ศ. 2556
บทสรปุ สําหรับผูบ้ ริหาร
จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พ้ืนท่ีป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 31.57
ของพน้ื ทีป่ ระเทศ การดําเนนิ การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไมจ้ งึ เปน็ อกี ทางหนง่ึ ทที่ ําใหท้ ราบถงึ สถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากร เพือ่ นาํ มาใชใ้ นการดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ได้ดาํ เนินการมาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง ซึ่งมีเนื้อท่ี 52,300 ไร่
หรือ 83.68 ตารางกิโลเมตร ครอบคลมุ พนื้ ที่อาํ เภอแกลง กิ่งอาํ เภอเขาชะเมา จงั หวัดระยอง และอําเภอแก่งหางแมว
จังหวัดจันทบุรี ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) จํานวน 9 แปลง
สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ
วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยูต่ ามทิศหลักทัง้ 4 ทศิ
ผลการสํารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สํารวจพบ
ท้ังหมด 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบช้ืน ป่าดิบแล้ง และพื้นท่ีอื่นๆ โดยป่าดิบแล้งพบมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 66.67
ของพื้นท่ีท้ังหมด ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 22.22 ของพื้นที่ทั้งหมด และพื้นที่อื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 11.11
ของพ้ืนทที่ ัง้ หมด สําหรบั พรรณไม้รวมทกุ ชนิดปา่ พบท้ังสิน้ 37 วงศ์ มากกว่า 94 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 5,857,600 ต้น
คิดเป็นปรมิ าตรไม้รวม 2,179,291.84 ลูกบาศกเ์ มตร มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 112 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย
41.67 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่ เมือ่ เรยี งลาํ ดับชนิดไม้จากจาํ นวนตน้ ทพ่ี บจากมากสุดไปหาไปน้อยสดุ 10 อันดบั แรก
ได้แก่ หว้า (Syzygium cumini) ตานดํา (Diospyros montana) พุงทะลาย (Scaphium scaphigerum)
มะไฟ (Baccaurea ramiflora) คอแลน (Xerospermum noronhianum) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius)
โสกเขา (Saraca declinata) มะชมพู่ปา่ (Syzygium aqeum) ทุเรยี นปา่ (Durio mansoni) และโมก (Wrightia
pubescens) ตามลําดบั แต่เมือ่ เรยี งลําดับตามปริมาตร จากมากสุดไปหานอ้ ยสดุ 10 อนั ดับแรก คือ หว้า ยางกล่อง
(Dipterocarpus dyeri) กระบาก (Anisoptera costata) กระบก (Irvingia malayana) หว้าใบใหญ่ (Syzygium
pergamentaceum) พุงทะลาย ทุเรียนป่า สองสลึง (Lophopetalum duperreanum) พลับดง (Diospyros
bejaudii) และมะมว่ งป่า (Mangifera caloneura) ตามลาํ ดับ
กลา้ ไม้ (Seedling) ที่พบในแปลงสํารวจ มีมากกว่า 40 ชนิด รวมท้ังส้ิน 485,344,000 ต้น มีความ
หนาแน่นของกล้าไม้ 9,280 ต้นต่อไร่ โดยมีกล้าไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า 29 ชนิด มีจํานวน 304,967,111 ต้น
มคี วามหนาแนน่ 5,831 ตน้ ต่อไร่ ชนิดกล้าไม้ของไม้ยืนต้นท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ มะกล่ําต้น
(Adenanthera pavonina) เข็มป่า (Ixora cibdela) สองสลึง พุงทะลาย ข่อยหนาม พะวาใบใหญ่ (Garcinia
vilersiana) หว้า ดีหมี (Cleidion spiciflorum) คอแลน (Nephelium hypoleucum) และพลองขาว (Antidesma
neurocarpum) ตามลาํ ดับ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
ลกู ไม้ (Sapling) ท่พี บในแปลงสาํ รวจ มมี ากกวา่ 10 ชนดิ รวมท้ังสิ้น 3,347,200 ตน้ มคี วามหนาแน่น
ของลกู ไม้ 64 ต้นตอ่ ไร่ โดยมีลกู ไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า 9 ชนิด มีจํานวน 3,161,244 ต้น มีความหนาแน่น 60
ต้นตอ่ ไร่ ชนดิ ลูกไม้ของไมย้ ืนต้นทมี่ ปี รมิ าณมากที่สดุ ได้แก่ พุงทะลาย สองสลึง โมก สุรามะริด (Cinnamomum
subavenium) มะนาว (Citrus aurantifolia) นางเลว (Cyathocalyx martabanicus) มะชมพู่ป่า เขม็ ป่า และ
กะโมกเขา (Sageraea elliptica) ตามลําดับ
สําหรับไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง พบว่ามีไผ่อยู่ 2 ชนิด ได้แก่ ไผ่สีสุก (Bambusa
blumeana) มปี ริมาณไผจ่ าํ นวน 576,462 กอ รวมทง้ั สิ้น 9,502,329 ลาํ
ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ที่มีความถี่ (Frequency) ความหนาแน่น (Density)
และความเดน่ (Dominance) รวมถงึ มคี ่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากท่ีสุด
คอื หว้า และขอ้ มูลเกย่ี วกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า คา่ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species
Diversity) ป่าดิบช้ืนมคี า่ เท่ากับ 3.29 ป่าดบิ แล้งมคี า่ เท่ากับ 3.61 และพ้ืนท่ีอื่นๆ มีค่าเท่ากับ 1.96 ค่าความ
มากมายของชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ (Species Richness) ป่าดบิ ชื้นมีคา่ เท่ากับ 8.50 ป่าดิบแล้งมคี า่ เท่ากับ 12.57 และพื้นที่
อื่นๆ มีค่าเท่ากับ 2.42 ค่าความสมํ่าเสมอของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Evenness) ป่าดิบชื้นมีค่าเท่ากับ 0.87
ป่าดิบแล้งมีค่าเท่ากับ 0.83 และพืน้ ที่อื่นๆ มคี า่ เทา่ กบั 0.94
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่า ในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า
มไี มย้ นื ต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ทม่ี คี วามโต 15-45 เซนติเมตร จาํ นวน 3,570,347 ต้น คิดเป็นร้อยละ
60.95 ของปริมาณไม้ท้ังหมด ไมท้ ีม่ ขี นาดความโต 45-100 เซนติเมตร จํานวน 1,524,836 ต้น คิดเป็นร้อยละ
26.03 ของไม้ท้ังหมด และไม้ท่ีมีขนาดความโตมากกว่า 100 เซนติเมตร จํานวน 762,418 ต้น คิดเป็นร้อยละ
13.02 ของไมท้ งั้ หมด รวมจาํ นวนตน้ ไม้ท้งั หมดเทา่ กับ 5,857,600 ต้น
จากผลการดําเนนิ งานดังกลา่ ว ทาํ ใหท้ ราบขอ้ มูลพ้ืนฐานเกี่ยวกบั ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธุ์พืชในพ้ืนที่ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง อีกทั้งยังเป็น
แนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ
และแบบแผนเพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติเขา
ชะเมา-เขาวง
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
สารบญั i
สารบัญ หน้า
สารบัญตาราง i
สารบญั ภาพ iii
คํานาํ Iv
วตั ถุประสงค์ 1
เปา้ หมายการดําเนนิ การ 2
ขอ้ มลู ทั่วไปอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง 2
3
ประวตั คิ วามเปน็ มา 3
ลักษณะภูมปิ ระเทศ 3
ลักษณะภมู ิอากาศ 4
พืชพรรณและสตั ว์ป่า 4
จุดเดน่ ท่นี า่ สนใจ 4
รูปแบบและวธิ ีการสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 5
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design) 5
รูปร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design) 6
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ทท่ี าํ การสาํ รวจ 6
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ 7
1. การคํานวณเนื้อที่ปา่ และปรมิ าณไมท้ ั้งหมดของแตล่ ะพ้นื ที่อนุรักษ์ 7
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้ 7
3. ขอ้ มลู ท่ัวไป 8
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้ 8
5. การวิเคราะห์ข้อมูลชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling) 8
6. การวิเคราะห์ข้อมลู ชนดิ และปริมาณของไม้ไผ่ หวาย 8
7. การวิเคราะห์ข้อมลู สงั คมพชื 9
8. วิเคราะห์ข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ
10
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
สารบญั (ตอ่ ) ii
ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้ หน้า
1. การวางแปลงตวั อย่าง 12
2. พื้นทป่ี ่าไม้ 12
3. ปริมาณไม้ 12
4. ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ 17
5. สงั คมพชื 21
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 29
33
สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 34
ปญั หาและอุปสรรค 37
ขอ้ เสนอแนะ 37
เอกสารอา้ งองิ 38
ภาคผนวก 39
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีอ่ ุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
iii
สารบญั ตาราง หน้า
6
ตารางท่ี 13
1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มลู ทที่ าํ การสํารวจ
2 พืน้ ท่ปี า่ ไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดินในอุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง 17
(Area by Landuse Type)
3 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ตอ่ หนว่ ยพ้ืนทจ่ี ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ 17
ในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง (Density and Volume per Area by Landuse Type)
4 ปริมาณไมท้ ้งั หมดจําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ 20
ในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง (Volume by Landuse Type) 23
5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง 24
6 ปริมาณไมท้ ้ังหมดของอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง (30 ชนิดแรกท่มี ปี ริมาตรไมส้ ูงสุด) 25
7 ปรมิ าณไม้ในป่าดบิ ช้ืนของอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง (30 ชนิดแรกท่ีมปี รมิ าตรไมส้ ูงสดุ ) 26
8 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดิบแล้งของอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง (30 ชนิดแรกที่มปี รมิ าตรไม้สงู สุด) 27
9 ปริมาณไมใ้ นพนื้ ที่อ่นื ๆ ของอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง 28
10 ชนิดและปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ของไม้ยืนต้นที่พบในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง 28
11 ชนดิ และปริมาณของกลา้ ไม้ (Seedling) อื่นๆ ทีพ่ บในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง 28
12 ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) ของไมย้ ืนต้นทพ่ี บในอุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง 30
13 ชนิดและปริมาณของตอไม้ (Stump) ท่ีพบในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
14 ดชั นีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบชื้น 31
ในอทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
15 ดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ แลง้ 32
ในอทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
16 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพื้นท่ีอนื่ ๆ 33
ในอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
17 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพนั ธ์ุไมใ้ นอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
สารบญั ภาพ iv
ภาพท่ี หนา้
1 น้ําตกคลองปลาก้ัง 4
2 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง 5
3 แผนทแี่ สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมิประเทศของอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง 12
4 พ้ืนทปี่ ่าไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินในอุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง 13
5 ลกั ษณะท่วั ไปของปา่ ดบิ ชื้นในพื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง 14
6 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าดบิ แล้งพนื้ ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง 15
7 ลักษณะทัว่ ไปของพ้ืนท่อี ื่นๆ ในอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง 16
8 ปรมิ าณไม้ทั้งหมดที่พบในอุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง 18
9 ปรมิ าตรไม้ทั้งหมดท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง 18
10 ความหนาแนน่ ตอ่ หน่วยพื้นทข่ี องต้นไม้ในอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง 19
11 ปรมิ าตรไมต้ ่อหน่วยพืน้ ที่ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง 19
12 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง 20
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
1
คํานาํ
ปจั จุบนั ประเทศไทยมพี ื้นที่ปา่ ไมเ้ หลืออยู่ประมาณรอ้ ยละ 31.57 ของพนื้ ที่ประเทศ (ทีม่ า:หนงั สือ
ข้อมูลสถิติอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช, 2557) ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของ
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธพุ์ ชื ท่ีจะตอ้ งดาํ เนนิ การอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างยั่งยืน จึงจําเป็นที่จะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยู่ในพ้ืนที่ป่าไม้ ตลอดจน
ปจั จยั ทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพื่อนํามาใช้ในการดําเนินการตามภาระรับผิดชอบ
ต่อไป
ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ จึงได้ดําเนินการ
สํารวจพื้นที่ป่าของจังหวัดต่างๆ ท่ัวประเทศ เพ่ือรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดําเนินงานในกิจกรรมท่ีมีความ
เกย่ี วข้องกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
โดยมรี ูปแบบและวิธกี ารสาํ รวจแบบแปลงตวั อยา่ งถาวรรปู วงกลมรศั มี 17.84 เมตร และสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ
(Systematic Sampling) ในพ้ืนท่ีภาพถ่ายดาวเทียมที่มีการแปลสภาพว่าเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่างมี
ระยะหา่ งเท่าๆ กัน บนเสน้ กรดิ แผนที่ 2.5x2.5 กโิ ลเมตร เพื่อนําข้อมูลมาใชป้ ระกอบการพจิ ารณาในการดําเนินการ
ตามภาระรับผิดชอบต่อไป ดังน้ัน ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์
จงึ ดาํ เนนิ การสํารวจพื้นทป่ี ่าอนรุ กั ษใ์ นเขตอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการ
ดําเนนิ งานดา้ นทรัพยากรป่าไมใ้ นพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ รวมทัง้ ใช้ในการประเมนิ สถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร
ปา่ ไม้และทรพั ยากรอนื่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง เพอื่ นําไปเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการดําเนินการในภารกิจต่างๆ ของกรมอุทยาน
แหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธ์พุ ชื ต่อไป
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
2
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ให้ทราบข้อมลู พื้นฐานเก่ยี วกบั ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาํ ลังผลติ และความหลากหลาย
ของพชื พันธุใ์ นพน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
2. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์
ขอ้ มูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน
3. เพอื่ เป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรปา่ ไม้ในพน้ื ที่
4. เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพอื่ ปลกู เสริมปา่ ในแตล่ ะพ้นื ที่อุทยานแห่งชาติ
เปา้ หมายการดําเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพื้นที่สํารวจ
เปา้ หมายในพนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง ครอบคลมุ พ้นื ท่ีอาํ เภอแกลง กิ่งอําเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง
และอําเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ท่ี 2 (ศรีราชา)
การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน
คอื วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักท้ัง
4 ทศิ โดยจดุ ศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร จํานวน 9 แปลง
และทําการเก็บข้อมูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จํานวนกล้าไม้
และลกู ไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ที่ต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับความสูง ความ
ลาดชนั เปน็ ตน้ ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์และพืชชั้นล่าง
แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเนื้อท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้
กาํ ลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธุ์ตามธรรมชาตขิ องหมไู่ มใ้ นปา่ น้ัน
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
3
ข้อมลู ทว่ั ไปอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง มพี ื้นที่ครอบคลมุ ทอ้ งที่ อาํ เภอแกลง ก่ิงอําเภอเขาชะเมา จังหวัด
ระยอง และอาํ เภอแกง่ หางแมว จังหวดั จนั ทบุรี เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางภาคตะวนั ออกของประเทศ มีสภาพป่า
ดงดบิ ท่ีสมบรู ณ์ เปน็ แหล่งกาํ เนิดต้นนํา้ ลําธารของจังหวดั ระยอง มีสัตว์ป่าชกุ ชุม และมีธรรมชาติท่ีสวยงาม เช่น
นา้ํ ตก หนา้ ผา ถ้าํ และทิวทัศน์ตามธรรมชาตทิ ่งี ดงาม อทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง มีเน้ือท่ีประมาณ 52,300 ไร่
หรอื 83.68 ตารางกโิ ลเมตร
ประวตั คิ วามเป็นมา
ในคราวประชุมคณะกรรมการอุทยานแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 5/2517 เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2517 ท่ีประชุม
ได้มอบให้กรมป่าไม้ไปดําเนนิ การตรวจสอบขอ้ มูลตา่ งๆ ของป่าเขาชะเมา-เขาวง ท้องท่ีจังหวัดจันทบุรี เพื่อจัดตั้ง
เปน็ อุทยานแหง่ ชาติ และนายแพทย์บญุ สง่ เลขะกุล เลขาธิการนิยมไพรสมาคม ได้มีหนังสือลงวันท่ี 17 กรกฎาคม
2517 กับชมรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน ได้มีหนังสือ ท่ี ชอธ. 020/2517
ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2517 ขอให้พจิ ารณาจดั ต้งั บริเวณพ้ืนท่ีป่าเขาชะเมา ซึ่งเป็นต้นนํ้าลําธารของจังหวัดระยอง
ประกอบด้วยพรรณไม้และสัตว์ป่านานาชนิด ให้เป็นอุทยานแห่งชาติเช่นกัน ในขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์สยามรัฐ
ฉบับวนั ท่ี 20 สิงหาคม 2517 ไดต้ ีพมิ พ์บทความ “ เสียงเรยี กจากปา่ เขาชะเมา ” เขียนโดย นายไพบูลย์ สุขสุเมฆ
เรยี กร้องใหพ้ จิ ารณากาํ หนดปา่ เขาชะเมา-เขาวง ใหเ้ ปน็ วนอุทยานหรอื อทุ ยานแห่งชาตเิ พือ่ รักษาไว้ก่อนท่ีจะถูก
บุกรกุ ทําลาย
กรมป่าไม้ ได้มีคําสั่ง ที่ 1017/2517 ลงวันท่ี 30 สิงหาคม 2517 ให้เจ้าหน้าท่ีเข้าไปดําเนินการ
สํารวจแนวเขตป่าและสภาพพ้ืนท่ีป่าเขาชะเมา-เขาวง ในท้องท่ีจังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี ปรากฏว่ามี
สภาพเป็นป่าดงดิบ เป็นต้นนํ้าลําธาร มีสัตว์ป่าชุกชุมและธรรมชาติท่ีสวยงาม กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้
ไดน้ าํ เสนอคณะกรรมการอทุ ยานแหง่ ชาติในการประชุม เม่ือวันท่ี 4 เมษายน 2518 ซึ่งมีมติให้กําหนดบริเวณ
ดงั กล่าวเป็นอทุ ยานแหง่ ชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎกี ากาํ หนดบรเิ วณทดี่ นิ ป่าเขาชะเมาในท้องที่ตําบลทุ่งควายกิน
อําเภอแกลง จังหวดั ระยอง และตาํ บลแก่งหางแมว อําเภอท่าใหม่ จังหวดั จนั ทบุรี และป่าเขาวงในท้องที่ตําบล
กองดิน อําเภอแกลง จังหวัดระยอง และตําบลนายายอาม อําเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ
โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 92 ตอนท่ี 267 ลงวนั ที่ 31 ธันวาคม 2518 เป็นอุทยานแห่งชาติลําดับท่ี
13 ของประเทศไทย
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ
บริเวณเขาชะเมาส่วนใหญ่ประกอบด้วยเทือกเขาสูงชัน เป็นสันเขา (Ridgetops) มีความลาดเท
ปานกลาง และพื้นที่ไหล่เขาค่อนข้างชัน มียอดเขาสูงสุด คือ ยอดเขาแผนที่ สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง
1,024 เมตร และจุดตํ่าสดุ สงู จากระดบั นํ้าทะเลปานกลาง 51 เมตร
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
4
สว่ นลกั ษณะภูมิประเทศบริเวณเขาวงเปน็ แบบ Karst Topography เปน็ ลักษณะเขาลูกโดดหรือมี
ยอดเขาหลายยอด เกิดจากการละลายตัวของหินปูน มีลักษณะแอ่งหินปูน หลุมยุบและถ้ํา มียอดเขาสูงสุด
อยสู่ ูงจากระดบั นํา้ ทะเล 162 เมตร และจุดต่าํ สุด สูงจากระดับนาํ้ ทะเล 96 เมตร
ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
อากาศในบรเิ วณอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง ในตอนเช้ามีหมอกลงบ้างเป็นบางส่วนในพ้ืนที่
อากาศในตอนเช้าค่อนขา้ งหนาวและคาดว่าน่าจะหนาวขึน้ เรือ่ ยๆ ในชว่ งตอนกลางวนั มลี มพดั เยน็ ตลอดท้ังวัน
พืชพรรณและสัตว์ปา่
พ้ืนท่ีเขาชะเมา-เขาวง ส่วนใหญ่เป็นสังคมของป่าดิบช้ืน จึงมีพันธ์ุไม้หลายชนิดขึ้นอยู่อย่างอุดม
สมบูรณ์ เช่น ชิงชัน ประดู่ มะค่าโมง ตะเคียน ยาง ตะแบก รวมถึงกล้วยไม้ป่าต่างๆ และมีไม้พ้ืนล่างปกคุลม
ไปดว้ ย หวาย ว่าน และเฟิร์นชนิดต่างๆ
สตั ว์ปา่ ในเขตเขาชะเมา-เขาวง มีจาํ นวนของสัตวป์ า่ ไม่น้อยกว่า 137 ชนดิ จาก 113 สกุล ใน 70 วงศ์
แหลง่ ท่องเที่ยวและจุดเดน่ ทีน่ า่ สนใจ
- นํ้าตกเขาชะเมา-เขาวง หรือนํ้าตกธารน้ําใส ลักษณะเป็นธารนํ้าใส รองรับนํ้าตกขนาดใหญ่
ยาวประมาณ 3 กิโลเมตร ประกอบดว้ ยน้าํ ตกท่ีสวยงามหลายช้นั คือ วงั มจั ฉา วังมรกต ผากล้วยไม้ น้ําตกหกสาย
และผาสูง
- ผาสวรรค์ เปน็ หน้าผาต้ังตระหง่านอยู่เหนือนํ้าตกธารนํ้าใสตลอดระยะทาง 900 เมตร เส้นทางสู่
ผาสวรรค์เป็นเส้นทางผ่านป่าดงดิบอุดมสมบูรณ์ ในวันที่อากาศแจ่มใส สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของเขาแหลมหญ้า-
หมู่เกาะเสมด็ ได้อยา่ งชดั เจน
- น้ําตกคลองปลาก้ัง ตลอดทั้งสองฝั่งลําธารน้ําตกเป็นป่าดงดิบบริสุทธิ์ มีกล้วยไม้ป่าและพวกไม้พ้ืนล่าง
จําพวกเฟิร์น วา่ น ขนึ้ ปกคลมุ หนาแน่น
ภาพที่ 1 นาํ้ ตกคลองปลากั้ง
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
5
รูปแบบและวธิ กี ารสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ส่วนสํารวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ต่างๆ
ในสังกดั กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธพ์ุ ชื
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนท่ีท่ี
ภาพถา่ ยดาวเทียมแปลวา่ มีสภาพเปน็ ป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน โดย
กาํ หนดให้แตล่ ะแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนท่ี (Grid)
ลงบนขอบเขตแผนทีป่ ระเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวต้ังและแนวนอน
เท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนที่เท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้ังสองแนวก็จะเป็น
ตาํ แหน่งท่ตี ั้งของแปลงตวั อยา่ งแต่ละแปลง เมื่อดําเนนิ การเสรจ็ ส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง และตําแหน่ง
ทตี่ ัง้ ของหนว่ ยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอยา่ งดงั ภาพท่ี 1 และรูปแบบของการวางแปลงตัวอย่างแสดง
ดังภาพที่ 2 ตามลาํ ดบั
ภาพท่ี 2 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่ีอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
6
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใช้ในการสํารวจมีทั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ชัว่ คราว เปน็ แปลงทีม่ ีขนาดคงที่ (Fixed – Area Plot) และมรี ูปร่าง 2 ลักษณะดว้ ยกัน คอื
1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมท่ีมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจดุ ศูนย์กลางของวงกลมอย่บู นเสน้ รอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทศิ หลักท้ัง 4 ทศิ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1
ไดจ้ ากการสมุ่ ตัวอยา่ ง
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลทีท่ าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตัวอยา่ ง และข้อมูลที่ทําการสํารวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ท่ที ําการสํารวจ
รศั มีของวงกลม หรอื จํานวน พืน้ ที่ หรอื ความยาว ขอ้ มูลท่สี าํ รวจ
ความยาว (เมตร)
กลา้ ไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพ้ืนที่ของกล้าไม้
และลูกไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายทย่ี ังไม่เล้อื ย และตอไม้
ต้นไม้และตรวจสอบปัจจยั ท่ีรบกวนพนื้ ท่ปี ่า
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ Coarse Woody Debris (CWD) หวายเล้อื ย
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ และไม้เถาที่พาดผ่าน
17.84 (เสน้ ตรง) 2 เส้น
17.84 เมตร
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
7
การวเิ คราะหข์ ้อมูลการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
1. การคาํ นวณเน้ือที่ป่าและปรมิ าณไม้ท้ังหมดของแต่ละพน้ื ท่อี นรุ กั ษ์
1.1 ใช้ข้อมูลพนื้ ท่อี นรุ กั ษ์จากแผนทแี่ นบทา้ ยกฤษฎีกาของแตล่ ะพ้ืนทอี่ นรุ กั ษ์
1.2 ใช้สดั ส่วนจาํ นวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างท่ี
วางแปลงทั้งหมดในแต่ละพ้ืนท่ีอนรุ ักษ์ ทอี่ าจจะได้ข้อมลู จากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถา่ ยทางอากาศ มาคํานวณเปน็ เน้ือทปี่ ่าแตล่ ะชนิดโดยนาํ แปลงตวั อย่างท่ีวางแผนไวม้ าคํานวณทุกแปลง
1.3 แปลงตวั อยา่ งทไ่ี มส่ ามารถดาํ เนนิ การได้ ก็ต้องนาํ มาคํานวณดว้ ย โดยทําการประเมนิ ลักษณะ
พน้ื ทวี่ ่าเปน็ หนา้ ผา น้าํ ตก หรือพื้นทอ่ี ่ืนๆ เพอ่ื ประกอบลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี ิน
1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพื้นท่ีอนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเน้ืที่อนุรักษ์จากแผนที่แนบท้าย
กฤษฎีกาของแต่ละพ้ืนท่ีอนุรักษ์ ซ่ึงบางพื้นท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือที่คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อ
การคาํ นวณปริมาณไมท้ ั้งหมด ทาํ ให้การคํานวณปริมาณไม้เป็นการประมาณเบื้องต้น
2. การคาํ นวณปริมาตรไม้
สมการปรมิ าตรไม้ใช้วิธี Volume based approach โดยแบ่งกลุ่มของชนิดไม้เป็นจํานวน 7 กลุ่ม
ดังนี้
2.1 กลุม่ ที่ 1 ได้แก่ ยาง เตง็ รัง เหยี ง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จนั ทนก์ ะพอ้ สนสองใบ
สมการทไี่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กล่มุ ที่ 2 ไดแ้ ก่ กระพีจ้ นั่ กระพเ้ี ขาควาย เก็ดดาํ เกด็ แดง เก็ดขาว พะยุง ชิงชนั กระพี้ ถอ่ น
แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลมุ่ ท่ี 3 ไดแ้ ก่ รกฟา้ สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หกู ระจง ตีนนก ขี้อา้ ย กระบก ตะครํา้
ตะคร้อ ตาเสอื คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลีย่ น มะฮอกกานี ขอ้ี ้าย ตะบูน ตะบัน รกั ตว้ิ
สะแกแสง ปู่เจา้ และไมส้ กลุ สา้ น เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการทไี่ ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
8
2.4 กลุ่มท่ี 4 ไดแ้ ก่ กางขม้ี อด คนู พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลมุ พอ
และสกลุ ขเี้ หลก็
สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลุ่มที่ 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เตมิ
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลุ่มท่ี 6 ได้แก่ สัก ตีนนก ผา่ เสีย้ น หมากเล็กหมากนอ้ ย ไข่เนา่ กระจับเขา กาสามปีก สวอง
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ท่ี 7 ไดแ้ ก่ ไมช้ นดิ อน่ื ๆ เช่น ก๊กุ ขวา้ ว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะมว่ งป่า ซ้อ โมกมัน
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ กอ่ เปลา้ เป็นตน้
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คือ ปริมาตรสว่ นลําต้นเมอื่ ตัดโคน่ ทคี่ วามสงู เหนือดนิ (โคน) 10 เซนติเมตร
ถึงกง่ิ แรกท่ีทาํ เป็นสินค้าได้ มหี น่วยเป็นลกู บาศกเ์ มตร
DBH มหี นว่ ยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปที่นําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ต้ัง ตําแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทําการเก็บข้อมูล
ความสูงจากระดับน้ําทะเลและลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ีจะใช้ประกอบในการวิเคราะห์
ประเมนิ ผลรว่ มกบั ข้อมลู ด้านอ่นื ๆ เพอื่ ติดตามความเปลีย่ นแปลงของพ้นื ทใี่ นการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ครั้งตอ่ ไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปริมาตร
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูลชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)
6. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนดิ และปริมาณของไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแนน่ ของไผ่ (จํานวนกอ และ จาํ นวนลาํ )
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเสน้ ตง้ั (จํานวนต้น)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
9
7. การวิเคราะห์ข้อมลู สังคมพืช
โดยมรี ายละเอยี ดการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั นี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธ์ุที่ศึกษาที่
ปรากฏในแปลงตวั อย่างตอ่ หน่วยพืน้ ที่ท่ที ําการสํารวจ
D= จํานวนต้นของไมช้ นดิ นน้ั ทั้งหมด
.
พืน้ ทีแ่ ปลงตัวอย่างท้งั หมดท่ที ําการสํารวจ
7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างที่ปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดน้ันต่อ
จาํ นวนแปลงทท่ี ําการสํารวจ
F = จํานวนแปลงตัวอย่างทพ่ี บไมช้ นิดท่ีกําหนด X 100
จํานวนแปลงตวั อย่างทง้ั หมดทีท่ ําการสํารวจ
7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นท่ีหน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พนื้ ท่หี น้าตดั ของลําตน้ ของต้นไม้ทว่ี ดั ระดับอก (1.30 เมตร) ตอ่ พื้นท่ที ี่ทําการสาํ รวจ
Do = พ้นื ทห่ี นา้ ตดั ทั้งหมดของไมช้ นิดทีก่ ําหนด X 100
พนื้ ที่แปลงตัวอยา่ งทที่ าํ การสาํ รวจ
7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่น
ของไม้ท่ีต้องการตอ่ ค่าความหนาแน่นของไมท้ ุกชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ
RD = ความหนาแนน่ ของไม้ชนิดนั้น X 100
ความหนาแนน่ รวมของไมท้ ุกชนิด
7.5 คา่ ความถ่ีสมั พทั ธ์ (Relative Frequency : RF) คอื คา่ ความสมั พัทธ์ของความถ่ีของชนิดไม้ท่ี
ตอ้ งการต่อค่าความถ่ที ัง้ หมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ ร้อยละ
RF = ความถี่ของไมช้ นิดนั้น X 100
ความถี่รวมของไม้ทกุ ชนดิ
7.6 ค่าความเด่นสัมพทั ธ์ (Relative Dominance : RDo) คอื คา่ ความสัมพนั ธ์ของความเดน่ ในรูป
พนื้ ท่ีหนา้ ตดั ของไม้ชนดิ ท่กี าํ หนดต่อความเด่นรวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ
RDo = ความเด่นของไมช้ นิดนัน้ X 100
ความเด่นรวมของไมท้ กุ ชนิด
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
10
7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่าความ
สมั พัทธ์ตา่ งๆ ของชนิดไม้ในสังคม ได้แก่ ค่าความสมั พทั ธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถี่ และ
ค่าความสัมพทั ธ์ด้านความเดน่
IVI = RD + RF + RDo
8. วเิ คราะหข์ อ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยทาํ การวิเคราะห์คา่ ต่างๆ ดังนี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธ์ุที่ปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซ่ึงมสี ตู รการคาํ นวณดังต่อไปน้ี
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คือ ค่าดัชนีความหลากชนิดของชนิดพันธุ์ไม้
pi คอื สดั สว่ นระหวา่ งจาํ นวนตน้ ไมช้ นิดที่ i ตอ่ จํานวนตน้ ไมท้ ง้ั หมด
S คือ จาํ นวนชนดิ พันธ์ไุ มท้ ้ังหมด
8.2 ความร่ํารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดท่ีทําการสํารวจ ซ่ึงจะเพ่ิมขึ้นเม่ือเพิ่มพ้ืนที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดังนี้
1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
เม่อื S คอื จํานวนชนดิ ทั้งหมดในสงั คม
n คอื จํานวนต้นทง้ั หมดที่สาํ รวจพบ
8.3 ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสมาํ่ เสมอจะมคี า่ มากทีส่ ุดเมอ่ื ทกุ ชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซ่ึงวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นกั นิเวศวทิ ยา คือ วธิ ขี อง Pielou (1975) ซึ่งมสี ูตรการคํานวณดงั น้ี
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
11
เมื่อ H คือ คา่ ดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จํานวนชนิดทง้ั หมด (N0)
N1 คือ eH
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
12
ผลการสาํ รวจและวิเคราะห์ขอ้ มูลทรัพยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตวั อย่าง
จากผลการดําเนนิ การวางแปลงสาํ รวจเพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรพั ยากรปา่ ไม้ใน
พื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง จํานวน 9 แปลง แสดงดงั ภาพที่ 3
ภาพที่ 3 แผนทีแ่ สดงขอบเขตและจดุ สาํ รวจของอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
2. พ้นื ทป่ี า่ ไม้
จากการสาํ รวจ พบวา่ มพี ้ืนที่ปา่ ไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ 3 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบช้ืน ป่าดบิ แลง้ และพนื้ ทอี่ ่ืนๆ โดยพบป่าดิบแลง้ มากทสี่ ุด มพี น้ื ที่ 55.79 ตารางกิโลเมตร (34,866.67 ไร่)
คิดเป็นร้อยละ 66.67 ของพื้นท่ีท้ังหมด รองลงมาคือป่าดิบช้ืน มีพื้นที่ 18.60 ตารางกิโลเมตร (11,622.22 ไร่)
คดิ เปน็ ร้อยละ 22.22 ของพืน้ ทท่ี ้ังหมด รายละเอยี ดแสดงดังตารางท่ี 2 และภาพที่ 4-7
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
13
ตารางท่ี 2 พ้นื ทปี่ ่าไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
(Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี ิน พ้นื ที่ รอ้ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ของพ้นื ท่ที ัง้ หมด
ป่าดบิ ชื้น 18.60 11,622.22 1,859.56 12.50
(Tropical Evergreen Forest)
ปา่ ดบิ แลง้ 55.79 34,866.67 5,578.67 87.50
(Dry Evergreen Forest)
พ้ืนที่อ่นื ๆ 9.30 5,811.11 929.78 11.11
(Others)
รวม 83.68 52,300.00 8,368.00 100.00
หมายเหตุ : - การคํานวณพื้นท่ีป่าไม้ของชนดิ ปา่ แต่ละชนิดใช้สดั สว่ นของข้อมูลที่พบจากการสาํ รวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพ้ืนทส่ี าํ รวจคํานวณจากข้อมลู แปลงท่ีสาํ รวจพบ ซ่งึ มีพนื้ ท่ดี ังตารางท่ี 1
- รอ้ ยละของพื้นท่ที งั้ หมดคาํ นวณจากพน้ื ทีแ่ นบทา้ ยกฤษฎกี าของอุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
ซึ่งมพี ื้นทเ่ี ท่ากับ 83.68 ตารางกิโลเมตร หรือ 52,300 ไร่
ภาพท่ี 4 พนื้ ทป่ี ่าไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
14
ภาพท่ี 5 ลกั ษณะท่ัวไปของป่าดบิ ชืน้ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
15
ภาพที่ 6 ลกั ษณะทัว่ ไปของป่าดบิ แลง้ พนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
16
ภาพท่ี 7 ลกั ษณะท่ัวไปของพนื้ ทอี่ น่ื ๆ พน้ื ที่อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
17
3. ปริมาณไม้
จากการวิเคราะห์เก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ในแปลงตัวอยา่ งถาวร จาํ นวนทง้ั สิน้ 9 แปลง พบวา่ ชนดิ ปา่ หรือลักษณะการใช้ประโยชน์
ทีด่ ินที่สาํ รวจพบทัง้ 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบชื้น ป่าดบิ แลง้ และพื้นทอ่ี ืน่ ๆ พบไม้ยืนต้นท่มี ีความสูงมากกวา่ 1.30
เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกว่า 94 ชนิด รวม
ท้ังหมด 5,857,600 ต้น โดยจํานวนต้นในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพที่ 8 ปริมาตรไม้รวมทั้งหมด 2,179,292.19
ลูกบาศก์เมตร โดยปรมิ าตรไมใ้ นปา่ แต่ละชนิดแสดงดงั ภาพที่ 9 มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉล่ีย 112 ต้นต่อไร่
โดยความหนาแน่นไม้ในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพท่ี 10 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยพ้ืนท่ีเฉลี่ย 41.67 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
โดยปริมาตรไม้ต่อหน่วยพื้นที่ในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพที่ 11 พบปริมาณไม้มากสุดในป่าดิบแล้ง จํานวน
4,230,489 ต้น สําหรับปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าดิบแล้ง จํานวน 1,574,956.16 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียด
แสดงดังตารางที่ 3 และ 4 ตามลําดบั
ตารางที่ 3 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ ่อหน่วยพนื้ ท่จี าํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ิน
ในอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี นิ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(Landuse Type) ต้น/ไร่ ตน้ /เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ปา่ ดิบชน้ื 126 785 42.18 263.64
(Tropical Evergreen Forest)
ปา่ ดิบแล้ง 121 758 45.17 282.32
(Dry Evergreen Forest)
พน้ื ทีอ่ นื่ ๆ 29 180 19.63 122.71
(Others)
เฉลย่ี 112 700 41.67 260.43
ตารางที่ 4 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
(Volume by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดิน ปริมาณไมท้ ้ังหมด
(Landuse Type) จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ป่าดิบช้นื 1,459,751 490,247.63
(Tropical Evergreen Forest)
ปา่ ดบิ แลง้ 4,230,489 1,574,956.14
(Dry Evergreen Forest)
พืน้ ทอี่ ืน่ ๆ 167,360 114,088.08
(Others)
รวม 5,857,600 2,179,291.84
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
18
ภาพท่ี 8 ปริมาณไม้ท้งั หมดทพี่ บในอุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
ภาพท่ี 9 ปรมิ าตรไมท้ ั้งหมดทีพ่ บในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
19
ภาพท่ี 10 ความหนาแนน่ ตอ่ หน่วยพน้ื ท่ขี องตน้ ไม้ในอุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ภาพท่ี 11 ปริมาตรไม้ต่อหนว่ ยพืน้ ทใี่ นอุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
20
การกระจายขนาดความโต พบว่า ไม้ท่ีมีขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร มีจํานวนมากท่ีสุด คือ
3,570,347 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 60.95 ของไมท้ ้ังหมด แสดงดังตารางท่ี 5 และภาพท่ี 12
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในเขตอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ั้งหมด (ต้น) ร้อยละ (%)
15 - 45 ซม. 3,570,347 60.95
26.03
>45 - 100 ซม. 1,524,836 13.02
100.00
>100 ซม. 762,418
รวม 5,857,600
ภาพท่ี 12 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในอุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
21
4. ชนิดพนั ธ์ไุ ม้
ชนดิ พันธไุ์ ม้ทสี่ ํารวจพบในภาคสนาม จําแนกโดยใช้เจ้าหน้าท่ีผู้เช่ียวชาญทางด้านพันธ์ุไม้ ช่วยจําแนก
ชนดิ พนั ธ์ุไมท้ ่ถี ูกต้อง และบางครง้ั จําเป็นต้องใชร้ าษฎรในพืน้ ท่ี ซ่งึ มีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจําถ่ินช่วยในการ
เก็บข้อมูลและเกบ็ ตวั อย่างชนิดพันธ์ุไม้ และสํานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ช่วย
จําแนกช่ือทางการและชื่อวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องอีกครั้งหน่ึง โดยชนิดพันธุ์ไม้ท่ีพบท้ังหมดในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ
เขาชะเมา-เขาวง มี 37 วงศ์ มากกว่า 94 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 5,857,600 ต้น ปริมาตรไม้รวม 2,179,291.84
ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 112 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 41.67 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เมื่อเรียง
ลําดับชนิดไม้จากจํานวนต้นที่พบจากมากสุดไปหาไปน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หว้า (Syzygium cumini)
ตานดํา (Diospyros montana) พุงทะลาย (Scaphium scaphigerum) มะไฟ (Baccaurea ramiflora)
คอแลน (Xerospermum noronhianum) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) โสกเขา (Saraca declinata)
มะชมพู่ป่า (Syzygium aqeum) ทุเรียนป่า (Durio mansoni) และโมก (Wrightia pubescens) ตามลําดับ
แต่เม่อื เรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ หว้า ยางกล่อง (Dipterocarpus
dyeri) กระบาก (Anisoptera costata) กระบก (Irvingia malayana) หว้าใบใหญ่ (Syzygium pergamentaceum)
พุงทะลาย ทุเรียนป่า สองสลึง (Lophopetalum duperreanum) พลับดง (Diospyros bejaudii) และ
มะม่วงปา่ (Mangifera caloneura) ตามลาํ ดบั รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 6
ในป่าดิบช้ืน มีปริมาณไมร้ วม 1,459,751 ตน้ คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 490,247.63 ลูกบาศก์เมตร
มีคา่ ความหนาแน่นเฉลี่ย 126 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 42.18 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากที่สดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ หวา้ พลับดง กระบก พะยอม (Shorea roxburghii) สองสลงึ ปออเี กง้ (Pterocymbium
tinctorium) ยางนา (Dipterocarpus alatus) มะไฟ มะม่วงป่า และ คอแลน (Nephelium hypoleucum)
รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 7
ในปา่ ดบิ แล้ง มีปรมิ าณไมร้ วม 4,230,489 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,574,956.14 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 121 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 45.17 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มาก
ท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หว้า ยางกล่อง กระบาก หว้าใบใหญ่ กระบก พุงทะลาย ทุเรียนป่า ตานดํา สองสลึง
และมะมว่ งป่า รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 8
ในพ้นื ทอ่ี ่นื ๆ มีปรมิ าณไม้รวม 167,360 ต้น คิดเป็นปรมิ าตรไมร้ วม 114,088.08 ลกู บาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉลี่ย 29 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 19.63 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้มากท่ีสุด
ได้แก่ ประสักแดง (Bruguiera sexangula) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ปออีเก้ง ตะแบกเกรียบ
(Lagerstroemia balansae) กระบก ลาย (Microcos paniculata) ตีนเป็ดทราย (Cerbera manghas)
และ ยางนา รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 9
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ทั้งหมดที่พบในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง มีมากกว่า 40 ชนิด
รวมทัง้ สนิ้ 485,344,000 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 9,280 ต้นต่อไร่ โดยมีกล้าไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า
29 ชนิด มีจํานวน 304,967,111 ต้น มีความหนาแน่น 5,831 ต้นต่อไร่ ชนิดกล้าไม้ของไม้ยืนต้นท่ีมีปริมาณ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่อี ุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
22
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ มะกลํ่าต้น (Adenanthera pavonina) เข็มป่า (Ixora cibdela) สองสลึง
พุงทะลาย ข่อยหนาม พะวาใบใหญ่ (Garcinia vilersiana) หว้า ดีหมี (Cleidion spiciflorum) คอแลน
(Nephelium hypoleucum) และพลองขาว (Antidesma neurocarpum) ตามลําดับ รายละเอียดแสดงดัง
ตารางที่ 10 และมีกล้าไมช้ นดิ อ่ืนๆ อีกมากกว่า 11 ชนิด มีจํานวน 180,376,889 ต้น มีความหนาแน่น 3,449
ตน้ ต่อไร่ รายรายละเอยี ดแสดงดงั ตารางท่ี 11
ชนิดและปริมาณของลูกไม้ทั้งหมดท่ีพบในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง มีมากกว่า 10 ชนิด
รวมทั้งสน้ิ 3,347,200 ต้น มีความหนาแน่นของลูกไม้ 64 ต้นต่อไร่ โดยมีลูกไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า 9 ชนิด มี
จํานวน 3,161,244 ต้น มคี วามหนาแน่น 60 ต้นตอ่ ไร่ ชนิดลูกไม้ของไม้ยืนต้นที่มีปริมาณมากที่สุด ได้แก่ พุงทะลาย
สองสลงึ โมก สุรามะรดิ (Cinnamomum subavenium) มะนาว (Citrus aurantifolia) นางเลว (Cyathocalyx
martabanicus) มะชมพูป่ ่า เข็มป่า และกะโมกเขา (Sageraea elliptica) ตามลําดับ รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี
12 และมีลูกไมช้ นดิ อื่นๆ ไดแ้ ก่ คอเห้ยี (Artemisia indica) จาํ นวน 185,956 ต้น มีความหนาแนน่ 4 ตน้ ตอ่ ไร่
สําหรบั ไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง พบว่ามีไผ่อยู่ 1 ชนิด คือ ไผ่สีสุก (Bambusa
blumeana) มีปรมิ าณไผจ่ ํานวน 576,462 กอ รวมท้งั สิ้น 9,502,329 ลํา โดยพบในบรเิ วณปา่ ดบิ แล้ง
ชนิดและปริมาณของตอไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง มีทั้งหมด 2 ชนิด รวมทั้งส้ิน
55,787 ตอ มีความหนาแนน่ ของตอไม้ 1 ตอตอ่ ไร่ รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 13
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
23
ตารางที่ 6 ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาตรไม้สงู สุด)
ลาํ ดับ ชนดิ พันธไุ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปริมาณไม้ทงั้ หมด
ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ ตน้ ลบ.ม.
1 หวา้ Syzygium cumini 7.64 7.03 399,804.44 367,601.40
0.36 2.78 18,595.56 145,526.25
2 ยางกลอ่ ง Dipterocarpus dyeri 0.18 2.69 9,297.78 140,929.45
0.71 2.40 37,191.11 125,470.64
3 กระบาก Anisoptera costata 0.18 1.94 9,297.78 101,544.36
5.16 1.49 269,635.56 78,174.44
4 กระบก Irvingia malayana 3.02 1.32 158,062.22 69,134.05
0.71 1.07 37,191.11 56,140.68
5 หวา้ ใบใหญ่ Syzygium pergamentaceum 1.24 0.87 65,084.44 45,245.30
2.31 0.82 120,871.11 42,952.44
6 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 0.71 0.82 37,191.11 42,864.34
0.89 0.82 46,488.89 42,773.22
7 ทเุ รียนปา่ Durio mansoni 7.47 0.82 390,506.67 42,715.40
2.49 0.61 130,168.89 32,134.09
8 สองสลงึ Lophopetalum duperreanum 0.53 0.61 27,893.33 31,898.27
3.20 0.61 167,360.00 31,859.19
9 พลับดง Diospyros bejaudii 3.91 0.55 204,551.11 28,740.05
3.91 0.42 204,551.11 21,729.85
10 มะมว่ งป่า Mangifera caloneura 0.18 0.41 9,297.78 21,483.79
2.31 0.40 120,871.11 20,771.31
11 ประสกั แดง Bruguiera sexangula 2.84 0.39 148,764.44 20,220.12
0.18 0.37 9,297.78 19,607.66
12 ปออเี กง้ Pterocymbium tinctorium 1.42 0.33 74,382.22 17,314.26
3.38 0.32 176,657.78 16,534.09
13 ตานดาํ Diospyros montana 1.60 0.30 83,680.00 15,735.56
0.18 0.29 9,297.78 15,047.14
14 คอแลน Nephelium hypoleucum 1.07 0.28 55,786.67 14,870.42
1.60 0.24 83,680.00 12,745.18
15 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1.07 0.23 55,786.67 11,947.94
0.71 0.22 37,191.11 11,488.92
16 มะชมพปู่ ่า Syzygium aqeum 50.84 10.21 2,659,164.44 534,092.04
17 คอแลน Xerospermum noronhianum
18 มะไฟ Baccaurea ramiflora
19 สัตบรรณ Alstonia scholaris
20 เลือดควาย Knema erratica
21 ยางนา Dipterocarpus alatus
22 ตาเสือ Aphanamixis polystachya
23 พะยอม Shorea roxburghii
24 โสกเขา Saraca declinata
25 กัดลิ้น Walsura trichostemon
26 กะทังหนั ใบเลก็ Calophyllum pisiferum
27 มะกล่าํ ต้น Adenanthera pavonina
28 พะวาใบใหญ่ Garcinia vilersiana
29 มะปริง Bouea oppositifolia
30 เฉยี งพร้านางแอ Carallia brachiata
31 อื่นๆ Others
รวม 112 41.67 5,857,600 2,179,291.84
หมายเหตุ : มีชนิดพันธุ์ไม้ท่สี าํ รวจพบมากกวา่ 94 ชนดิ
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
24
ตารางท่ี 7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ ชื้นของอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง (30 ชนิดแรกทีม่ ปี รมิ าตรไมส้ ูงสุด)
ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ ปริมาตร ปรมิ าณไมท้ ้ังหมด
ต้น/ไร่ ลบ.ม./ไร่ ต้น ลบ.ม.
1 หว้า Syzygium cumini 8.80 4.67 102,276 54,295.73
23,993.70
2 พลบั ดง Diospyros bejaudii 1.60 2.06 18,596 19,964.72
17,314.26
3 กระบก Irvingia malayana 0.80 1.72 9,298 16,518.73
15,860.08
4 พะยอม Shorea roxburghii 6.40 1.49 74,382 14,787.24
13,408.53
5 สองสลึง Lophopetalum duperreanum 2.40 1.42 27,893 10,482.12
8,381.81
6 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 2.40 1.36 27,893 7,850.58
6,031.45
7 ยางนา Dipterocarpus alatus 8.80 1.27 102,276 5,783.11
5,556.81
8 มะไฟ Baccaurea ramiflora 7.20 1.15 83,680 5,331.79
5,234.73
9 มะม่วงป่า Mangifera caloneura 0.80 0.90 9,298 5,130.77
4,273.06
10 คอแลน Nephelium hypoleucum 0.80 0.72 9,298 4,072.86
3,972.90
11 โมก Wrightia pubescens 9.60 0.68 111,573 3,197.66
3,131.18
12 มะกลาํ่ ตน้ Adenanthera pavonina 0.80 0.52 9,298 2,885.84
13 ตะเคยี นหิน Hopea ferrea 0.80 0.50 9,298
14 มะปริง Bouea oppositifolia 2.40 0.48 27,893
15 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 3.20 0.46 37,191
16 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum 1.60 0.45 18,596
17 ยางโดน Polyalthia asteriella 0.80 0.44 9,298
18 กรวยกระ Casearia graveolens 2.40 0.37 27,893
19 จิกเขา Barringtonia pendula 6.40 0.35 74,382
20 ยางโอน Polyalthia viridis 4.80 0.34 55,787
21 เลือดแรด Knema globularia 0.80 0.28 9,298
22 พลองขาว Antidesma neurocarpum 2.40 0.27 27,893
23 มะชมพูป่ ่า Syzygium aqeum 1.60 0.25 18,596
24 ตานดาํ Diospyros montana 2.40 0.23 27,893 2,714.58
25 คะนาน Colona matssoniana 1.60 0.22 18,596 2,543.94
26 คอแลน Xerospermum noronhianum 3.20 0.19 37,191 2,207.20
1,865.31
27 มะหาดขอ่ ย Artocarpus nitidus 1.60 0.16 18,596 1,475.01
1,014.03
28 สันโสก Clausena excavata 0.80 0.13 9,298
945.84
29 กะโมกลาย Sageraea reticulata 2.40 0.09 27,893 220,022.07
30 กะโมกเขา Sageraea elliptica 0.80 0.08 9,298
31 อืน่ ๆ Others 35.20 18.93 409,102
รวม 126 42.18 1,459,751 490,247.63
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ท่ีสํารวจพบมากกวา่ 44 ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
25
ตารางที่ 8 ปรมิ าณไม้ในป่าดิบแลง้ ของอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี ริมาตรไม้สงู สุด)
ลาํ ดับ ชนิดพันธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปริมาณไม้ท้ังหมด
ตน้ /ไร่ ลบ.ม./ไร่ ต้น ลบ.ม.
1 หวา้ Syzygium cumini 8.53 8.99 297,528.89 313,305.67
2 ยางกล่อง Dipterocarpus dyeri 0.53 4.17 18,595.56 145,526.25
3 กระบาก Anisoptera costata 0.27 4.04 9,297.78 140,929.45
4 หว้าใบใหญ่ Syzygium pergamentaceum 0.27 2.91 9,297.78 101,544.36
5 กระบก Irvingia malayana 0.53 2.82 18,595.56 98,211.94
6 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum 7.20 2.09 251,040.00 72,939.70
7 ทุเรียนป่า Durio mansoni 4.27 1.97 148,764.44 68,645.79
8 ตานดาํ Diospyros montana 10.40 1.15 362,613.33 40,000.82
9 สองสลึง Lophopetalum duperreanum 0.27 1.14 9,297.78 39,621.95
10 มะมว่ งป่า Mangifera caloneura 3.20 0.93 111,573.33 32,470.32
11 มะชมพปู่ ่า Syzygium aqeum 4.27 0.83 148,764.44 28,973.35
12 คอแลน Xerospermum noronhianum 4.80 0.76 167,360.00 26,532.84
13 คอแลน Nephelium hypoleucum 3.47 0.68 120,871.11 23,752.28
14 สัตบรรณ Alstonia scholaris 0.27 0.62 9,297.78 21,483.79
15 พลับดง Diospyros bejaudii 1.33 0.61 46,488.89 21,251.60
16 เลือดควาย Knema erratica 3.47 0.60 120,871.11 20,771.31
17 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 0.27 0.56 9,297.78 19,607.66
18 โสกเขา Saraca declinata 4.80 0.47 167,360.00 16,390.26
19 กดั ลนิ้ Walsura trichostemon 2.40 0.45 83,680.00 15,735.56
20 กะทังหนั ใบเลก็ Calophyllum pisiferum 0.27 0.43 9,297.78 15,047.14
21 พะวาใบใหญ่ Garcinia vilersiana 2.13 0.35 74,382.22 12,362.39
22 เฉียงพร้านางแอ Carallia brachiata 1.07 0.33 37,191.11 11,488.92
23 มะพลับ Diospyros areolata 0.80 0.32 27,893.33 11,121.67
24 เคยี่ ม Cotylelobium melanoxylon 0.27 0.31 9,297.78 10,875.69
25 มะกลา่ํ ต้น Adenanthera pavonina 1.33 0.25 46,488.89 8,838.97
26 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 0.27 0.25 9,297.78 8,815.10
27 สะตอ Parkia speciosa 0.27 0.25 9,297.78 8,553.59
28 มะไฟ Baccaurea ramiflora 3.47 0.24 120,871.11 8,321.32
29 มะหาดข่อย Artocarpus nitidus 1.33 0.21 46,488.89 7,148.33
30 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 5.33 0.20 185,955.56 7,059.51
31 อืน่ ๆ Others 44.27 6.24 1,543,431.11 217,628.58
รวม 121 45.17 4,230,489 1,574,956.14
หมายเหตุ : มีชนิดพันธไุ์ มท้ ี่สาํ รวจพบมากกวา่ 78 ชนดิ
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
26
ตารางท่ี 9 ปรมิ าณไมใ้ นพื้นท่อี ่นื ๆ ของอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
ลําดบั ชนิดพันธไ์ุ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น ปรมิ าตร ปริมาณไม้ทัง้ หมด
ตน้ ลบ.ม.
ต้น/ไร่ ลบ.ม./ไร่ 37,191.11 42,864.34
27,893.33 31,898.27
1 ประสักแดง Bruguiera sexangula 6.40 7.38 9,297.78 18,098.04
4.80 5.49 27,893.33 9,980.69
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1.60 3.11 9,297.78 7,293.97
4.80 1.72 9,297.78 2,224.11
3 ปออีเกง้ Pterocymbium tinctorium 1.60 1.26 18,595.56 1,464.55
1.60 0.38 27,893.33 264.11
4 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae 3.20 0.25
4.80 0.05 167,360 114,088.08
5 กระบก Irvingia malayana
6 ลาย Microcos paniculata
7 ตนี เปด็ ทราย Cerbera manghas
8 ยางนา Dipterocarpus alatus
รวม 29 19.63
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
27
ตารางที่ 10 ชนิดและปรมิ าณกลา้ ไมข้ องไม้ยนื ต้น (Seedling) ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ลําดับ ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแนน่ จาํ นวนทงั้ หมด
ตน้ /ไร่ ตน้
1 มะกลา่ํ ตน้ Adenanthera pavonina 853 44,629,333
2 เข็มปา่ Ixora cibdela 676 35,331,556
3 สองสลงึ Lophopetalum duperreanum 498 26,033,778
4 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 498 26,033,778
5 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius 462 24,174,222
6 พะวาใบใหญ่ Garcinia vilersiana 427 22,314,667
7 หว้า Syzygium cumini 320 16,736,000
8 ดหี มี Cleidion spiciflorum 284 14,876,444
9 คอแลน Nephelium hypoleucum 213 11,157,333
10 พลองขาว Antidesma neurocarpum 142 7,438,222
11 ขนนุ ปา่ Artocarpus lanceifolius 142 7,438,222
12 โสกเขา Saraca declinata 142 7,438,222
13 ปอกระสา Broussonetia papyrifera 107 5,578,667
14 ไมห้ อม Aquilaria malaccensis 71 3,719,111
15 มะนาว Citrus aurantifolia 71 3,719,111
16 นางเลว Cyathocalyx martabanicus 71 3,719,111
17 ตานดาํ Diospyros montana 71 3,719,111
18 มะเดอ่ื ปล้อง Ficus hispida 71 3,719,111
19 กะโมกเขา Sageraea elliptica 71 3,719,111
20 โมกเหลือง Wrightia viridiflora 71 3,719,111
21 ตองลาด Actinodaphne henryi 36 1,859,556
22 อบเชย Cinnamomum bejolghota 36 1,859,556
23 สุรามะริด Cinnamomum subavenium 36 1,859,556
24 ขางนา้ํ ผ้ึง Claoxylon indicum 36 1,859,556
25 มะชมพปู่ ่า Syzygium aqeum 36 1,859,556
26 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 36 1,859,556
27 มะมว่ งป่า Mangifera caloneura 36 1,859,556
28 ลาํ ไยป่า Paranephelium xestophyllum 36 1,859,556
29 Unknown Unknown 284 14,876,444
รวม 5,831 304,967,111
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
28
ตารางที่ 11 ชนดิ และปริมาณกล้าไมช้ นิดอืน่ ๆ ที่พบในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ลําดับ ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ความหนาแน่น จํานวนทงั้ หมด
ต้น/ไร่ ต้น
1 หวายลึแบ Calamus balingensi 356 18,595,556
2 มะขามเครอื Rourea stenopetala 249 13,016,889
3 เฟนิ ก้างปลา Nephrolepis biserrata 71 3,719,111
4 เรว่ Amomum villosum 782 40,910,222
5 เฟนิ ราชินี Doryopteris ludens 1,422 74,382,222
6 ตอ้ ยต่งิ Ruellia tuberosa 36 1,859,556
7 คอเห้ีย Artemisia indica 107 5,578,667
8 กะพอ้ Licuala paludosa 249 13,016,889
9 หมากลิง Pinanga riparia 71 3,719,111
10 พิลังกาสา Ardisia ionantha 36 1,859,556
11 ตาเปด็ ตาไก่ Ardisia fulva 71 3,719,111
รวม 3,449 180,376,889
ตารางที่ 12 ชนิดและปริมาณลูกไม้ของไมย้ นื ต้น (Sapling) ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ลาํ ดับ ชือ่ พนั ธุ์ไม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น จาํ นวนทงั้ หมด
ตน้ /ไร่ ต้น
1 พงุ ทะลาย Scaphium scaphigerum 14 743,822
2 สองสลงึ Lophopetalum duperreanum 11 557,867
3 โมก Wrightia pubescens 11 557,867
4 สรุ ามะรดิ Cinnamomum subavenium 7 371,911
5 มะนาว Citrus aurantifolia 4 185,956
6 นางเลว Cyathocalyx martabanicus 4 185,956
7 มะชมพ่ปู ่า Syzygium aqeum 4 185,956
8 เข็มป่า Ixora cibdela 4 185,956
9 กะโมกเขา Sageraea elliptica 4 185,956
รวม 60 3,161,244
ตารางที่ 13 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ลาํ ดบั ช่ือพันธ์ไุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน่น จํานวนทงั้ หมด
ตอ/ไร่ ตอ
1 ประสกั แดง Bruguiera sexangula 0.71 37,191
2 ท้ิงถ่อน Albizia procera 0.36 18,596
รวม 1 55,787
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
29
5. สงั คมพืช
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง พบว่ามี
สังคมพชื 3 ประเภท คือ ป่าดบิ ช้นื ป่าดบิ แล้ง และพื้นที่อื่นๆ จากการวเิ คราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่น
ของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดรรชนีความสาํ คญั ของพรรณไม้
(IVI) ดงั น้ี
ในพ้ืนที่ป่าดิบช้ืน มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
หวา้ โมก มะไฟ ยางนา พะยอม จิกเขา (Barringtonia pendula) ปออีเก้ง พลับดง สองสลึง และคอแลน
ตามลําดับ รายละเอยี ดแสดงดังในตารางท่ี 14
ในพน้ื ท่ปี ่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
หว้า พุงทะลาย ตานดํา ทุเรียนป่า คอแลน (Xerospermum noronhianum) มะชมพู่ป่า มะม่วงป่า กระบก
โสกเขา และคอแลน (Nephelium hypoleucum) ตามลาํ ดับ รายละเอยี ดแสดงดังในตารางท่ี 15
ในพื้นที่อ่ืนๆ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด ได้แก่ ประสักแดง ประดู่
ตะแบกเกรยี บ ปออีเกง้ ยางนา ตีนเป็ดทราย กระบก และลาย ตามลําดับ รายละเอยี ดแสดงดังในตารางที่ 16
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
ตารางที่ 14 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ RDensi
1 หวา้ Syzygium cumini
2 โมก Wrightia pubescens
3 มะไฟ Baccaurea ramiflora
4 ยางนา Dipterocarpus alatus
5 พะยอม Shorea roxburghii
6 จกิ เขา Barringtonia pendula
7 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium
8 พลับดง Diospyros bejaudii
9 สองสลงึ Lophopetalum duperreanum
10 คอแลน Xerospermum noronhianum
11 ยางโอน Polyalthia viridis
12 พลองขาว Antidesma neurocarpum
13 กระบก Irvingia malayana
14 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata
15 มะปริง Bouea oppositifolia
16 กรวยกระ Casearia graveolens
17 มะม่วงป่า Mangifera caloneura
18 ตานดาํ Diospyros montana
19 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum
20 คอแลน Nephelium hypoleucum
21 อื่นๆ Others 3
รวม 10
บชน้ื ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ity RFrequency RDominance IVI
21.676
7.006 4.000 10.669 13.949
13.000
7.643 4.000 2.306 12.665
11.024
5.732 4.000 3.267 8.335
7.411
7.006 2.000 3.659 7.385
7.351
5.096 2.000 3.929 7.226
7.056
5.096 2.000 1.240 6.779
6.692
1.911 2.000 3.500 5.786
5.324
1.274 2.000 4.111 5.048
4.697
1.911 2.000 3.440 4.689
4.532
2.548 4.000 0.678 4.349
135.025
3.822 2.000 1.235 300.000
1.911 4.000 0.868
0.637 2.000 4.055
2.548 2.000 1.238
1.911 2.000 1.413
1.911 2.000 1.138
0.637 2.000 2.060
1.911 2.000 0.778
1.274 2.000 1.258
0.637 2.000 1.712
37.580 50.000 47.445
00.000 100.000 100.000
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ตารางท่ี 15 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดิบ
ลําดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ RDensi
1 หวา้ Syzygium cumini
2 พุงทะลาย Scaphium scaphigerum
3 ตานดํา Diospyros montana
4 ทุเรยี นป่า Durio mansoni
5 คอแลน Xerospermum noronhianum
6 มะชมพ่ปู า่ Syzygium aqeum
7 มะม่วงป่า Mangifera caloneura
8 กระบก Irvingia malayana
9 โสกเขา Saraca declinata
10 คอแลน Nephelium hypoleucum
11 ยางกล่อง Dipterocarpus dyeri
12 เลอื ดควาย Knema erratica
13 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius
14 มะไฟ Baccaurea ramiflora
15 กระบาก Anisoptera costata
16 พะวาใบใหญ่ Garcinia vilersiana
17 หว้าใบใหญ่ Syzygium pergamentaceum
18 กัดลนิ้ Walsura trichostemon
19 ดหี มี Cleidion spiciflorum
20 พลบั ดง Diospyros bejaudii
21 อ่นื ๆ Others 4
รวม 10
บแลง้ ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ity RFrequency RDominance IVI
29.414
7.033 3.378 19.003 14.341
13.694
5.934 3.378 5.029 11.022
9.599
8.571 2.027 3.095 9.239
7.797
3.516 2.703 4.802 7.739
7.532
3.956 3.378 2.264 7.458
7.361
3.516 3.378 2.344 7.229
6.522
2.637 2.703 2.457 6.390
6.341
0.440 0.676 6.624 6.180
5.504
3.956 2.027 1.549 5.345
4.904
2.857 2.703 1.898 4.700
121.689
0.440 0.676 6.246 300.000
2.857 2.703 1.669
4.396 1.351 0.775
2.857 2.703 0.830
0.220 0.676 5.446
1.758 3.378 1.044
0.220 0.676 4.608
1.978 2.027 1.339
1.758 2.703 0.443
1.099 2.027 1.574
40.000 54.730 26.960
00.000 100.000 100.000
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
ตารางที่ 16 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพน้ื ท่อี
ลําดับ ชนดิ พันธไุ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ RDensi
1 ประสักแดง Bruguiera sexangula 2
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1
3 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae 1
4 ปออีเกง้ Pterocymbium tinctorium
5 ยางนา Dipterocarpus alatus 1
6 ตีนเป็ดทราย Cerbera manghas 1
7 กระบก Irvingia malayana
8 ลาย Microcos paniculata
รวม 10
อน่ื ๆ ในอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ity RFrequency RDominance IVI
70.763
22.222 12.500 36.041 58.028
38.924
16.667 12.500 28.861 31.970
29.658
16.667 12.500 9.758 25.561
24.590
5.556 12.500 13.914 20.506
300.000
16.667 12.500 0.491
11.111 12.500 1.950
5.556 12.500 6.534
5.556 12.500 2.450
00.000 100.000 100.000
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
33
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ
จากผลการสาํ รวจและวิเคราะหห์ าค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าดิบแล้ง มีค่า
ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) มากที่สุด คือ 3.61 พื้นที่อื่นๆ มีค่าความสม่ําเสมอของ
ชนดิ พันธุ์ (Species Evenness) มากท่สี ุด คือ 0.94 และปา่ ดบิ แล้ง มีค่าความมากมายของชนิดพันธ์ุ (Species
Richness) มากที่สุด คือ 12.57 รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 17
ตารางที่ 17 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพนั ธุ์ไมใ้ นอุทยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity)
(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสมํ่าเสมอ ความมากมาย
(Diversity) (Evenness) (Richness)
ปา่ ดบิ ช้นื 3.29 0.87 8.50
(Tropical Everygreen Forest)
ปา่ ดิบแลง้ 3.61 0.83 12.57
(Dry Evergreen Forest)
พ้นื ท่ีอื่นๆ 1.96 0.94 2.42
(Others)
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
34
สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มูลทรัพยากรปา่ ไม้
จากการวางแปลงตัวอย่างถาวร เพ่ือเก็บข้อมูลและสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ
เขาชะเมา-เขาวง ซึ่งมีเนื้อท่ี 52,300 ไร่ หรือ 83.68 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมท้องที่อําเภอแกลง กิ่งอําเภอเขาชะเมา
จังหวัดระยอง และอําเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพ้ืนท่ี
อนุรักษ์ท่ี 2 (ศรีราชา) จํานวนทั้งหมด 9 แปลง โดยการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot)
ที่มีขนาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลม
ขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทศิ หลักทง้ั 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ อยู่บนเส้นรอบวงกลม
ของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร และทาํ การเกบ็ ข้อมลู การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดปา่ ลกั ษณะตา่ งๆ ของพื้นท่ีท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดบั ความสงู ความลาดชนั เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
ไมเ้ ถา เถาวัลย์ และพืชชั้นลา่ ง แล้วนาํ ขอ้ มลู มาวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ทั้งนี้เพ่ือให้ทราบ
เนือ้ ที่ป่าไม้ ชนดิ ป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธุ์ตาม
ธรรมชาติของไม้ โดยใช้โปรแกรมประมวลผลข้อมูลระบบสารสนเทศการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสํารวจ
และวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
สรปุ ผลไดด้ ังน้ี
1. ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ิน
พ้ืนท่ีดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง ครอบคลุมพื้นท่ีรวม
52,300 ไร่ หรอื 83.68 ตารางกิโลเมตร
พบชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และพื้นท่ีอื่นๆ
โดยพบป่าดิบแล้งมากที่สุด มีพื้นท่ี 55.79 ตารางกิโลเมตร (34,866.67 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 66.67 ของพ้ืนท่ี
ทัง้ หมด
2. ชนดิ พนั ธ์แุ ละปริมาณไมย้ ืนตน้ (Trees)
จากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลเกีย่ วกบั ชนดิ ไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ ในแปลง
ตวั อย่างถาวร พ้นื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง จํานวนทงั้ สิ้น 9 แปลง พบไม้ยนื ตน้ ที่มคี วามสูงมากกวา่ 1.30
เมตร และมเี สน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) มากกวา่ หรือเทา่ กบั 15 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป มจี าํ นวนทัง้ หมด 5,857,600 ต้น
สาํ หรับชนิดพนั ธุไ์ ม้ที่พบในแปลงสาํ รวจ มี 37 วงศ์ มากกว่า 94 ชนิด เมื่อเรียงลําดับชนิดไม้จาก
จาํ นวนตน้ ท่ีพบจากมากสุดไปหาไปน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หว้า ตานดํา พุงทะลาย มะไฟ คอแลน ข่อยหนาม
โสกเขา มะชมพู่ป่า ทุเรียนป่า และ โมก ตามลําดับ แต่เมื่อเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10
อันดบั แรก คอื หว้า ยางกล่อง กระบาก กระบก หว้าใบใหญ่ พงุ ทะลาย ทุเรียนป่า สองสลึง พลบั ดง และ มะม่วงป่า
ตามลาํ ดับ
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่อี ุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
35
3. ชนดิ พนั ธ์ุและปริมาณกลา้ ไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)
จากการวิเคราะหข์ ้อมูลเกี่ยวกับกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling) ซ่ึงเป็นกําลังการผลิตไม้
ที่สําคัญที่จะขึ้นมาทดแทนสังคมพืชไม้ยืนต้นต่อไปในอนาคตรวมทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์
ท่ีดินท่ีไดท้ าํ การสาํ รวจ พบว่า มีชนดิ ของกล้าไม้ (Seeding) มากกวา่ มีมากกวา่ 40 ชนิด รวมทั้งสิ้น 485,344,000 ต้น
โดยมีกล้าไม้ของไม้ยืนต้นมากกว่า 29 ชนิด มีจํานวน 304,967,111 ต้น ชนิดกล้าไม้ของไม้ยืนต้นที่มีปริมาณ
มากทีส่ ดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ มะกล่าํ ตน้ เข็มปา่ สองสลงึ พงุ ทะลาย ข่อยหนาม พะวาใบใหญ่ หวา้ ดหี มี
คอแลน และพลองขาว ตามลาํ ดับ
การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 10 ชนิด รวมทั้งสิ้น
3,347,200 ต้น โดยมลี กู ไม้ของไม้ยืนตน้ มากกว่า 9 ชนิด มีจํานวน 3,161,244 ต้น ชนิดลูกไม้ของไม้ยืนต้นที่มี
ปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ พุงทะลาย สองสลึง โมก สุรามะริด มะนาว นางเลว มะชมพู่ป่า เข็มป่า
และกะโมกเขา ตามลําดับ
4. ชนดิ พนั ธแ์ุ ละปรมิ าณของไผ่ หวาย และไมก้ อ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณของไผ่ในแต่ละชนิดและแต่ละกอรวมทุกชนิดป่า หรือทุก
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน พบไผใ่ นแปลงสาํ รวจ 1 ชนดิ ไดแ้ ก่ ไผ่สสี ุก มีปรมิ าณไผ่จาํ นวน 576,462 กอ รวม
ท้ังสิน้ 9,502,329 ลํา
ตอไมท้ ่ีสํารวจพบ มีจํานวน 2 ชนดิ รวมทงั้ สนิ้ 55,787 ตอ มีความหนาแนน่ ของตอไม้ 1 ตอต่อไร่
5. ค่าดัชนคี วามสําคัญทางนเิ วศวทิ ยา
จากผลการสํารวจเกบ็ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู สังคมพืชในอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง พบว่ามีสังคมพืช
3 ประเภท คอื ป่าดบิ ชน้ื ปา่ ดบิ แลง้ และพน้ื ท่ีอนื่ ๆ และจากวเิ คราะหข์ อ้ มลู สังคมพืช สรุปได้ดงั น้ี
ในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
หว้า โมก มะไฟ ยางนา พะยอม จกิ เขา ปออีเกง้ พลบั ดง สองสลงึ และคอแลน ตามลําดบั
ในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
หว้า พุงทะลาย ตานดํา ทุเรียนป่า คอแลน (Xerospermum noronhianum) มะชมพู่ป่า มะม่วงป่า กระบก
โสกเขา และคอแลน (Nephelium hypoleucum) ตามลาํ ดบั
ในพื้นที่อ่ืนๆ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด ได้แก่ ประสักแดง ประดู่
ตะแบกเกรียบ ปออเี กง้ ยางนา ตีนเป็ดทราย กระบก และลาย ตามลําดับ
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
ข้อมลู เกยี่ วกับความหลากหลายทางชวี ภาพ พบวา่ ปา่ ดิบแล้ง มีค่าความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ
(Species Diversity) มากท่ีสุด คือ 3.61 พื้นที่อ่ืนๆ มีค่าความสม่ําเสมอของชนิดพันธ์ุ (Species Evenness)
มากท่สี ุด คอื 0.94 และปา่ ดบิ แลง้ มคี ่าความมากมายของชนิดพนั ธุ์ (Species Richness) มากท่ีสดุ คอื 12.57
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่ีอทุ ยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
36
7. ขนาดความโตของต้นไม้
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลโครงสรา้ งปา่ ในทุกชนิดปา่ หรอื ทุกลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า มีไม้
ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ที่มีความโต 15-45 เซนติเมตร จํานวน 3,570,347 ต้น คิดเป็นร้อยละ
60.95 ของปรมิ าณไมท้ ั้งหมด ไมท้ ี่มีขนาดความโต 45-100 เซนตเิ มตร จํานวน 1,524,836 ต้น คิดเป็นร้อยละ
26.03 ของไมท้ ั้งหมด และไมท้ ม่ี ขี นาดความโตมากกว่า 100 เซนติเมตร จํานวน 762,418 ต้น คิดเป็นร้อยละ
13.02 ของไม้ทั้งหมด แสดงให้เห็นว่าสภาพพื้นที่จะมีไม้ขนาดเล็กถึงปานกลางเป็นจํานวนมาก ไม้ขนาดใหญ่มี
จํานวนน้อย
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง
37
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอปุ สรรคในการดาํ เนินงานท่ีพบ ได้แก่
1. ชนดิ ไม้ยนื ตน้ และไม้พ้นื ล่างในป่าดิบช้ืนบางชนิดยากตอ่ การจําแนกชนิดไม้
2. ในการดําเนินงานสํารวจทรัพยากรป่าไม้ภาคสนาม ไม่มีความเช่ียวชาญหรือความชํานาญในการ
จําแนกชนดิ ไม้ ซ่ึงอาจทําให้ชนดิ ไม้ทีน่ าํ มาวเิ คราะหข์ อ้ มลู มคี วามคลาดเคลือ่ นได้
3. ขอ้ มูลอา้ งอิงสําหรับไม้พนื้ ล่างซง่ึ เป็นสังคมพืชท่ีจะขึน้ มาทดแทนสงั คมปา่ นั้นๆ ในอนาคตข้างหน้า
ยังมอี ยู่น้อย ทําให้ยากต่อการจําแนกชนิดไมพ้ น้ื ล่าง
4. ในช่วงท่ีดําเนินการสํารวจภาคสนาม พบร่องรอยการกระทําผิดเก่ียวกับการลักลอบล่าสัตว์ป่า
ซง่ึ อาจเกิดอนั ตรายกบั ทีมสํารวจไดห้ ากไมส่ ังเกต
5. สภาพภมู ิอากาศทแี่ ปรปรวนคอ่ นขา้ งมากจงึ เกดิ ปญั หาในการเขา้ พน้ื ที่
6. พ้ืนที่ดําเนินงานอยู่ไกลจากท่ีต้ังสํานักงาน ทําให้ต้องใช้ระยะเวลาในการเดินทางไกลพอสมควร
และมคี ่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางค่อนขา้ งมาก
7. การนําเข้าข้อมูลระบบสารสนเทศด้านรหัสพันธุ์ไม้ที่มี รหัสพันธุ์ไม้ท่ีไม่ครอบคลุม เช่น ไม่มีรหัส
พนั ธ์ไุ ม้ อาทเิ ช่น ต้นกวนอมิ เปน็ ตน้
ข้อเสนอแนะ
1. กลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนา
พ้ืนทอี่ นุรกั ษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธพุ์ ืช ควรมีการจดั ทาํ ค่มู อื สําหรับการจําแนกชนิดไม้ในแต่ละ
พื้นที่หรือใส่ภาพประกอบไม้แต่ละชนิดในฐานข้อมูลพรรณไม้ เพ่ือใช้เป็นฐานในการจําแนกชนิดไม้ให้ตรงรหัส
CODE พรรณไม้มากข้ึน
2. การเผยแพรข่ อ้ มลู ความรู้แก่ประชาชนในพ้นื ที่และการเสริมสร้างการอนรุ ักษณท์ รพั ยากรปา่ ไม้
3. ในการติดตามการเปลีย่ นแปลงพ้นื ทีป่ ่าหรือทรัพยากรป่าไม้ในอีก 5 ปีข้างหน้า ควรพยายามหา
หมุดเดิมที่ได้ทําการตอกไว้ตรงจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างให้เจอ และเน้นการสํารวจกับต้นไม้ต้นเดิมที่มีป้าย
หมายเลขตอกติดไว้เพ่ือดูกําลังผลิตของป่าและความสามารถในการเก็บกักคาร์บอนในพ้ืนท่ีป่านั้นๆ ว่าเพิ่มขึ้น
หรือไม่ อยา่ งไร หรือถกู รบกวนมากนอ้ ยแค่ไหน
4. การหาผเู้ ชยี่ วชาญทางดา้ นข้อมูลพรรณไม้ไว้คอ่ ยใหเ้ ป็นท่ีปรึกษาการจาํ แนกพรรณไมต้ า่ ง ๆ
5. การสนับสนุนให้ขยายความรู้ด้านการจัดทําฐานข้อมูลทรัพยากรป่า โดยใช้หลักการและวิธี
เดียวกันสู่หน่วยงานระดับย่อย เช่น พ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติต่าง ๆ เพื่อให้เขตอุทยานฯ ได้มีข้อมูลพื้นฐานด้าน
ทรัพยากรปา่ ไมแ้ ละสามารถใชเ้ ปน็ ตวั อย่างอา้ งองิ ได้ตอ่ ไป
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
38
เอกสารอา้ งองิ
ก่องกานดา ชยามฤต. 2541. คมู่ อื การจาํ แนกพรรณไม.้ สว่ นพฤกษศาสตร์ สํานกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้,
กรุงเทพฯ. 235 น.
กรมป่าไม้ และองค์การไมเ้ ขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คมู่ ือการเกบ็ ขอ้ มลู ดา้ นการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
โครงการศึกษาเพอื่ จดั ทําระบบ ติดตาม ตรวจสอบ การจดั การทรัพยากรป่าไมแ้ บบยง่ั ยนื
สาํ หรบั ประเทศไทย, สาํ นักวชิ าการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม,้ กรงุ เทพฯ. 44 น.
ชวลติ นิยมธรรม. 2545. ทรพั ยากรป่าไมข้ องประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ สาํ นกั วิชาการปา่ ไม้
กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 10 น.
สามารถ มุขสมบตั ิ และ ธัญนรนิ ทร์ ณ นคร. 2538. การใช้ Spiegel Relaskop เพอื่ จดั สรา้ งตารางปรมิ าตรไม้
บรเิ วณป่าสาธิตเซคเตอรแ์ มแ่ ตง อําเภองาว จังหวดั ลําปาง, สํานกั วิชาการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้,
กรุงเทพฯ. 55 น.
วิชาญ ตราชู. 2548. แนวทางการสาํ รวจทรัพยากรป่าไมใ้ นพ้ืนท่ีปา่ อนรุ กั ษ.์ สว่ นวิเคราะห์ทรพั ยากรปา่ ไม้
สาํ นักวชิ าการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 95 น.
สว่ นพฤกษศาสตร์. 2544. ชอื่ พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย เต็ม สมิตนิ นั ท์ ฉบบั แก้ไขเพม่ิ เตมิ สาํ นกั วชิ าการปา่ ไม้
กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 810 น.
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ที่อุทยานแหง่ ชาติเขาชะเมา-เขาวง
39
ภาคผนวก
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง