รายงานการสารวจทรัพยากรป่าไม้
อทุ ยานแห่งชาตภิ หู นิ รอ่ งกลา้
ส่วนสารวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรป่าไม้ สานกั ฟื้นฟแู ละพฒั นาพื้นทอี่ นรุ กั ษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธพุ์ ชื
พ.ศ. 2557
รายงานการสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
อุทยานแหง่ ชาตภิ หู ินรอ่ งกลา้
กลมุ่ งานสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
สว่ นสํารวจและวิเคราะห์ทรพั ยากรป่าไม้ สาํ นกั ฟน้ื ฟูและพฒั นาพน้ื ท่อี นุรกั ษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธ์ุพืช
บทสรปุ สําหรับผบู้ ริหาร
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ทําการสํารวจเก็บข้อมูล
ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ซึ่งมีเนื้อท่ีแนบท้ายกฤษฎีกาเท่ากับ 191,875 ไร่ หรือ
ประมาณ 307 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่รอยต่อของสามจังหวัด คือ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
อําเภอดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย และอาํ เภอนครไทย จังหวดั พิษณุโลก
ในดําเนินงานได้ทําการวางแปลงตัวอย่างวงกลม ขนาด 0.1 แฮกแตร์ (0.625 ไร่) จํานวน 55 แปลง
ครอบคลุมพนื้ ท่ีของอทุ ยานฯ ผลการสํารวจพบชนดิ ป่า 5 ประเภท ดังน้ี
1. ป่าเบญจพรรณ คดิ เป็นรอ้ ยละ 61.82 ของพนื้ ที่ทง้ั หมด มีความหนาแน่นไม้ 81.25 ต้นต่อไร่
ปรมิ าตรไม้ 14.49 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่
2. ป่าดิบเขา คิดเป็นร้อยละ 27.27 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด มีความหนาแน่นไม้ 123.89 ต้นต่อไร่
ปริมาตรไม้ 37.19 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่
3. ป่าเต็งรัง คิดเป็นร้อยละ 7.27 ของพื้นที่ท้ังหมด มีความหนาแน่นไม้ 102.40 ต้นต่อไร่
ปริมาตรไม้ 38.69 ลกู บาศก์เมตรต่อไร่
4. สวนป่า คิดเป็นร้อยละ 1.82 ของพ้ืนที่ทั้งหมด มีความหนาแน่นไม้ 128.80 ต้นต่อไร่ ปริมาตรไม้
14.25 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่
5. ทุ่งหญ้า คิดเป็นร้อยละ 1.82 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด สํารวจไม่พบไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวง (GBH)
มากกว่า 15 เซนตเิ มตร
กล่าวคอื ในพื้นท่ีป่าอทุ ยานแหง่ ชาตภิ หู นิ ร่องกลา้ สํารวจพบพนั ธุไ์ ม้มากกวา่ 252 ชนดิ หมไู่ ม้มี
ความหนาแนน่ เฉลย่ี 95.24 ตน้ ต่อไร่ และ มปี ริมาตรเฉลยี่ 20.63 ลกู บาศก์เมตรต่อไร่ ลกู ไม้ (Sapling) มคี วาม
หนาแน่นเฉลย่ี 159.38 ตน้ ต่อไร่ กลา้ ไม้ (Seedling) มีความหนาแน่นเฉลยี่ 1,569.23 ตน้ ต่อไร่ และมคี ่าความ
หนาแนน่ ของตอไม้เฉลี่ย 0.62 ตอตอ่ ไร่
ชนิดไม้ที่พบมาก 10 ลําดับแรก ได้แก่ ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) ปลายสาน (Eurya
acuminate) ชมพูภูพิงค์ (Prunus cerasoides) หว้า (Syzygium cumini) มังตาน (Schima wallichii)
ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima)
มันปลา (Adinandra laotica) และ แคหางคา่ ง (Fernandoa adenophylla) ตามลาํ ดับ
ชนิดไม้ที่มีปริมาตรมาก 10 ลําดับแรก ได้แก่ ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) จําปีดง
(Magnolia henryi) ก่วมแดง (Acer calcaratum) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) กางขี้มอด
(Albizia odoratissima) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สนสามใบ (Pinus kesiya) กระบาก (Anisoptera
costata) แดง (Xylia xylocarpa) และ ซอ้ (Gmelina arborea) ตามลาํ ดบั
ลกู ไม้ (Sapling) พบมากกวา่ 64 ชนดิ มีความหนาแน่นเฉล่ยี เทา่ กับ 159.38 ตน้ ต่อไร่ ลูกไม้ที่พบมาก
5 ลําดับแรก ได้แก่ ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) เข็มป่า (Ixora cibdela) ก่อตลับ (Quercus
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาตภิ ูหนิ ร่องกลา้
ramsbottomii) กํายาน (Styrax apricus) ปอกระสา (Broussonetia papyrifera) ตามลําดับ จากการสํารวจพบ
ลูกไมม้ ากท่ีสดุ ใน ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบเขา เต็งรัง ทุ่งหญา้ และสวนปา่ ตามลําดับ
กล้าไม้ (Seedling) พบมากกว่า 60 ชนิด มีความหนาแน่นของลูกไม้ 1,569.23 ต้นต่อไร่ โดย
กล้าไม้ท่ีมีปริมาณมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum
cochinchinense) มะหวด (Lepisanthes rubiginosa) มะหนามนึง้ (Vangueria pubescens) ตามลาํ ดับ
เมื่อทําการประเมินทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่ของอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า โดยใช้สัดส่วนของ
แปลงสาํ รวจกับขนาดของพน้ื ทีแ่ นบท้ายกฤษฎกี า (191,875 ไร)่ สรปุ ผลดงั น้ี มีปรมิ าณไม้รวม 18,274,823 ต้น
คิดเป็นปริมาตรไม้ 3,957,962.02 ลูกบาศก์เมตร มีลูกไม้ (Sapling) จํานวน 30,581,923 ต้น กล้าไม้ (Seedling)
จํานวน 301,096,154 ต้น มีไผ่ (bamboo) จํานวน 1,121,731 กอ รวม 83,135,600 ลํา มีตอไม้ จํานวน
118,077 ตอ
ในส่วนของการประเมินขนาดความโตของหม่ไู ม้ พบว่ามีไม้ยนื ท่มี ีขนาด GBH ตงั้ แต่ 15-45 เซนติเมตร
จาํ นวน 12,695,520 ตน้ และ GBH มากกวา่ 45 ถงึ 100 เซนติเมตร จํานวน 4,232,448 ตน้ และ GBH มากกว่า 100
เซนติเมตร จาํ นวน 1,346,855 ตน้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 69.47, 23.6 และ 7.37 ตามลําดับ
จากการวิเคราะห์ขอ้ มลู สงั คมพชื และความหลากหลายทางชวี ภาพในพืน้ ท่ขี องอทุ ยานแหง่ ชาติภู
หนิ ร่องกล้า พบวา่
1. ชนิดไม้ที่มีความถ่ี (Frequency) มากที่สุด คือ ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense)
รองลงมา คือ กางข้ีมอด (Albizia odoratissima) และ ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans)
2. ชนิดไม้ท่ีมีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากท่ีสุด คือ ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum
cochinchinense) รองลงมา คือ ปลายสาน (Eurya acuminata) และ ชมพูภพู งิ ค์ (Prunus cerasoides)
3. ชนิดไม้ท่ีทคี วามเดน่ (Dominance) มากที่สุด คอื จาํ ปดี ง (Magnolia henryi) รองลงมา คือ
ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) และ ก่อเดอื ย (Castanopsis acuminatissima)
4. ชนิดไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากที่สุด คือ ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum
cochinchinense) รองลงมา คือ กางขี้มอด (Albizia odoratissima) และ ทองหลางปา่ (Erythrina subumbrans)
5. ชนิดไมท้ ่ีมคี วามหนาแน่นสัมพทั ธ์ (Relative Density) มากทส่ี ดุ คือ ติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum
cochinchinense) รองลงมา คือ ปลายสาน (Eurya acuminata) และ ชมพภู ูพงิ ค์ (Prunus cerasoides)
6. ชนิดไมท้ ่ีมีความเด่นสมั พัทธ์ (Relative Dominance) มากทส่ี ุด คอื จาํ ปดี ง (Magnolia henryi)
รองลงมา คอื ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) และ กอ่ เดือย (Castanopsis acuminatissima)
7. ชนิดไม้ท่ีมีค่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา (IVI) มากท่ีสุด คือ ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum
cochinchinense) รองลงมา คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และก่อเดือย (Castanopsis
acuminatissima)
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูหินรอ่ งกล้า
8. ข้อมูลเก่ยี วกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบวา่
8.1 ชนดิ ป่าที่มีความหลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) มากที่สุด คือป่า เบญจพรรณ
รองลงมาคอื ป่าดิบเขา
8.2 ชนดิ ป่าที่มคี วามมากมายของชนดิ พนั ธุ์ไม้ (Species Richness) มากทีส่ ดุ คอื ป่าเบญจพรรณ
รองลงมาคือ ปา่ ดบิ เขา
8.3 ชนิดป่าท่ีมีความสมาํ่ เสมอของชนดิ พันธุ์ไม้ (Species Evenness) มากที่สุด คอื ปา่ เต็งรัง
รองลงมาคอื ป่าเบญจพรรณ และปา่ ดิบเขา
หมายเหตุ
1. ในการประมาณค่าปริมาณไม้ทั้งหมดของพ้ืนท่ีอนุรักษ์แต่ละแห่ง เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูล
เน้ือที่จากแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกา ซ่ึงบางพ้ืนที่อนุรักษ์มีข้อมูลคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อการ
คํานวณปริมาณไม้ทั้งหมด ดังน้ัน ปริมาณและปริมาตรไม้เป็นค่าประมาณการเบื้องต้น อย่างไรก็ตามค่าความ
หนาแน่นและปริมาณไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ของแต่ละพื้นที่สามารถเป็นตัวแทนของพ้ืนท่ีนั้นๆได้ และหากได้ข้อมูล
เนอื้ ท่ีแต่ละชนิดป่าของพ้นื ที่อนรุ ักษ์ จะทําให้คา่ ประมาณการมคี วามถกู ตอ้ งและแมน่ ยํามากยงิ่ ข้ึน
2. ในกรณที ช่ี นิดปา่ ใดมแี ปลงตวั อยา่ งตกอยู่เพียงแปลงเดียว ควรวางแปลงตัวอย่างเพม่ิ
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติภูหินรอ่ งกลา้
i
สารบญั หน้า
i
สารบญั iii
สารบัญตาราง v
สารบัญภาพ 1
คํานาํ 2
วตั ถุประสงค์ 2
พน้ื ท่ีดาํ เนินงาน 2
2
ประวตั คิ วามเปน็ มา 3
ทต่ี ัง้ และอาณาเขต 3
ลักษณะภมู ิประเทศ 3
ลักษณะภูมอิ ากาศ 8
จดุ เด่นทีน่ า่ สนใจ 8
รูปแบบและวธิ ีการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ 9
การสมุ่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design) 9
รูปแบบและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design)
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ที่ทาํ การสํารวจ 10
การวเิ คราะหข์ ้อมูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ 10
1. การคาํ นวณเนื้อท่ปี า่ และปริมาณไม้ทั้งหมดของแตล่ ะพื้นท่ีอนรุ กั ษ์ 10
2. การคาํ นวณปริมาตรไม้ 11
3. ข้อมูลทั่วไป 11
4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลองคป์ ระกอบของหมไู่ ม้ 12
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย 12
6. การวิเคราะหข์ ้อมลู สังคมพชื 13
7. วเิ คราะห์ข้อมลู เกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ 15
ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรป่าไม้ 15
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง 16
2. พน้ื ทป่ี า่ ไม้ 23
3. ปริมาณไม้ 28
4. ชนดิ พนั ธ์ุไม้
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูหินร่องกลา้
ii
สารบญั (ต่อ) หน้า
38
5. สงั คมพืช 43
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 44
สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 47
วิจารณผ์ ลการศึกษา 48
ปญั หาและอปุ สรรค 48
ขอ้ เสนอแนะ 49
เอกสารอา้ งองิ 50
ภาคผนวก
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภหู นิ รอ่ งกล้า
iii
สารบญั ตาราง หนา้
9
ตารางท่ี 17
1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ที่ดําเนินการสํารวจ 23
2 พนื้ ที่ปา่ ไม้จาํ แนกตาม Forest type (ชนดิ ปา่ ) (Area by Forest type) 25
3 ประเมนิ ปรมิ าณไม้ทั้งหมดตามชนิดปา่ ท่ีสํารวจพบ (Volume by Forest Type)
4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไม้ตอ่ หนว่ ยพน้ื ท่จี าํ แนกตาม Forest Type 26
(Density and Volume per Area by Forest Type) 30
5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้งั หมดในอุทยานแห่งชาตภิ ูหินร่องกล้า
6 ผลการประเมนิ ปริมาณไม้ท้งั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาติภูหินร่องกล้า 31
(30 ชนิดแรกทมี่ ีปรมิ าตรไม้สงู สดุ )
7 ผลการประเมนิ ปริมาณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาติภหู ินร่องกล้า 32
(30 ชนดิ แรกทีม่ ปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ )
8 ผลการประเมนิ ปริมาณไมใ้ นปา่ ดิบเขาของอุทยานแหง่ ชาตภิ ูหนิ รอ่ งกลา้ 33
(30 ชนดิ แรกทมี่ ีปริมาตรไม้สงู สดุ )
9 ผลการประเมนิ ปรมิ าณไม้ในปา่ เต็งรังของอุทยานแหง่ ชาติภูหนิ รอ่ งกลา้ 34
(30 ชนดิ แรกทม่ี ีปรมิ าตรไม้สงู สดุ )
10 ผลการประเมนิ ปรมิ าณไมใ้ นสวนปา่ ของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูหนิ รอ่ งกลา้ 35
(30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมาตรไม้สงู สุด) 36
11 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในอทุ ยานแห่งชาตภิ หู ินร่องกล้า 37
12 ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ท่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาติภูหนิ รอ่ งกล้า 37
13 ชนิดและปรมิ าณไมไ้ ผ่ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูหินร่องกลา้ 39
14 ชนดิ และปริมาณของตอไม้ (Stump) ที่พบในอุทยานแห่งชาติภหู ินรอ่ งกล้า
15 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) 40
ของป่าดิบเขาในอทุ ยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
16 ดชั นคี วามสําคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) 41
ของป่าเบญจพรรณในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูหนิ ร่องกล้า
17 ดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) 42
ของปา่ เต็งรงั ในอทุ ยานแห่งชาตภิ หู ินร่องกล้า
18 ดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) 43
ของสวนปา่ ประเภทอ่ืนๆในอทุ ยานแห่งชาติภูหนิ รอ่ งกลา้
19 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พันธุ์ไม้อุทยานแห่งชาตภิ ูหนิ ร่องกล้า
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอี่ ุทยานแห่งชาตภิ ูหนิ รอ่ งกล้า
iv
สารบญั ภาพ หน้า
3
ภาพที่ 4
1 โรงเรยี นการเมืองการทหาร 5
2 สาํ นักอาํ นาจรฐั 5
3 หมบู่ า้ นมวลชน 6
4 ลานหนิ แตก 6
5 ลานหินป่มุ 7
6 ผาชธู ง 7
7 น้ําตกร่มเกล้า-ภราดร 8
8 นาํ้ ตกหมันแดง 15
9 รูปแบบและขนาดของแปลงตวั อย่าง 16
10 พิกัดตาํ แหน่งแปลงตัวอยา่ ง 18
11 พนื้ ท่ปี ่าไมจ้ ําแนกตามชนดิ ป่าในพ้ืนทีอ่ ุทยานแห่งชาติภูหินร่องกลา้ 19
12 ลักษณะของป่าดบิ เขาท่ีสํารวจพบในพน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาติภูหนิ ร่องกล้า 20
13 ลักษณะของป่าเบญจพรรณทีส่ าํ รวจพบในพืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาติภูหนิ รอ่ งกล้า 21
14 ลกั ษณะของป่าเตง็ รังที่สาํ รวจพบในพื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาติภูหนิ รอ่ งกลา้ 22
15 ลกั ษณะของสวนป่าทสี่ ํารวจพบในพ้นื ท่ีอุทยานแห่งชาติภูหนิ ร่องกลา้ 24
16 ลกั ษณะของทงุ่ หญ้าท่สี ํารวจพบในพนื้ ที่อทุ ยานแห่งชาตภิ ูหินร่องกล้า 24
17 ประเมินปรมิ าณไม้ทงั้ หมดตาม Forest Type 25
18 ประเมนิ ปรมิ าตรไม้ทง้ั หมดตาม Forest Type 26
19 ความหนาแน่นของต้นไม้ 27
20 ปรมิ าตรตน้ ไม้ในพืน้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภหู ินร่องกล้า
21 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูหนิ ริองกลา้
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาตภิ หู นิ ร่องกลา้
1
คาํ นาํ
ในปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้เหลืออยู่ร้อยละ 33.56 ของพื้นท่ีประเทศ (สถิติป่าไม้, 2553)
ซ่ึงพ้ืนท่ีดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ซ่ึงมีหน้าท่ีท่ี
จะตอ้ งอนรุ ักษ์ สงวน และฟืน้ ฟทู รัพยากรปา่ ไม้ ให้สามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนในประเทศได้
อย่างย่ังยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้
รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยู่ในพื้นที่ป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการ
บกุ รุกทาํ ลายปา่
ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักพื้นฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ รับผิดชอบในการ
สํารวจเก็บข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์ท่ัวประเทศ เพ่ือรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดําเนินงานใน
กิจกรรมท่ีมีความเกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากรป่าไม้และส่วนที่เกี่ยวข้อง เพ่ือนําไปใช้ในการพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ หรือใช้เป็นต้นแบบในการ
ดําเนินการในพื้นท่ีอน่ื ๆต่อไป
ในปีงบประมาณ 2556 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ โดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ได้ดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพ
ของทรัพยากรป่าไม้โดยผลการสํารวจจะแสดงให้ทราบถึงความหลากหลายของพืชพรรณในแต่ละสภาพพ้ืนท่ี
รวมท้ัง ชนิด ปริมาณ ปริมาตรของไม้ ตลอดจนปริมาณกล้าไม้และลูกไม้ ซ่ึงข้อมูลดังกล่าวสามารถนําไปใช้ใน
การประเมินการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติและความสมบูรณ์ของหมู่ไม้ในอนาคตต่อไป นอกจากนี้ยังสามารถใช้
ในการติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ซ่ึงสามารถนําไปใช้ประเมินมูลค่าทางด้านเศรษฐกิจและ
ส่ิงแวดล้อมตอ่ ไป
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูหินรอ่ งกล้า
2
วตั ถปุ ระสงค์
1. ทําการสํารวจเก็บข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ เพ่ือให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับสถานภาพและ
ศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ ความหลากหลายของพันธุ์พืช รวมถึงปริมาณและกําลังผลิตของไม้ในพ้ืนท่ี
ตลอดจนการสบื พันธุ์ตามธรรมชาตขิ องหมไู่ ม้
2. สามารถประเมินมูลค่าทรัพยากรป่าไม้ และมูลค่าความเสียหายหรือสูญเสีย หากมีการ
ดําเนนิ การโครงการท่ีส่งผลกระทบต่อพื้นทอี่ นรุ กั ษ์
3. เพอื่ ตดิ ตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรปา่ ไมใ้ นพ้ืนท่ี
พน้ื ทกี่ ารดาํ เนนิ งาน
อุทยานแหง่ ชาตภิ ูหินรอ่ งกลา้
ประวัตคิ วามเป็นมา
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกลา้ (Phuhinrongkla National Park) เป็นอทุ ยานแห่งชาตลิ าํ ดบั ที่ 48
ของประเทศ และนับเปน็ แหง่ ท่ี 14 ของภาคเหนือ มเี นื้อท่ีประมาณ 307 ตารางกิโลเมตร หรอื 191,875 ไร่
ประกาศเปน็ อุทยานแห่งชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ครอบคลุมพน้ื ท่ีรอยต่อของสามจงั หวัด คือ
อําเภอเขาคอ้ จงั หวัดเพชรบูรณ์ อําเภอดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย และอําเภอนครไทย จังหวดั พษิ ณโุ ลก
ทตี่ ้งั และอาณาเขต
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า อยู่ห่างจากตัวเมืองพิษณุโลก 120 กิโลเมตร โดยตั้งอยู่ระหว่างเส้น
รุ้งที่ 16 องศา 35 ลิปดา ถึง 17 องศา 07 ลิปดาเหนือ และระหว่างเส้นแวงที่ 100 องศา 56 ลิปดา ถึง 101
องศา 06 ลิปดาตะวนั ออก มอี าณาเขตติดตอ่ ดังน้ี
ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับ ตาํ บลบอ่ โพธ์ อําเภอนครไทย จงั หวัดพษิ ณโุ ลก
ตาํ บลกกสะท้อน อาํ เภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ตาํ บลบ้านแยง อาํ เภอนครไทย จงั หวัดพษิ ณโุ ลก
ตําบลกกสะท้อน อาํ เภอดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย
ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับ ตําบลกกสะท้อน อําเภอด่านซา้ ย จังหวัดเลย
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ ตาํ บลเนนิ เพิม่ อําเภอนครไทย จังหวดั พษิ ณโุ ลก
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูหินรอ่ งกล้า
3
ลกั ษณะภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน เช่น ภูหมันขาวเป็นยอดเขาที่สูงท่ีสุด
ประมาณ 1,820 เมตรจากระดับนํ้าทะเล รองลงมาคือ ภูลมโล สูงประมาณ 1,664 เมตร จากระดับนํ้าทะเล
ภูแผงม้า ภูขี้เถ้า และภูหินร่องกล้า เทือกเขาเหล่านี้จะมีความสูงลดหล่ันลงไปจากด้านทิศตะวันออกไปทางทิศ
ตะวันตก และเป็นแหล่งกําเนิดของแม่น้ําลําธารหลายสาย เช่น ห้วยลําน้ําไซ ห้วยนํ้าขมึน ห้วยออมสิงห์
ห้วยเหมอื ดโดน และหว้ ยหลวงใหญ่ เป็นตน้
ลกั ษณะภูมิอากาศ
ภูหินร่องกล้ามีสภาพภูมิอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี โดยเฉพาะในฤดูหนาวอุณหภูมิจะต่ํามาก
ประมาณ 0-4 องศาเซลเซียส มีหมอกปกคลุมท่ัวบริเวณ ส่วนฤดูร้อนอากาศจะเย็นสบาย ฝนตกชุกในฤดูฝน
อณุ หภมู เิ ฉล่ียทง้ั ปี ประมาณ 18-25 องศาเซลเซียส
จดุ เด่นที่นา่ สนใจ
1. ด้านประวตั ศิ าสตร์
พิพิธภัณฑ์การสู้รบ เป็นที่ต้ังของศูนย์บริการนักท่องเท่ียว ใกล้กับท่ีทําการอุทยานฯ จัดแสดง
นิทรรศการเก่ียวกับการสู้รบในอดีต มีสภาพแผนภูมิข้อมูล อุปกรณ์การแพทย์ อาวุธ เอกสารเผยแพร่ลัทธิ
คอมมิวนิสต์ รวมทั้งนิทรรศการด้านธรรมชาติวิทยาภูหินร่องกล้า นอกจากน้ี ยังมีห้องประชุมสําหรับบรรยาย
สรปุ หรอื ประชมุ สมั มนา
โรงเรียนการเมืองการทหาร ตั้งอยู่บริเวณหลักกิโลเมตรท่ี 4 เป็นหมู่อาคารไม้ภายใต้ร่มเงาของ
ป่ารกครึ้ม เป็นท่ีตั้งของคณะกรรมการเขต 3 จังหวัด คือ จังหวัดเลย จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดพิษณุโลก
เม่ือปี 2513 และต่อมาในปี พ.ศ.2520 ไดก้ อ่ ต้งั เปน็ โรงเรยี นซ่งึ ให้การศกึ ษาตามแนวทางลทั ธิคอมมวิ นสิ ต์
ภาพท่ี 1 โรงเรยี นการเมืองการทหาร
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภูหนิ ร่องกล้า
4
กงั หนั นา้ํ อยู่ตรงข้ามกบั โรงเรียนการเมืองการทหาร เป็นกงั หันน้ําขนาดใหญ่ ถูกสรา้ งขน้ึ จากการ
ผสมผสานความคดิ ก้าวหนา้ ทางวชิ าการกบั การนําประโยชน์จากธรรมชาตมิ าใชง้ าน โดยนกั ศกึ ษาวศิ วะทีเ่ ขา้
ร่วมกบั พรรคคอมมิวนสิ ต์แหง่ ประเทศไทย (พคท.) หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
สํานักอํานาจรัฐ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอุทยานฯ ประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นสถานท่ี
ดําเนินการด้านปกครอง มีการพิจารณาและลงโทษผู้กระทําผิดหรือละเมิดต่อกฎลัทธิ มีคุกสําหรับขังผู้กระทํา
ความผิด มสี ถานทท่ี อผา้ และโรงซ่อมเคร่อื งจกั รกลหลงเหลอื อยู่
ภาพท่ี 2 สาํ นกั อาํ นาจรฐั
โรงพยาบาลรัฐ อยู่ห่างจากสํานักอํานาจรัฐไปทางทิศเหนือ ประมาณ 2 กิโลเมตร เคยเป็น
โรงพยาบาลกลางป่าท่ีมีอุปกรณ์ในการรักษาพยาบาลครบครัน มีห้องปรุงยา ห้องพักฟ้ืน และห้องผ่าตัด
โรงพยาบาลแห่งนี้ก่อต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2519 สามารถทําการรักษาพยาบาลและผ่าตัดอวัยวะได้ทุกส่วน ยกเว้น
หัวใจ มีหมอและพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตรเร่งรัดจากประเทศจีน ในปี พ.ศ. 2522 ได้เพ่ิมแผนกทําฟัน
และวจิ ยั ยา เครอ่ื งมอื ที่ใช้ส่วนใหญ่ได้จากในเมือง มกี ารรกั ษาดว้ ยวิธฝี ังเข็มและใช้สมนุ ไพรอกี ดว้ ย
ลานอเนกประสงค์ เปน็ บรเิ วณลานหนิ กวา้ งใหญ่ อยู่กอ่ นถึงสํานักอํานาจรัฐ ใช้เป็นท่ีพักผ่อนและ
สังสรรคใ์ นหม่สู มาชิกพรรคคอมมวิ นิสต์ในโอกาสสําคญั ตา่ งๆ
สุสาน ทปท. เป็นสถานที่ฝังศพของนักรบทหารปลดแอกแห่งประเทศไทย (ทปท.) ที่เสียชีวิตจาก
การส้รู บกบั ทหารฝา่ ยรัฐบาล ส่วนใหญจ่ ะอยใู่ กลบ้ รเิ วณลานอเนกประสงค์
ท่หี ลบภยั ทางอากาศ เป็นสถานท่ีหลบซ่อนตัวจากการทิ้งระเบิดทางอากาศของทหารฝ่ายรัฐบาล
ลักษณะพื้นที่เป็นหลืบหินหรือโพรงถ้ําใต้แนวต้นไม้ใหญ่ ทําให้ยากต่อการตรวจการณ์ทางอากาศ สถานท่ีหลบ
ภัยมีอยู่หลายแห่งแต่เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ 2 แห่ง คือ บริเวณห่างจากโรงเรียนการเมืองการทหารราว
200 เมตร ลักษณะเป็นโพรงถํ้าขนาดใหญ่ มีซอกหินสลับซับซ้อน จุคนได้ถึง 500 คน และอีกแห่งหนึ่งบริเวณ
ทางเข้าสํานกั อาํ นาจรัฐ เปน็ หลืบขนาดใหญ่สามารถจคุ นได้ประมาณ 200 คน
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแห่งชาติภหู นิ รอ่ งกลา้
5
หมู่บ้านมวลชน เป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มมวลชนแนวร่วมพรรคคอมมิวนิสต์ มีอยู่หลายหมู่บ้าน
เช่น หมู่บ้านดาวแดง หมู่บ้านดาวชัย แต่ละหมู่บ้านมีบ้านประมาณ 40-50 หลัง เรียงรายอยู่ในป่ารกริมถนนที่
ตัดมาจากอําเภอหล่มเก่า ลักษณะบ้านเป็นบ้านไม้หลังเล็กๆ ไม่ยกพื้น หลังคามุงด้วยไม้กระดานแผ่นบางๆ กัน
น้ําฝนได้อย่างดี และมหี ลุมหลบภยั ทางอากาศอยู่ด้วย
ภาพที่ 3 หมู่บา้ นมวลชน
2. ด้านธรรมชาติ
ลานหินแตก อยู่ห่างจากฐานพัชรินทร์ประมาณ 300 เมตร ลักษณะเป็นลานหินที่มีอาณาบริเวณ
ประมาณ 40 ไร่ลานหินมีรอยแตกเป็นแนวเป็นร่องเหมือนแผ่นดินแยกรอยแตกนี้บางรอยก็มีขนาดแคบขนาด
พอคนก้าวขา้ มได้ แต่บางรอยก็กว้างจนไม่สามารถจะ กระโดดข้ามไปถึง สําหรับความลึกของร่องหินแตกนั้นไม่
สามารถจะคะเนได้ ลักษณะเช่นน้ีสันนิษฐานว่าอาจจะเกิดจากการโก่งตัวหรือเคลื่อนตัวของผิวโลก จึงทําให้พ้ืน
หินน้ันแตกออกเป็นแนว นอกจากน้ีบริเวณลานหินแตกยังปกคลุมไปด้วยมอส ไลเคน ตะไคร่ เฟิร์น และ
กล้วยไม้ชนดิ ตา่ งๆ
ภาพท่ี 4 ลานหินแตก
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาติภหู นิ รอ่ งกล้า
6
ลานหินปุ่ม อยู่ห่างจากท่ีทําการอุทยานฯ ประมาณ 4 กิโลเมตร อยู่ริมหน้าผา ลักษณะเป็นลาน
หินซึ่งมีหินผุดขึ้นมาเป็นปุ่ม เป็นปม ขนาดไล่เลี่ยกัน คาดว่าเกิดจากการสึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน ในอดีต
บรเิ วณนใ้ี ชเ้ ป็นทพี่ กั ฟน้ื คนไขข้ องโรงพยาบาล เนอ่ื งจากอยบู่ นหนา้ ผา มีลมพัดเย็นสบาย
ภาพที่ 5 ลานหนิ ปุ่ม
ผาชูธง อยู่ห่างจากลานหินปุ่มประมาณ 500 เมตรเป็นหน้าผาสูงชัน สามารถเห็นทิวทัศน์ได้
กวา้ งไกล จะสวยงามมากในยามพระอาทติ ย์ตกดนิ บรเิ วณนีเ้ คยเปน็ สถานท่ีซง่ึ ผกค.ขึ้นไปชูธงแดงรูปค้อนเคียว
ทกุ ครงั้ ทร่ี บชนะฝ่ายรัฐบาล
ภาพท่ี 6 ผาชูธง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติภหู ินรอ่ งกล้า
7
นํ้าตกร่มเกล้า-ภราดร ห่างจากโรงเรียนการเมืองการทหารและกังหันน้ําประมาณ 600 เมตร มี
ทางแยกเดินลงน้ําตกร่มเกล้า ประมาณ 400 เมตร หากเดินลงไปอีก 200 เมตร จะเป็นน้ําตกภราดรซึ่งมี
ลกั ษณะคล้ายกันและอย่บู นลาํ ธารเดียวกนั นาํ้ ตกภราดรมคี วามสูงน้อยกว่าแต่กระแสนํ้าแรงกว่า
ภาพที่ 7 น้าํ ตกรม่ เกล้า-ภราดร
น้ําตกหมันแดง เป็นนํ้าตก 32 ชั้นในห้วยนํ้าหมันซ่ึงมีนํ้าตลอดปี ต้นนํ้าเกิดจากยอดเขาภูหมัน
นาํ้ ตกแต่ละชน้ั ต้ังชอื่ คลอ้ งจองกันตามสภาพลักษณะทสี่ วยงามแปลกตา ห้อมล้อมด้วยป่าดงดิบอันสมบูรณ์ การ
เดินทาง จากที่ทําการอุทยานใช้เส้นทางสายภูหินร่องกล้า-หล่มเก่า ถึงหลักกิโลเมตรที่ 18 มีทางแยกซ้ายเป็น
ทางเดินเทา้ เขา้ ส่นู ํ้าตก ระยะทาง 3.5 กิโลเมตร เสน้ ทางผา่ นปา่ ร่มครม้ึ มีกลว้ ยไม้ป่า ต้นเมเป้ลิ และทงุ่ หญา้
ภาพท่ี 8 นํ้าตกหมันแดง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูหินรอ่ งกล้า
8
น้ําตกศรีพัชรินทร์ ต้ังช่ือเป็นอนุสรณ์แก่ทหารค่ายศรีพัชรินทร์ จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็นทหาร
หน่วยแรกที่ขึ้นมาบนภูหินร่องกล้า นํ้าตกศรีพัชรินทร์มีความสูงประมาณ 20 เมตร บริเวณนํ้าตกมีแอ่งขนาด
ใหญ่ สามารถลงเลน่ น้าํ ได้
นํ้าตกผาลาด ต้ังอยู่ด้านล่างของหน่วยพิทักษ์ห้วยน้ําไซ ทางเข้าจะผ่านหมู่บ้านชาวเขาเผ่าม้ง
บ้านห้วยนํ้าไซ เข้าสู่เขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าพลังนํ้าของกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน จากทางแยกประมาณ
2 กิโลเมตร จะถึงทางแยกซ้ายมือ เดินลงไปอีกประมาณ 50 เมตร ก็จะถึงตัวนํ้าตก เป็นน้ําตกซึ่งไม่สูงนักแต่มี
นา้ํ ตลอดปี
นํ้าตกตาดฟ้า เป็นนํ้าตกท่ีสูงมาก ทางเข้ายังไม่สะดวกนักต้องเดินทางไปตามถนนลูกรังประมาณ
1 กิโลเมตร จากนั้นจึงไปตามทางเดินในป่าอีกประมาณ 300 เมตร ถึงด้านบนของน้ําตก และต้องไต่ลงไปตาม
ทางเดินเล็กๆ จึงจะมองเห็นความสวยงามของนํ้าตกตาดฟ้าหรือเรียกชื่อพ้ืนเมืองว่า “นํ้าตกด่าน-กอซาง” ซึ่ง
หมายถึงด่านตรวจของ ผกค.ท่มี ีกอไม้ไผซ่ าง
ธารพายุ เป็นจดุ ชมวิวบรเิ วณกิโลเมตรที่ 32 เส้นทางภหู นิ รอ่ งกลา้ -หลม่ เก่า สามารถมองเห็น
ทิวทัศนข์ องภูเขาและทะเลหมอกไดอ้ ย่างสวยงาม มีสวนรชั มังคลาภิเษกสาํ หรบั พักผอ่ นหย่อนใจ
รูปแบบและวธิ ีการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design)
ในการสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ ใช้วิธีการสุม่ ตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Samplingโดย
วางแปลงตวั อยา่ ง (Sample plot) แบบวงกลมขนาด 0.1 แฮกแตร์ ระยะ 2.5 x 2.5 กโิ ลเมตร ทว่ั ท้ังพื้นที่ โดย
เร่ิมจากการสมุ่ แปลงตวั อย่างแรกลง ณ จุดตัดของเส้นกริด (Grid) บนแผนทีป่ ระเทศไทย มาตราส่วน 1:50,000
ซงึ่ เปน็ พน้ื ที่ทีภ่ าพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามสี ภาพเปน็ ปา่ ลักษณะของแปลงตัวอย่างแสดงดังภาพท่ี 9
ภาพท่ี 9 รปู แบบและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติภหู ินรอ่ งกล้า
9
รูปแบบและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใช้ในการสํารวจมีท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ช่ัวคราว เปน็ แปลงทีม่ ขี นาดคงที่ (Fixed Area Plot) และมีรูปร่าง 2 ลักษณะดว้ ยกัน คือ
1. รูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดับ
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดย
จุดศูนยก์ ลางของวงกลมอยบู่ นเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทศิ หลักทั้ง 4 ทิศ
2. แบบเสน้ ตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เสน้ ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดยมี
จดุ เรมิ่ ต้น รว่ มกนั ณ จดุ ศูนยก์ ลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซงึ่ กนั และกัน ซง่ึ คา่ มุม Azimuth ของเสน้ ที่ 1 ได้
จากการสุ่มตัวอยา่ ง
ขนาดของแปลงตวั อยา่ ง และขอ้ มลู ทท่ี าํ การสํารวจแสดงรายละเอยี ดไวใ้ นตารางที่ 1
ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ทีด่ ําเนนิ การสาํ รวจ
รัศมีของวงกลม หรือ พนื้ ท/ี่ ข้อมลู ทส่ี ํารวจ
จํานวน ความยาว
ความยาว (เมตร)
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กลา้ ไม้ (Seedling)
3.99 1 วง 0.005เฮกตาร์ ลูกไม้ (Sapling) และการปกคลุมพืน้ ทขี่ อง
กล้าไม้ (Seedling) และลกู ไม(้ Sapling)
12.62 1 วง 0.05 เฮกตาร์ ไผ่ หวายที่ยังไม่เลือ้ ย และตอไม้
17.84 1 วง 0.1 เฮกตาร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปจั จยั ทร่ี บกวนพน้ื ทปี่ ่า
17.84 (เส้นตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลอ้ื ย
และไม้เถาว์ ท่ีพาดผ่าน
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูหนิ รอ่ งกลา้
10
การวเิ คราะหข์ ้อมลู การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
1. การคํานวณเน้ือทป่ี ่าและปริมาณไม้ทง้ั หมด
1.1 ใชข้ อ้ มลู พ้ืนท่จี ากแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกา
1.2 ใช้สัดส่วน ชนิดป่า หรือชนิดป่า จากแปลงตัวอย่างที่สํารวจพบ เปรียบเทียบกับจํานวนแปลง
ตวั อยา่ งทัง้ หมดในพื้นท่ี
1.3 ในกรณีที่ไม่สามารถเข้าถึงแปลงตัวอย่างได้ ให้ประเมินสภาพพ้ืนที่ของแปลงตัวอย่างจาก
ภาพถ่ายดาวเทียมหรือภาพถา่ ยทางอากาศ แลว้ นาํ รวมกันเพอื่ คํานวณเป็นเนือ้ ท่ีปา่ แตล่ ะชนดิ
1.4 ปริมาณไม้ทงั้ หมดของพ้นื ที่ เปน็ การประมาณโดยใชข้ อ้ มลู พืน้ ทจี่ ากแผนที่แนบท้ายกฤษฎกี า
2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม้
สมการปริมาตรไม้ท่ีใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพื้นท่ีป่าไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบง่ กลุ่มของชนดิ ไม้เป็นจํานวน 7 กลุม่ ดงั น้ี
กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทน์กะพ้อ สนสองใบ
ใช้สมการ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ กระพี้จ่ัน กระพ้ีเขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน
กระพ้ี ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลือ
ใช้สมการ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะครํ้า
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เล่ียน มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ต้ิว
สะแกแสง ปู่เจา้ และไมส้ กุลสา้ น เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค
ใช้สมการ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภหู ินรอ่ งกลา้
11
กลุ่มท่ี 4 ได้แก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ และ
สกลุ ขีเ้ หลก็
ใช้สมการ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
กลุ่มท่ี 5 ไดแ้ ก่ สกุลประดู่ เตมิ
ใชส้ มการ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
กลุ่มที่ 6 ได้แก่ สกั ตีนนก ผ่าเสย้ี น หมากเลก็ หมากน้อย ไข่เน่า กระจับเขา กาสามปกี สวอง
ใชส้ มการ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
กลุ่มท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอื่นๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน แสมสาร
และไมใ้ นสกุลปอ กอ่ เปล้า เป็นต้น
ใช้สมการ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คือ ปรมิ าตรสว่ นลาํ ตน้ เมอ่ื ตัดโค่นท่ีความสูงเหนือพื้นดนิ (โคน) 10 เซนติเมตร
ถึงกิง่ แรกทท่ี ําเปน็ สนิ คา้ ได้ มหี น่วยเปน็ ลูกบาศก์เมตร
DBH มีหนว่ ยเป็นเซนติเมตร
ln = natural logarithm
3. ขอ้ มูลทัว่ ไป
ข้อมูลท่ัวไปท่ีนําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ตั้ง ตําแหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ที่ทําการเก็บ
ข้อมูล ความสูงจากระดับนํ้าทะเล และสภาพป่า เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้ประกอบในการวิเคราะห์และ
ประเมินผลร่วมกับข้อมูลด้านอื่นๆ เพ่ือติดตามความเปล่ียนแปลงของพื้นท่ีและทรัพยากรป่าไม้ในการสํารวจ
ครั้งตอ่ ไป
4. การวเิ คราะห์ข้อมลู องคป์ ระกอบของหมไู่ ม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร
4.3 ข้อมลู ชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling)
4.4 ขอ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling)
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูหินร่องกลา้
12
5. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลชนิดและปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย
5.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จาํ นวนกอ และ จาํ นวนลาํ )
5.2 ความหนาแน่นของหวายเส้นตั้ง (จาํ นวนต้น)
6. การวิเคราะหข์ ้อมลู สังคมพืช
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลสังคมพชื ในดา้ นความถ่ี (Frequency) ความหนาแนน่ (Density) ความเดน่
(Dominance) และความสาํ คญั ทางนเิ วศวทิ ยา (Important value index, IVI) โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะห์
ข้อมูลดงั นี้
6.1) ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density: D) คือ จาํ นวนตน้ ทั้งหมดของไม้แต่ละชนดิ ทพ่ี บใน
แปลงตัวอย่างต่อเนือ้ ทขี่ องพน้ื ท่ีท่ที าํ การสาํ รวจ
Da = จาํ นวนตน้ ทัง้ หมดของไม้ชนดิ นน้ั
.
พื้นทแ่ี ปลงตัวอยา่ งทั้งหมดที่ทาํ การสาํ รวจ
6.2) ความถ่ี (Frequency: F) คอื อัตรารอ้ ยละของจาํ นวนแปลงตัวอยา่ งทพ่ี บพันธไ์ุ ม้
ชนดิ นน้ั ต่อจํานวนแปลงทั้งหมดท่ที ําการสํารวจ
Fa = จาํ นวนแปลงตัวอย่างทีพ่ บไม้ชนิดทก่ี ําหนด X 100
จํานวนแปลงตัวอย่างทั้งหมดท่ีทาํ การสํารวจ
6.3) ความเดน่ (Dominance: Do) ใช้ความเดน่ ด้านพืน้ ทหี่ นา้ ตัด (Basal Area : BA)
หมายถึง พื้นทหี่ น้าตดั ของต้นไมท้ ร่ี ะดบั 1.30 เมตร ตอ่ พ้นื ท่ที ที่ ําการสํารวจ
Do = พ้ืนท่ีหน้าตดั ท้งั หมดของไม้ชนิดทกี่ ําหนด X 100
พื้นท่แี ปลงตัวอย่างทท่ี าํ การสาํ รวจ
6.4) คา่ ความหนาแน่นสัมพทั ธ์ (Relative Density: RD) คือ คา่ ความสัมพัทธข์ องความ
หนาแน่นของไมแ้ ต่ละชนดิ ตอ่ คา่ ความหนาแนน่ ของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ
RDa = ความหนาแน่นของไม้ชนดิ นั้น X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ กุ ชนดิ
6.5) ค่าความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency: RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถ่ีของแต่ละ
ชนดิ ไม้ตอ่ คา่ ความถ่ีทงั้ หมดของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ
RFa = ความถข่ี องไม้ชนดิ น้นั X 100
ความถ่ีรวมของไมท้ ุกชนิด
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแห่งชาตภิ หู นิ ร่องกลา้
13
6.6) คา่ ความเดน่ สัมพทั ธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ คา่ ความสัมพันธ์ของความเดน่
ในรูปพน้ื ท่หี น้าตดั ของไมแ้ ตล่ ะชนดิ ตอ่ ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ
RDoa = ความเดน่ ของไมช้ นดิ นั้น X 100
ความเดน่ รวมของไมท้ กุ ชนดิ
6.7) คา่ ดชั นีความสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) คือ ผลรวมของคา่ ความ
สมั พัทธต์ า่ งๆ ของชนิดไมใ้ นสังคมพชื ประกอบด้วย คา่ ความสัมพัทธด์ า้ นความหนาแนน่ ค่าความสัมพัทธด์ ้าน
ความถ่ี และคา่ ความสัมพัทธด์ า้ นความเดน่
IVI = RD + RF + RDo
7. วิเคราะห์ขอ้ มูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ โดยทําการวเิ คราะห์คา่ ตา่ งๆ ดงั นี้
7.1) ความหลากหลายของชนดิ พนั ธุ์ (Species Diversity) คดิ
จากจํานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏในสังคมและจํานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความ
หลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity ตามวิธีการของ Kreb (1972) ซึ่งมีสูตรการคํานวณ
ดงั ตอ่ ไปนี้
โดย H คือ คา่ ดชั นีความหลากชนดิ ของชนิดพันธ์ไุ ม้
Pi คอื สัดสว่ นระหว่างจาํ นวนตน้ ไมช้ นิดที่ i ต่อจาํ นวนตน้ ไม้ทั้งหมด
S คือ จาํ นวนชนดิ พันธไุ์ ม้ทัง้ หมด
7.2) ความรํ่ารวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นท้ังหมดที่ทําการสํารวจ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเมื่อเพ่ิมพ้ืนที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดังนี้
(1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)
Ln (n)
(2) Menhinick index (R2)
R2 = S
เม่อื S คอื จาํ นวนชนดิ ทงั้ หมดในสังคม
n คือ จาํ นวนตน้ ทั้งหมดที่สํารวจพบ
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ูหนิ รอ่ งกลา้
14
7.3) ความสมาํ่ เสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสม่ําเสมอจะมคี า่ มากท่สี ดุ เม่อื ทกุ ชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นกั นิเวศวทิ ยา คือ วธิ ขี อง Pielou (1975) ซง่ึ มสี ตู รการคํานวณดังนี้
E = H/ ln(S) =ln (N1)/ln (N0)
เม่อื H คือ คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จาํ นวนชนิดทงั้ หมด (N0)
N1 คอื eH
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติภหู นิ ร่องกลา้
15
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้
1. แปลงตัวอยา่ ง
ทําการวางแปลงตัวอย่างแบบวงกลม ขนาด 0.1 แฮกแตร์ ระยะห่าง 2.5 x 2.5 กิโลเมตร
กระจายครอบคลุมพื้นทอ่ี ุทยานฯ (191,875 ไร่ หรือ 307 ตร.กม.) จํานวนทง้ั สิน้ 55 แปลง แสดงดังภาพท่ี 10
ภาพที่ 10 พกิ ดั ตําแหนง่ แปลงตวั อยา่ ง
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาตภิ หู นิ ร่องกลา้
16
2. พ้นื ทป่ี ่าไม้
จากผลการสาํ รวจ สามารถจาํ แนกสภาพพน้ื ที่ปา่ ได้ 5 ประเภท ดังนี้ ป่าดิบเขา ปา่ เบญจพรรณ
ปา่ เต็งรงั สวนปา่ และทุ่งหญ้า แสดงดงั ภาพท่ี 11 โดยปา่ เบญจพรรณพบมากทส่ี ดุ มีพ้ืนท่ี 189.78 ตาราง
กิโลเมตร (118,613.64 ไร่) คิดเปน็ รอ้ ยละ 61.82 ของพื้นท่ที ้ังหมด รองลงมาคอื ป่าดิบเขา มีพ้นื ที่ 83.73
ตารางกิโลเมตร (52,329.55 ไร่) คดิ เปน็ ร้อยละ 27.27 ของพน้ื ทีท่ ง้ั หมด สวนปา่ มีพน้ื ที่ 22.33 ตารางกิโลเมตร
(13,954.55 ไร)่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.27 ของพนื้ ท่ที ั้งหมด ปา่ เต็งรังมีพนื้ ที่ 5.58 ตารางกโิ ลเมตร (3,488.64 ไร)่
คิดเป็นรอ้ ยละ 1.82 ของพ้นื ที่ทงั้ หมดและทงุ่ หญา้ มพี ้นื ที่ 5.58 ตารางกิโลเมตร (3,488.64 ไร่) คิดเปน็ ร้อยละ
1.82 ของพืน้ ท่ีท้งั หมด แสดงดังตารางที่ 2
ภาพที่ 11 ชนดิ ป่าในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติภหู ินร่องกลา้
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติภหู นิ ร่องกล้า
17
ตารางที่ 2 พนื้ ทป่ี า่ ไม้จาํ แนกตามชนดิ ปา่ (Area by Forest type)
ชนิดปา่ พนื้ ท่ี เฮกแตร์ รอ้ ยละ
ตร.กม ไร่ ของพืน้ ที่ทั้งหมด
ปา่ ดิบเขา 83.73 52,329.55 8,372.73 27.27
(Hill Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 189.78 118,613.64 18,978.18 61.82
(mixed deciduous forest)
ปา่ เต็งรงั 5.58 3,488.63 558.18 1.82
(dry dipterocarp forest)
สวนปา่ 22.33 13,954.55 2,232.73 7.27
(plantation)
ท่งุ หญ้า 5.58 3,488.63 558.18 1.82
(GrassLand)
รวม 307 191,875 30,700 100
หมายเหตุ
เนื้อที่ปา่ แตล่ ะชนิด คํานวณจากสดั สว่ นของขอ้ มูลแปลงตวั อย่างทีพ่ บจากการสํารวจภาคสนามและใช้พนื้ ทแ่ี นบท้ายกฤษฎกี า
ของอทุ ยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า เทา่ กบั 307 ตารางกิโลเมตร หรือ 191,875 ไร่ ในการคํานวณหาพ้ืนท่ีชนิดป่า
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูหินรอ่ งกล้า
18
12‐a
12‐b
ภาพท่ี 12-a, 12-b ลกั ษณะของป่าดบิ เขาที่สาํ รวจพบในพน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาตภิ หู ินรอ่ งกลา้
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูหินรอ่ งกล้า
19
13‐a
13‐b
ภาพท่ี 13-a, 13-b ลกั ษณะของปา่ เบญจพรรณที่สาํ รวจพบในพน้ื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภูหนิ ร่องกลา้
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
20
14‐a
14‐b
ภาพท่ี 14-a, 14-b ลกั ษณะของปา่ เตง็ รงั ท่ีสํารวจพบในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ หู นิ รอ่ งกลา้
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติภหู นิ รอ่ งกล้า
21
15‐a
15‐b
ภาพที่ 15-a, 15-b ลกั ษณะของสวนปา่ ทส่ี ํารวจพบในพื้นที่อุทยานแหง่ ชาตภิ หู นิ รอ่ งกล้า
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ หู ินร่องกลา้
22
16‐a
16‐b
ภาพท่ี 16-a, 16-b ลกั ษณะของทุ่งหญา้ ทส่ี าํ รวจพบในพืน้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ หู นิ รอ่ งกล้า
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูหนิ ร่องกล้า
23
3. ปรมิ าณไม้
ในการประเมนิ ปรมิ าณ ปริมาตรและความหนาแน่นของหมู่ไม้ในพื้นที่อุทยานฯ พบว่า ไม้ยืนต้น
ท่มี ีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ตั้งแต่ 15 เซนติเมตรข้ึนไป มีจํานวน
มากกว่า 252 ชนดิ รวม 18,274,823 ตน้ คดิ เป็นปรมิ าตรไม้ 3,957,962.02 ลกู บากศ์เมตร มีความหนาแน่น
ของหมู่ไม้เฉล่ีย 95.24 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉล่ีย 20.63 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ป่าเบญจพรรณเป็นป่าท่ีมี
ปริมาณไม้มากที่สุด ประมาณ 9,637,358 ต้น รองลงมา ได้แก่ ป่าดิบเขา จํานวน 6,482,884 ต้น สําหรับ
ปริมาตรไม้พบว่า ป่าดิบเขามีปริมาตรมากที่สุด ประมาณ 1,945,890.38 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา ได้แก่
ป่าเบญจพรรณ จาํ นวน 1,718,223.47 ลูกบาศก์เมตร แสดงดังตารางท่ี 3 และ 4 ตามลําดบั
ตารางท่ี 3 ประเมนิ ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดตามชนดิ ปา่ ทส่ี าํ รวจพบ (Volume by Forest type)
ชนดิ ปา่ ปรมิ าณไม้ทง้ั หมด
จํานวนตน้ (ต้น) ปริมาตร (ลบ.ม.)
ป่าดิบเขา 6,482,884 1,945,890
(Hill Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 9,637,358 1,718,223
(mixed deciduous forest)
ปา่ เตง็ รัง 357,236 134,962
(dry dipterocarp forest)
สวนปา่ ประเภทอ่นื ๆ 1,797,345 173,796
(Others)
ทุ่งหญ้า --
(GrassLand)
เฉลีย่ 18,274,823 3,972,871
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ที่อุทยานแหง่ ชาติภูหินรอ่ งกลา้
24
ภาพท่ี 17 ประเมนิ ปริมาณไม้ทัง้ หมดตาม ชนดิ ปา่
ภาพที่ 18 ประเมนิ ปรมิ าตรไม้ท้ังหมดตามชนิดปา่
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่อทุ ยานแห่งชาตภิ หู นิ รอ่ งกล้า
25
ตารางท่ี 4 ความหนาแน่นและปรมิ าตรไมต้ อ่ หนว่ ยพนื้ ทจี่ าํ แนกตามชนิดป่า
(Density and Volume per Area by Forest type)
ชนิดป่า ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
ต้น/ไร่ ต้น/แฮกแตร์ ลบ.ม/ไร่ ลบ.ม/เฮกแตร์
ปา่ ดิบเขา 123.89 774.29 37.19 101.68
(Hill Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 81.25 507.81 14.49 206.94
(mixed deciduous forest)
ปา่ เต็งรงั 102.40 640.00 38.69 60.45
(dry dipterocarp forest)
สวนป่าประเภทอ่นื ๆ 128.80 805.00 12.45 311.36
(Others)
ทงุ่ หญ้า - -- -
(GrassLand)
เฉลี่ย 95.24 595.27 20.63 128.92
ภาพท่ี 19 ความหนาแนน่ ของตน้ ไม้จาํ แนกตามชนดิ ปา่
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ที่อุทยานแหง่ ชาติภหู นิ ร่องกลา้
26
ภาพท่ี 20 ปรมิ าตรตน้ ไม้ในพนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาติภูหนิ รอ่ งกล้า
ตารางท่ี 5 การกระจายของตน้ ไม้ในแต่ละชว่ งขนาดความโต
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ้ังหมด (ต้น) ร้อยละ (%)
69.47
15-45 ซม. 12,695,520 23.16
7.37
>45-100 ซม. 4,232,448 100.00
>100 ซม. 1,346,855
รวม 18,274,823
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตภิ หู นิ ร่องกลา้
27
ภาพท่ี 21 การกระจายของต้นไมใ้ นแตล่ ะชว่ งขนาดความโต
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ หู ินร่องกล้า
28
4. ชนดิ พันธไุ์ ม้
พันธไ์ุ ม้จาํ แนกโดยเจา้ หน้าทท่ี ีท่ ําการสํารวจและคนในพื้นท่ีท่ีมาช่วยเก็บข้อมูล ซ่ึงความรู้และรู้จัก
ชนดิ พนั ธุ์ไม้ประจําถิ่น ในกรณที ไี่ ม่สามารถจําแนกชนิดได้ จะทําการเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้น้ันๆ แล้วนํามาให้
ผู้เช่ียวชาญด้านพันธุ์ไม้ของสํานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ช่วยจําแนกช่ือ
วิทยาศาสตร์ท่ถี กู ต้องใหต้ อ่ ไป
ผลการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ในพืน้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติภหู นิ รอ่ งกล้า
1. พบชนิดพันธุ์ไม้ 65 วงศ์ มากกว่า 252 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 18,274,823 ต้น คิดเป็น
ปริมาตรไม้รวม 3,972,871.18 ลูกบาศก์เมตร หมู่ไม้มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 95.24 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้
เฉล่ีย 20.71 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่
ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus)
จําปีดง (Magnolia henryi) ก่วมแดง (Acer calcaratum) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) กาง
ข้ีมอด (Albizia odoratissima) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สนสามใบ (Pinus kesiya) กระบาก
(Anisoptera costata) แดง (Xylia xylocarpa) ซอ้ (Gmelina arborea) แสดงในตารางท่ี 6
2. ป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 9,637,358 ต้นคิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,718,223.47
ลูกบาศกเ์ มตร มคี า่ ความหนาแนน่ เฉลีย่ 81.25 ตน้ ต่อไร่ มปี ริมาตรไม้เฉลยี่ 14.49 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่
ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กางขี้มอด
(Albizia odoratissima) กระบาก (Anisoptera costata) ซ้อ (Gmelina arborea) ลําพูป่า (Duabanga
grandiflora) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) แดง (Xylia xylocarpa) โลด (Aporosa villosa)
ทองหลางปา่ (Erythrina subumbrans) ต้วิ เกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) แสดงในตารางที่ 7
3. ป่าดิบเขา มีปริมาณไม้รวม 6,482,884 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,945,890.38 ลูกบาศก์
เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 123.89 ต้นต่อไร่ มีปรมิ าตรไมเ้ ฉลี่ย 37.19 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่
ชนิดไม้ที่มีปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ จําปีดง (Magnolia henryi) ก่วมแดง (Acer
calcaratum) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) ก่อตลับ
(Quercus ramsbottomii) ก่อตาหมู (Castanopsis cerebrina) ตะคร้ํา (Garuga pinnata) กํายาน
(Styrax apricus) ก่อหนิ (Castanopsis piriformis) หวา้ (Syzygium cumini) แสดงในตารางท่ี 8
4. ป่าเต็งรังมีปริมาณไม้รวม 357,236 ต้น มีปริมาตร 134,961.03 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความ
หนาแนน่ เฉลี่ย 102.40 ต้นต่อไร่ มปี ริมาตรไมเ้ ฉล่ยี 38.69 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่
ไม้ท่ีมีปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) ก่อเดือย (Castanopsis
acuminatissima) แดง (Xylia xylocarpa) กางขี้มอด (Albizia odoratissima) ตะแบกเปลือกบาง
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาตภิ ูหนิ ร่องกล้า
29
(Lagerstroemia duperreana) ตีนนก (Vitex pinnata) หาด (Artocarpus lacucha) งิ้วป่า (Bombax
anceps) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata) เปลา้ เลือด (Croton robustus) แสดงในตารางท่ี 9
5. สวนป่า มีปริมาณไม้รวม 1,797,346 ต้น คิดเป็นปริมาตรเท่ากับ 173,796.30 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแนน่ เฉลยี่ 128.80 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉลี่ย 12.45 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่
ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มาก 10 อันดับแรก ได้แก่ สนสามใบ (Pinus kesiya) ปลายสาน (Eurya
acuminate) ชมพูภูพิงค์ (Prunus cerasoides) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata) สอยดาว (Mallotus
paniculatus) กล้วยฤาษี (Diospyros glandulosa) ทองหลางลาย (Erythrina variegate) มังตาน
(Schima wallichii) ยอเถือ่ น (Morinda elliptica) กํายาน (Styrax apricus) แสดงในตารางท่ี10
6. ท่งุ หญา้ สาํ รวจไม่พบไม้ตน้ พบเพยี งลกู ไม้ และ กล้าไม้เท่าน้ัน
7. ลูกไม้ (Sapling) มีมากกว่า 64 ชนิด รวมทั้งสิ้น 30,581,923 ต้น มีความหนาแน่นของ
159.38 ตน้ ต่อไร่
ลูกไม้ท่ีมีปริมาณมาก 10 อันดับแรกได้แก่ ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) เข็มป่า
(Ixora cibdela) ก่อตลับ (Quercus ramsbottomii) กํายาน (Styrax apricus) ปอกระสา (Broussonetia
papyrifera) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) เปล้าแพะ
(Croton acutifolius) มะดกู (Siphonodon celastrineus) มะเด่ือปลอ้ ง (Ficus hispida) แสดงดังตารางท่ี 11
8. กล้าไม้ (Seedling) มีมากกว่า 60 ชนิด รวมท้ังสิ้น 301,096,153 ต้น มีความหนาแน่น
1,569.23 ตน้ ตอ่ ไร่
กล้าไม้ที่มีปริมาณมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ติ้วเกล้ียง
(Cratoxylum cochinchinense) มะหวด (Lepisanthes rubiginosa) มะหนามน้ึง (Vangueria
pubescens) พลับพลา (Microcos tomentosa) มะจํ้าก้อง (Ardisia colorata) เข็มป่า (Ixora cibdela)
มะเด่ือปล้อง (Ficus hispida) กํายาน (Styrax apricus) แคทราย (Stereospermum neuranthum) แสดง
ในตารางที่ 12
9. ไผ่ พบมากกว่า 8 ชนิด ได้แก่ ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum virgatum) ไผ่ไร่ (Gigantochloa
albociliata) ไผ่คายดํา (Gigantochloa compressa) ไผ่บง (Bambusa nutans) หก (Dendrocalamus
hamiltonii) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ไล่ลอ (Gigantochloa nigrociliata) เป็นต้น มีปริมาณ
ไม้ไผจ่ าํ นวน 1,121,730 กอ รวมท้งั ส้นิ 83,135,600 ลํา แสดงในตารางท่ี 13
10. ตอไม้ พบมากกว่า 5 ชนิด รวมท้ังส้ิน 118,077 ตอ มีความหนาแน่น 0.62 ตอต่อไร่ ชนิดไม้
ท่ีพบมาก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) และเลี่ยน (Melia
azedarach) ตามลาํ ดบั แสดงในตารางท่ี 14
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ท่อี ทุ ยานแห่งชาติภหู นิ ร่องกล้า
30
ตารางท่ี 6 ประเมินปริมาณไม้ของอุทยานแหง่ ชาติภูหินร่องกล้า (30 ชนิดแรกที่มีปรมิ าตรไมส้ ูงสดุ )
ลาํ ดบั ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณทัง้ หมด ปริมาตรท้งั หมด ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 224,346 188,229.33 1.17 0.98
2 จําปดี ง Magnolia henryi 295,192 174,883.22 1.54 0.91
3 กว่ มแดง Acer calcaratum 82,654 166,378.69 0.43 0.87
4 ก่อเดอื ย Castanopsis acuminatissima 330,615 156,019.17 1.72 0.81
5 กางขีม้ อด Albizia odoratissima 224,346 114,115.36 1.17 0.59
6 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 395,557 113,042.70 2.06 0.59
7 สนสามใบ Pinus kesiya 188,923 107,637.36 0.98 0.56
8 กระบาก Anisoptera costata 5,903 83,797.57 0.03 0.44
9 แดง Xylia xylocarpa 200,730 76,715.09 1.05 0.40
10 ซ้อ Gmelina arborea 194,826 75,424.74 1.02 0.39
11 ลําพูปา่ Duabanga grandiflora 17,711 68,067.13 0.09 0.35
12 กอ่ ตลับ Quercus ramsbottomii 88,557 65,934.64 0.46 0.34
13 สมพง Tetrameles nudiflora 29,519 63,767.46 0.15 0.33
14 รงั Shorea siamensis 76,750 60,762.36 0.40 0.32
15 กางหลวง Albizia chinensis 129,884 60,598.57 0.68 0.32
16 กอ่ ตาหมู Castanopsis cerebrina 112,173 60,244.50 0.58 0.31
17 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 218,442 56,860.83 1.14 0.30
18 หวา้ Syzygium cumini 572,673 56,484.81 2.98 0.29
19 โลด Aporosa villosa 171,211 54,817.43 0.89 0.29
20 ตวิ้ เกลี้ยง Cratoxylum cochinchinense 985,942 50,369.93 5.14 0.26
21 ตนี นก Vitex pinnata 171,211 45,629.97 0.89 0.24
22 กํายาน Styrax apricus 277,480 45,365.31 1.45 0.24
23 เลยี งมัน Berrya cordifolia 153,500 44,050.04 0.80 0.23
24 ตะคร้าํ Garuga pinnata 70,846 43,663.85 0.37 0.23
25 ปลายสาน Eurya acuminata 897,384 41,934.80 4.68 0.22
26 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 76,750 41,776.16 0.40 0.22
27 กอ่ ข้าว Castanopsis inermis 53,134 39,072.87 0.28 0.20
28 กอ่ หนิ Castanopsis piriformis 11,807 35,511.82 0.06 0.19
29 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 177,115 33,062.49 0.92 0.17
59,038 29,529.39 0.31 0.15
30 มะมุน่ ดง Elaeocarpus sphaericus 11,778,173 1,704,214.43 61.38 8.88
18,274,823 3,972,871.18 95.24 20.63
31 อืน่ ๆ others
รวม
หมายเหตุ : พันธ์ุไมท้ ่ีสํารวจพบมากกวา่ 252 ชนิด
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภูหินร่องกลา้
31
ตารางที่ 7 ประเมินปรมิ าณไม้ในป่าเบญจพรรณของอทุ ยานแหง่ ชาติภูหนิ ร่องกลา้ (30 ชนดิ แรก)
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 391,425 113,504.64 3.30
195,713 102,899.27 1.65 0.96
2 กางข้ีมอด Albizia odoratissima 5,931 84,178.46 0.05 0.87
148,267 73,685.37 1.25 0.71
3 กระบาก Anisoptera costata 17,792 68,376.52 0.15 0.62
35,584 66,659.93 0.30 0.58
4 ซอ้ Gmelina arborea 136,406 62,986.96 1.15 0.56
166,059 55,010.09 1.40 0.53
5 ลาํ พูป่า Duabanga grandiflora 201,643 53,311.98 1.70 0.46
978,563 50,509.70 8.25 0.45
6 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 11,861 49,922.43 0.10 0.43
154,198 44,250.27 1.30 0.42
7 แดง Xylia xylocarpa 41,515 39,385.52 0.35 0.37
35,584 35,857.06 0.30 0.33
8 โลด Aporosa villosa 136,406 33,005.22 1.15 0.30
118,614 30,182.32 1.00 0.28
9 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 166,059 27,674.84 1.40 0.25
35,584 23,246.26 0.30 0.23
10 ติว้ เกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense 166,059 21,518.04 1.40 0.20
225,366 21,447.07 1.90 0.18
11 สมพง Tetrameles nudiflora 243,158 18,963.10 2.05 0.18
17,792 18,929.34 0.15 0.16
12 เลยี งมัน Berrya cordifolia 17,792 17,515.58 0.15 0.16
35,584 16,458.84 0.30 0.15
13 กางหลวง Albizia chinensis 77,099 16,379.51 0.65 0.14
94,891 16,110.31 0.80 0.14
14 ก่อขา้ ว Castanopsis inermis 59,307 15,853.40 0.50 0.14
59,307 15,334.59 0.50 0.13
15 ตนี นก Vitex pinnata 243,158 15,300.99 2.05 0.13
332,118 15,298.45 2.80 0.13
16 หว้า Syzygium cumini 5,088,525 494,467.41 42.90 0.13
1,718,223.47 81.25 4.17
17 ก่อเดอื ย Castanopsis acuminatissima 9,637,358 14.49
18 มะมนุ่ ดง Elaeocarpus sphaericus
19 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana
20 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii
21 ปลายสาน Eurya acuminata
22 มะเกลอื เลือด Terminalia mucronata
23 เลยี งฝา้ ย Kydia calycina
24 กระบก Irvingia malayana
25 ตะคร้อ Schleichera oleosa
26 งวิ้ ป่า Bombax anceps
27 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa
28 ส้านใหญ่ Dillenia obovata
29 มันปลา Adinandra laotica
30 คอแลน Nephelium hypoleucum
31 อนื่ ๆ others
รวม
หมายเหตุ : พนั ธ์ุไม้ทสี่ ํารวจพบมากกวา่ 161 ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ูหนิ รอ่ งกล้า
32
ตารางท่ี 8 ประเมนิ ปรมิ าณไมใ้ นป่าดบิ เขาอทุ ยานแห่งชาตภิ ูหินร่องกล้า (30 ชนิดแรกปรมิ าตรไม้สูงสุด)
ลาํ ดบั ชนดิ พันธุไ์ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 จําปีดง Magnolia henryi 299,026 177,154.43 5.71
83,727 168,539.45 1.60 3.39
2 ก่วมแดง Acer calcaratum 191,377 123,453.77 3.66 3.22
155,494 111,011.12 2.97 2.36
3 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 89,708 66,790.94 1.71 2.12
113,630 61,026.90 2.17 1.28
4 ก่อเดอื ย Castanopsis acuminatissima 65,786 44,093.69 1.26 1.17
215,299 43,326.22 4.11 0.84
5 ก่อตลับ Quercus ramsbottomii 11,961 35,973.01 0.23 0.83
460,500 26,782.43 8.80 0.69
6 ก่อตาหมู Castanopsis cerebrina 287,065 25,855.96 5.49 0.51
35,883 23,500.26 0.69 0.49
7 ตะครํ้า Garuga pinnata 77,747 19,691.94 1.49 0.45
5,981 16,983.16 0.11 0.38
8 กํายาน Styrax apricus 95,688 16,930.12 1.83 0.32
17,942 14,253.66 0.34 0.32
9 กอ่ หนิ Castanopsis piriformis 17,942 13,006.68 0.34 0.27
101,669 10,464.91 1.94 0.25
10 หว้า Syzygium cumini 119,610 2.29 0.20
17,942 9,678.69 0.34 0.18
11 มะคงั ดง Ostodes paniculata 5,981 9,488.38 0.11 0.18
101,669 9,026.58 1.94 0.17
12 จาํ ปา Michelia champaca 41,864 8,917.94 0.80 0.17
23,922 7,156.19 0.46 0.14
13 กางหลวง Albizia chinensis 11,961 6,471.28 0.23 0.12
137,552 6,289.89 2.63 0.12
14 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 29,903 6,150.46 0.57 0.12
53,825 5,767.46 1.03 0.11
15 อบเชย Cinnamomum bejolghota 59,805 5,629.42 1.14 0.11
35,883 5,445.54 0.69 0.10
16 สมพง Tetrameles nudiflora 3,516,545 5,369.97 67.20 0.10
861,659.95 123.89 16.47
17 ตองแตบ Macaranga denticulata 6,482,884 1,945,890.38 37.19
18 กลว้ ยฤาษี Diospyros glandulosa
19 ตาเสอื Aphanamixis polystachya
20 ก่วม Acer oblongum
21 อแี ปะ Vitex scabra
22 มะดกู Siphonodon celastrineus
23 แหลบกุ Phoebe lanceolata
24 มะมนุ่ ดง Elaeocarpus sphaericus
25 ปลายสาน Eurya acuminata
26 ลําไยปา่ Paranephelium xestophyllum
27 ขางปอย Acalypha kerrii
28 มะป่วน Mitrephora vandaeflora
29 ปอกระสา Broussonetia papyrifera
30 กลั ปพฤกษ์ Cassia bakeriana
31 อนื่ ๆ others
รวม
หมายเหตุ : พันธ์ุไมท้ ส่ี าํ รวจพบมากกว่า 135 ชนดิ
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาติภหู นิ รอ่ งกล้า
33
ตารางท่ี 9 ประเมนิ ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เตง็ รังของอุทยานแห่งชาตภิ ูหินรอ่ งกล้า (30 ชนิดแรก)
ลาํ ดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 รัง Shorea siamensis 72,564 57,448.05 20.80
11,164 17,851.75 3.20 16.47
2 กอ่ เดอื ย Castanopsis acuminatissima 61,400 13,248.79 17.60 5.12
16,745 9,551.25 4.80 3.80
3 แดง Xylia xylocarpa 5,582 8,354.55 1.60 2.74
11,164 7,360.52 3.20 2.39
4 กางขีม้ อด Albizia odoratissima 11,164 5,416.05 3.20 2.11
11,164 5,044.33 3.20 1.55
5 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 5,582 2,139.08 1.60 1.45
61,400 2,051.95 17.60 0.61
6 ตีนนก Vitex pinnata 11,164 1,726.56 3.20 0.59
5,582 1,188.46 1.60 0.49
7 หาด Artocarpus lacucha 16,745 1,143.26 4.80 0.34
5,582 1.60 0.33
8 ง้วิ ป่า Bombax anceps 16,745 895.94 4.80 0.26
5,582 566.50 1.60 0.16
9 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 5,582 562.13 1.60 0.16
11,164 147.98 3.20 0.04
10 เปล้าเลือด Croton robustus 5,582 116.92 1.60 0.03
5,582 98.16 1.60 0.03
11 มะหนามน้งึ Vangueria pubescens 48.84 0.01
38.69
12 พะยอม Shorea roxburghii
13 เหมอื ดต้น Aporosa serrata
14 กระพีเ้ ขาควาย Dalbergia cultrata
15 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum
16 คาํ มอกหลวง Gardenia sootepensis
17 เปลา้ แพะ Croton acutifolius
18 ข้าวสาร Phyllanthus columnaris
19 ส้มกบ Hymenodictyon orixense
20 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
รวม 357,236 134,961.03 102.40
หมายเหตุ : พันธุ์ไม้ทส่ี าํ รวจพบมากกวา่ 20 ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแห่งชาติภหู ินรอ่ งกล้า
34
ตารางท่ี 10 ประเมินปรมิ าณไม้ในสวนป่าของอุทยานแห่งชาติภหู นิ รอ่ งกล้า (30 ชนดิ แรก)
ลาํ ดับ ชนิดพันธุไ์ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 สนสามใบ Pinus kesiya 178,618 101,766.23 12.80
608,418 15,929.26 43.60 7.29
2 ปลายสาน Eurya acuminata 586,091 14,635.13 42.00 1.14
5,582 7,074.88 0.40 1.05
3 ชมพูภูพงิ ค์ Prunus cerasoides 72,564 5,596.10 5.20 0.51
50,236 5,350.25 3.60 0.40
4 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 11,164 4,182.51 0.80 0.38
16,745 3,360.75 1.20 0.30
5 สอยดาว Mallotus paniculatus 16,745 1,995.81 1.20 0.24
44,655 1,931.57 3.20 0.14
6 กลว้ ยฤาษี Diospyros glandulosa 11,164 1,845.32 0.80 0.14
16,745 1,340.72 1.20 0.13
7 ทองหลางลาย Erythrina variegata 11,164 1,123.42 0.80 0.10
11,164 1,098.12 0.80 0.08
8 มงั ตาน Schima wallichii 11,164 1,077.54 0.80 0.08
11,164 0.80 0.08
9 ยอเถือ่ น Morinda elliptica 22,327 940.10 1.60 0.07
5,582 807.26 0.40 0.06
10 กํายาน Styrax apricus 11,164 771.56 0.80 0.06
16,745 524.75 1.20 0.04
11 กางหลวง Albizia chinensis 5,582 438.22 0.40 0.03
5,582 246.30 0.40 0.02
12 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 5,582 175.26 0.40 0.01
5,582 150.59 0.40 0.01
13 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 5,582 135.32 0.40 0.01
11,164 132.87 0.80 0.01
14 ซ้อ Gmelina arborea 5,582 83.94 0.40 0.01
5,582 81.68 0.40 0.01
15 มนั ปลา Adinandra laotica 5,582 73.67 0.40 0.01
5,582 71.11 0.40 0.01
16 ส้านหิ่ง Dillenia parviflora 16,745 51.08 1.20 0.00
804.99 128.80 0.06
17 พลับดง Diospyros bejaudii 1,797,345 173,796.30 12.45
18 มะเดื่อกวาง Ficus callosa
19 พงั แหร Trema angustifolia
20 งว้ิ ป่า Bombax anceps
21 ยมหนิ Chukrasia tabularis
22 ตะคร้อ Schleichera oleosa
23 มะไฟ Baccaurea ramiflora
24 มะฮอกกานีใบใหญ่ Swietenia macrophylla
25 ปอกระสา Broussonetia papyrifera
26 ตวิ้ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense
27 กระเบาใหญ่ Hydnocarpus anthelminthicus
28 กอ่ ขา้ ว Castanopsis inermis
29 มะพลับ Diospyros areolata
30 มะมือ Choerospondias axillaris
31 อนื่ ๆ others
รวม
หมายเหตุ : พนั ธ์ุไม้ทส่ี าํ รวจพบมากกวา่ 32 ชนิด
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอุทยานแหง่ ชาตภิ หู นิ รอ่ งกล้า
35
ตารางท่ี 11 ประเมิณชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) (30 ชนิดแรก)
ลําดับ ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณลกู ไมท้ ง้ั หมด
จํานวนต้น ความหนาแนน่
1 ตว้ิ เกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense 5,431,538 28.31
2 เข็มปา่ Ixora cibdela 1,771,153 9.23
3 ก่อตลบั Quercus ramsbottomii 826,538 4.31
4 กาํ ยาน Styrax apricus 826,538 4.31
5 ปอกระสา Broussonetia papyrifera 826,538 4.31
6 มะเด่ือปลอ้ ง Ficus hispida 708,461 3.69
7 เปลา้ แพะ Croton acutifolius 708,461 3.69
8 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 708,461 3.69
9 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 708,461 3.69
10 มะดูก Siphonodon celastrineus 708,461 3.69
11 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 590,384 3.08
12 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 590,384 3.08
13 มะปว่ น Mitrephora vandaeflora 590,384 3.08
14 ลําไยปา่ Paranephelium xestophyllum 590,384 3.08
15 ก่อเดือย Castanopsis acuminatissima 472,307 2.46
16 คอแลน Nephelium hypoleucum 472,307 2.46
17 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 472,307 2.46
18 จาํ ปีดง Magnolia henryi 472,307 2.46
19 ชมพภู ูพิงค์ Prunus cerasoides 472,307 2.46
20 คาํ แสด Mallotus philippensis 354,230 1.85
21 ตองลาด Actinodaphne henryi 354,230 1.85
22 มะไฟ Baccaurea ramiflora 354,230 1.85
23 อบเชย Cinnamomum bejolghota 354,230 1.85
24 เปล้าเลือด Croton robustus 354,230 1.85
25 เพกา Oroxylum indicum 236,153 1.23
26 เหมือดต้น Aporosa serrata 236,153 1.23
27 มะกลาํ่ ตน้ Adenanthera pavonina 236,153 1.23
28 กางหลวง Albizia chinensis 236,153 1.23
29 เฉียงพรา้ นางแอ Carallia brachiata 236,153 1.23
30 ก่อตาหมู Castanopsis cerebrina 236,153 1.23
31 อ่นื ๆ other 9,446,153 49.23
รวม 30,581,923 159.28
หมายเหตุ : พันธุ์ไม้ท่ีสํารวจพบมากกวา่ 64 ชนดิ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติภหู นิ ร่องกล้า
36
ตารางที่ 12 ประเมนิ ชนิดและปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) (30 ชนิดแรก)
ลาํ ดับ ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณกล้าไม้ท้ังหมด
จํานวนต้น ความหนาแน่น
1 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 28,338,461 147.69
2 ติ้วเกล้ียง Cratoxylum cochinchinense 22,434,615 116.92
3 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 18,892,307 98.46
4 มะหนามนงึ้ Vangueria pubescens 16,530,769 86.15
5 พลบั พลา Microcos tomentosa 12,988,461 67.69
6 มะจํา้ ก้อง Ardisia colorata 10,626,923 55.38
7 เขม็ ป่า Ixora cibdela 10,626,923 55.38
8 มะเดื่อปล้อง Ficus hispida 9,446,153 49.23
9 กาํ ยาน Styrax apricus 9,446,153 49.23
10 แคทราย Stereospermum neuranthum 8,265,384 43.08
11 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 5,903,846 30.77
12 หสั คุณ Micromelum minutum 4,723,076 24.62
13 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum 4,723,076 24.62
14 คอแลน Nephelium hypoleucum 4,723,076 24.62
15 มะเมา่ สาย Antidesma sootepense 3,542,307 18.46
16 เฉยี งพรา้ นางแอ Carallia brachiata 3,542,307 18.46
17 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 3,542,307 18.46
18 ก่อตลับ Quercus ramsbottomii 3,542,307 18.46
19 ตีนนก Vitex pinnata 3,542,307 18.46
20 เปลา้ เลอื ด Croton robustus 2,361,538 12.31
21 กระดกู ไก่ Euonymus javanicus 2,361,538 12.31
22 เพกา Oroxylum indicum 2,361,538 12.31
23 โมกมนั Wrightia arborea 2,361,538 12.31
24 กระโดน Careya sphaerica 2,361,538 12.31
25 กําพ้ี Dalbergia ovata 2,361,538 12.31
26 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 2,361,538 12.31
27 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 2,361,538 12.31
28 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 2,361,538 12.31
29 จําปดี ง Magnolia henryi 2,361,538 12.31
30 แคหัวหมู Markhamia stipulata 2,361,538 12.31
31 อน่ื ๆ Other 89,738,461 467.69
รวม 301,096,153 1,569.23
หมายเหตุ : พันธ์ุไมท้ ส่ี ํารวจพบมากกวา่ 60 ชนดิ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาติภหู ินร่องกล้า
37
ตารางที่ 13 ประเมินชนิดและปรมิ าณไม้ไผท่ ่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูหินรอ่ งกลา้
ลําดบั ชนดิ ไผ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไมไ้ ผท่ ั้งหมด
จํานวนกอ จํานวนลํา
1 ไผ่เฮยี ะ Cephalostachyum virgatum 360,134 30,607,900
2 ไผ่ไร่ Gigantochloa albociliata 118,076 14,705,300
3 ไผ่คายดาํ Gigantochloa compressa 100,365 4,144,500
4 ไผ่บง Bambusa nutans 64,942 6,938,200
5 หก Dendrocalamus hamiltonii 53,134 5,280,400
6 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 41,326 2,609,500
7 ไผ่ไลล่ อ Gigantochloa nigrociliata 41,326 1,565,700
8 อื่นๆ others 342,423 17,284,100
รวมไผ่ 1,121,730 83,135,600
ตารางท่ี 14 ประเมนิ ชนดิ และปริมาณของตอไม้ (Stump)
ลําดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณ ความหนาแนน่
1 รงั Shorea siamensis (ตอ) (ต้น/ไร่)
2 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 47,230 0.25
3 เล่ียน Melia azedarach 11,807 0.06
4 F.FAGACEAE F.FAGACEAE 11,807 0.06
5 Unknown Unknown 11,807 0.06
35,423 0.18
รวม 118,076 0.62
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภหู นิ ร่องกลา้
38
5. สังคมพชื
ผลการสํารวจสงั คมพชื ในอทุ ยานแห่งชาติภูหินรอ่ งกลา้ พบวา่ มสี ังคมพชื 5 ประเภท คอื ป่าดิบเขา
ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรงั สวนป่า และทุ่งหญา้ และจากการวเิ คราะห์ข้อมูลสงั คมพชื พบความถ่ี (Frequency)
ความเดน่ (Dominance) และดัชนคี วามสาํ คญั ของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้
5.1 ป่าดิบเขา ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนคี วามสําคญั ของชนิดไม้ (IVI) สงู สดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ จําปดี ง
(Magnolia henryi) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) กว่ มแดง (Acer calcaratum) หว้า (Syzygium
cumini) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) มะคังดง (Ostodes paniculata) กํายาน (Styrax
apricus) กอ่ ตลบั (Quercus ramsbottomii) ก่อตาหมู (Castanopsis cerebrina) และ ตะครํา้ (Garuga
pinnata) ตามลําดบั แสดงในตารางท่ี 15
5.2 ป่าเบญจพรรณ ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ต้ิวเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กางขี้มอด (Albizia
odoratissima) ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) ซ้อ (Gmelina arborea) คอแลน (Nephelium
hypoleucum) แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla) แดง (Xylia xylocarpa) มันปลา (Adinandra
laotica) และ โลด (Aporosa villosa) ตามลาํ ดับ แสดงในตารางท่ี 16
5.3 ป่าเต็งรัง ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) เปล้าเลือด (Croton robustus) ก่อเดือย (Castanopsis
acuminatissima) กางข้ีมอด (Albizia odoratissima) ตีนนก (Vitex pinnata) ตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) หาด (Artocarpus lacucha) งิ้วป่า (Bombax anceps) และ เหมือดต้น
(Aporosa serrata) ตามลาํ ดับ แสดงในตารางที่ 17
5.4 สวนป่า ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สนสามใบ
(Pinus kesiya) ชมพูภูพิงค์ (Prunus cerasoides) ปลายสาน (Eurya acuminate) สอยดาว (Mallotus
paniculatus) กล้วยฤาษี (Diospyros glandulosa) กํายาน (Styrax apricus) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata)
ทองหลางลาย (Erythrina variegate) มงั ตาน (Schima wallichii) ยอเถื่อน (Morinda elliptica) ตามลําดบั
แสดงในตารางท่ี 18
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาติภูหินรอ่ งกลา้
ตารางท่ี 15 ดชั นีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ขอ
ลําดับ ชนดิ ไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ จาํ นวน ความหนาแนน่ พบ
(ต้น) (ต้น/เฮกตาร)์ (แปลง
1 จาํ ปีดง Magnolia henryi 50 35.71
32 22.86
2 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 14 10.00
77 55.00
3 กว่ มแดง Acer calcaratum 26 18.57
48 34.29
4 หว้า Syzygium cumini 36 25.71
15 10.71
5 กอ่ เดือย Castanopsis acuminatissima 19 13.57
11 7.86
6 มะคงั ดง Ostodes paniculata 20 14.29
16 11.43
7 กาํ ยาน Styrax apricus 23 16.43
26 18.57
8 กอ่ ตลบั Quercus ramsbottomii 13 9.29
17 12.14
9 ก่อตาหมู Castanopsis cerebrina 6 4.29
18 12.86
10 ตะคร้าํ Garuga pinnata 17 12.14
2 1.43
11 ตาเสอื Aphanamixis polystachya
12 อบเชย Cinnamomum bejolghota
13 ลาํ ไยป่า Paranephelium xestophyllum
14 เหมือดต้น Aporosa serrata
15 กางหลวง Albizia chinensis
16 กล้วยฤาษี Diospyros glandulosa
17 จาํ ปา Michelia champaca
18 มังตาน Schima wallichii
19 มะดกู Siphonodon celastrineus
20 ก่อหนิ Castanopsis piriformis
รวม 1,084 774.29 1
39
องป่าดบิ เขาในอุทยานแห่งชาตภิ หู ินร่องกล้า
ความถี่ พ้นื ที่หน้าตัด Dorminance RDensity RFrequency RDominance IVI
ง) (ตร.ม.) 1.37 8.42 14.40
1.83 5.77 10.55
3 21.43 3.28 0.08 4.61 1.83 6.94 10.06
0.91 1.98 10.00
4 28.57 2.25 0.06 2.95 2.74 4.86 10.00
1.37 1.80 7.60
4 28.57 2.71 0.07 1.29 1.37 2.61 7.30
0.91 3.14 5.44
2 14.29 0.77 0.02 7.10 0.46 2.98 5.19
1.37 2.35 4.74
6 42.86 1.89 0.05 2.40 1.37 0.68 3.90
1.37 1.05 3.89
3 21.43 0.70 0.02 4.43 0.91 0.51 3.54
0.46 0.39 3.25
3 21.43 1.02 0.03 3.32 0.91 1.11 3.23
0.91 0.72 3.20
2 14.29 1.22 0.03 1.38 1.37 1.23 3.15
0.91 0.37 2.94
1 7.14 1.16 0.03 1.75 0.46 0.64 2.66
0.91 1.49 2.58
3 21.43 0.92 0.02 1.01 100.00 100.00 300.00
3 21.43 0.27 0.01 1.85
3 21.43 0.41 0.01 1.48
2 14.29 0.20 0.01 2.12
1 7.14 0.15 0.00 2.40
2 14.29 0.43 0.01 1.20
2 14.29 0.28 0.01 1.57
3 21.43 0.48 0.01 0.55
2 14.29 0.14 0.00 1.66
1 7.14 0.25 0.01 1.57
2 14.29 0.58 0.01 0.18
14 100.00 39.00 1.00 100.00
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติภูหินรอ่ งกล้า
ตารางที่ 16 ดัชนคี วามสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ขอ
ลําดับ ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ จํานวนต้น ความหนาแนน่ แป
(ต้น/เฮกตาร์)
1 ต้ิวเกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense 165 51.56
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 66 20.63
3 กางข้ีมอด Albizia odoratissima 33 10.31
4 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 34 10.63
5 ซอ้ Gmelina arborea 25 7.81
6 คอแลน Nephelium hypoleucum 56 17.50
7 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 50 15.63
8 แดง Xylia xylocarpa 23 7.19
9 มนั ปลา Adinandra laotica 41 12.81
10 โลด Aporosa villosa 28 8.75
11 กอ่ เดือย Castanopsis acuminatissima 28 8.75
12 เลียงมนั Berrya cordifolia 26 8.13
13 มังตาน Schima wallichii 57 17.81
14 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 38 11.88
15 หว้า Syzygium cumini 20 6.25
16 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 28 8.75
17 ตนี นก Vitex pinnata 23 7.19
18 ปลายสาน Eurya acuminata 41 12.81
19 ง้วิ ปา่ Bombax anceps 16 5.00
20 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 6 1.88
รวม 1,625 507.81