The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อุทยานแห่งชาติภูเก้า ภูพานคำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kph.wanwisa, 2020-11-18 02:10:36

อุทยานแห่งชาติภูเก้า ภูพานคำ

อุทยานแห่งชาติภูเก้า ภูพานคำ

รายงาน

การสารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทรัพยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคา

กลุ่มสารวจทรัพยากรป่ าไม้ ส่วนสารวจและวเิ คราะห์ทรัพยากรป่ าไม้
สานักฟื้นฟแู ละพัฒนาพืน้ ท่ีอนุรักษ์

กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพืช

รายงานการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้

อทุ ยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภพู านคํา

กลุม่ สาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
สว่ นสํารวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรป่าไม้ สํานกั ฟื้นฟแู ละพฒั นาพ้ืนที่อนุรกั ษ์

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์ุพชื
พ.ศ. 2556

บทสรุปสําหรบั ผบู้ รหิ าร

จากสถานการณ์ปา่ ไม้ในปจั จุบนั พบวา่ พืน้ ทปี่ า่ ไม้ในประเทศเหลอื อยู่เพียงประมาณร้อยละ 33.56
ของพ้นื ท่ีประเทศ การดําเนินการสาํ รวจทรัพยากรป่าไมจ้ งึ เป็นอกี ทางหน่งึ ท่ที ําให้ทราบถงึ สถานภาพและศักยภาพ
ของทรพั ยากร เพอื่ นาํ มาใชใ้ นการดําเนนิ การตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซึง่ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และ
พันธ์ุพชื ได้ดาํ เนินการมาอยา่ งต่อเนือ่ ง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา ซ่ึงมีเน้ือท่ี 198,973 ไร่
หรือประมาณ 319 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ีตําบลหัวนา ตําบลนามะเฟือง อําเภอหนองบัวลําภู ตําบล
บา้ นถิ่น ตําบลโคกม่วง ตาํ บลนิคมพัฒนา ตําบลโนนเมอื ง ตําบลหนองเรอื ตาํ บลกุดคู่ ตําบลโนนสัง ตําบลบ้านค้อ
ตําบลโคกใหญ่ อาํ เภอโนนสงั จังหวดั อุดรธานี ตาํ บลศรีสุขสําราญ ตําบลนาคํา ตําบลบ้านดง ตําบลเข่ือนอุบลรัตน์
อาํ เภออุบลรัตน์ และตําบลหวา้ ทอง ตาํ บลท่งุ ชมพู ตําบลนาหว้า อาํ เภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งอยู่ในความดูแล
รบั ผดิ ชอบของสาํ นกั บริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) จํานวน 26 แปลง และสํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ท่ี 8
(ขอนแก่น) จํานวน 7 แปลง รวมทั้งส้ินจํานวน 33 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent
Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99,12.62,17.84 เมตร ตามลําดับ
และมีวงกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยูต่ ามทศิ หลกั ทง้ั 4 ทศิ

ผลการสํารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีชนดิ ปา่ หรือลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินทสี่ าํ รวจพบทง้ั
4 ประเภท ไดแ้ ก่ ปา่ เตง็ รัง ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ แลง้ และพืน้ ท่ีอ่นื ๆ (สนั เข่อื น) โดยป่าเตง็ รังพบมากทส่ี ดุ คิดเปน็
รอ้ ยละ 51.52 ของพืน้ ท่ที ง้ั หมด รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.33 ของพ้ืนทท่ี งั้ หมด สําหรับ
พรรณไมร้ วมทกุ ชนิดป่าพบทั้งสิน้ 51 วงศ์ มมี ากกว่า 190 ชนดิ จํานวน 22,188,504 ตน้ ปริมาตรไมร้ วมทงั้ หมด
2,749,214.97 ลกู บาศกเ์ มตร ปริมาตรเฉลยี่ 87.01 ลูกบาศกเ์ มตรต่อเฮกตาร์ และ 13.92 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่
มีความหนาแนน่ ของไม้เฉล่ีย 760 ต้นต่อเฮกตาร์ และ 118 ต้นต่อไร่ ซง่ึ เม่อื เรยี งลาํ ดบั จากจาํ นวนต้นทพี่ บมากสดุ
ไปหานอ้ ยสดุ 10 อันดบั แรก คอื รัง (Shorea siamensis) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) แดง (Xylia
xylocarpa) เตง็ (Shorea obtusa) ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) มะกอกเกลอื้ น (Canarium subulatum) หวา้ (Syzygium cumini) รกั ขาว (Semecarpus
cochinchinensis) และมะคา่ แต้ (Sindora siamensis) ตามลาํ ดับ แต่เมอื่ เรยี งลาํ ดับตามปรมิ าตรจากมากสดุ ไป
หาน้อยสดุ 10 อันดับแรก คือ รัง (Shorea siamensis) เหยี ง (Dipterocarpus obtusifolius) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) เต็ง (Shorea obtusa) มะค่าแต้ (Sindora
siamensis) กระบก (Irvingia malayana) รกั ขาว (Semecarpus cochinchinensis) แดง (Xylia xylocarpa)
และมะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) ตามลาํ ดับ ชนิดไม้ยืนต้นพบมากท่ีสุดคือ ป่าเต็งรัง รองลงมา
คือ ปา่ เบญจพรรณ กลา้ ไม้ (Seedling) ท่ีพบในแปลงสาํ รวจ มมี ากกว่า 76 ชนิด มีจํานวน 953,140,965 ต้น
ซึ่งเม่ือเรียงลาํ ดับจากจาํ นวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ แดง (Xylia xylocarpa) ลาย

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาตภิ เู ก้า-ภพู านคํา

(Microcos paniculata) รงั (Shorea siamensis) สม้ กบ (Hymenodictyon orixense) ชงิ ชนั (Dalbergia
oliveri) เตง็ (Shorea obtusa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) ติ้วขน (Cratoxylum formosum) และส้านใหญ่
(Dillenia obovata) ตามลําดับ โดยลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสํารวจมีมากกวา่ 49 ชนดิ มีจํานวน 2,035,544
ต้น เม่ือเรยี งลําดบั จากจํานวนต้นทีพ่ บมากสดุ ไปหานอ้ ยสดุ 10 อันดบั แรกคือ แดง (Xylia xylocarpa) เหมือดจี้
(Memecylon scutellatum) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) ตะเคียนหิน (Shorea obtusa)
ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) หวา้ (Syzygium cumini) เสลาเปลอื กบาง (Lagerstroemia
venusta) เขม็ ขาว (Bauhinia malabarica) เตง็ (Shorea obtusa) และสาธร (Millettia leucantha) ตามลาํ ดบั
ป่าทสี่ ํารวจพบจํานวนลูกไม้มากทส่ี ุด คอื ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าเตง็ รงั ไผท่ พี่ บทง้ั หมดมี 5 ชนดิ มีจํานวน
ลําท้ังหมด 25,044,068 ลํา ได้แก่ ไผ่บง (Bambusa nutans) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก
(Thyrsostachys siamensis) ไผ่โจด (Vietnamosasa ciliata) และ Bambusa sp. ซ่ึงพบได้ในป่าเต็งรัง
และป่าเบญจพรรณ ส่วนตอไมท้ ่ีสํารวจพบสว่ นใหญม่ ลี กั ษณะเปน็ ตอเก่า มีจํานวนทง้ั สิน้ 231,532 ตอ 5 ชนดิ
มีจํานวน 1.16 ตอต่อไร่ โดยชนิดป่าท่ีพบจาํ นวนตอมากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมาคือ ป่าเต็งรัง และ
ป่าดิบแลง้ ตามลําดับ

สว่ นผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู สงั คมพืช พบว่า ชนดิ ไมท้ ีม่ คี วามถี่ (Frequency) มากท่ีสุด คือ ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) รองลงมาคือ รัง (Shorea siamensis) ชนิดไม้ท่ีมีความหนาแน่น (Density)
มากทส่ี ุด คอื รัง (Shorea siamensis) รองลงมา คือ เหยี ง (Dipterocarpus obtusifolius) ชนิดไม้ทม่ี คี วามเดน่
(Dominance) มากท่ีสุด คือ รัง (Shorea siamensis) รองลงมา คือ เหียง (Dipterocarpus obtusifolius)
ชนิดไมท้ ่มี คี วามถสี่ มั พทั ธ์ (Relative Frequency) มากท่สี ดุ คอื ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา
คือ รงั (Shorea siamensis) ชนิดไมท้ ี่มีความหนาแนน่ สัมพัทธ์ (Relative Density) มากที่สดุ คอื รงั (Shorea
siamensis) รองลงมาคือ เหียง (Dipterocarpu sobtusifolius) ชนิดไม้ที่มีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative
Dominance) มากท่ีสุด คือ รัง (Shorea siamensis) รองลงมา คือ เหียง (Dipterocarpus obtusifolius)
ชนิดไมท้ ่ีมีคา่ ความสาํ คญั ทางนเิ วศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากทส่ี ุด คอื รงั (Shorea siamensis)
รองลงมา คือ เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) และข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า
คา่ ความหลากหลายของชนิดพนั ธ์ุไม้ (Species Diversity) ป่าเบญจพรรณมคี า่ เทา่ กบั 3.90 ป่าดบิ แล้งมีค่าเทา่ กบั
3.76 ป่าเต็งรังมีค่าเท่ากับ 3.69 ค่าความมากมายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Richness) ป่าเต็งรังมีค่าเท่ากับ
16.68 ป่าเบญจพรรณมีคา่ เทา่ กบั 12.93 ป่าดิบแลง้ มีคา่ เทา่ กับ 12.78 และค่าความสมาํ่ เสมอของชนิดพนั ธ์ุไม้
(Species Evenness) ป่าเบญจพรรณมคี ่าเท่ากบั 0.89 ปา่ ดิบแล้งมคี ่าเท่ากับ 0.87 ปา่ เตง็ รงั มคี ่าเท่ากบั 0.77

และผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดปา่ หรือทุกลักษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ พบว่า
มีไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จาํ นวน 15,192,469 ต้น ปริมาตร
494,447.91 ลูกบาศก์เมตร ไม้ท่ีมีขนาดความโต 45-100 เซนติเมตร จาํ นวน 6,396,945 ต้น ปริมาตร
1,474,190.96 ลูกบาศกเ์ มตร และไมท้ ม่ี ขี นาดความโตมากกว่า 100 เซนตเิ มตร จํานวน 599,090 ตน้ ปรมิ าตร

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภูพานคาํ

780,571 ลูกบาศก์เมตร รวมจํานวนต้นไม้ท้ังหมดเท่ากับ 22,188,504 ต้น และปริมาตรท้ังหมดเท่ากับ
2,749,209.87 ลกู บาศก์เมตร

จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธ์ุพืชในพื้นท่ีต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา อีกท้ังยังเป็น
แนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ
และแบบแผนเพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
ภเู ก้า–ภูพานคําตอ่ ไป

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภูพานคาํ

สารบญั I

สารบญั หนา้
สารบญั ภาพ I
สารบญั ตาราง II
คาํ นาํ III
วัตถุประสงค์ 1
เป้าหมายการดําเนนิ งาน 2
ข้อมูลทัว่ ไปอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภูพานคาํ 2
รปู แบบและวธิ ีการสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้ 3
การวิเคราะหข์ ้อมูลการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ 6
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรป่าไม้ 8

การวางแปลงตัวอยา่ ง 13
พื้นทปี่ า่ ไม้ 13
ปริมาณไม้ 14
ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ 20
ข้อมูลสังคมพชื 26
ข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ 35
สรปุ ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 39
ปัญหาและอปุ สรรค 40
ข้อเสนอแนะ 44
เอกสารอา้ งองิ 44
ภาคผนวก 45
46

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภพู านคํา

II

สารบญั ภาพ หน้า
5
ภาพที่ 6
1 ทิวทัศน์บริเวณรมิ เขื่อนอุบลรัตน์ 13
2 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 15
3 แผนทแี่ สดงขอบเขตและจดุ สาํ รวจของอุทยานแห่งชาติภเู กา้ -ภพู านคาํ 16
4 พ้ืนทป่ี า่ ไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินในอุทยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภพู านคํา 17
5 ลกั ษณะท่ัวไปของป่าเต็งรงั ในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภเู กา้ -ภูพานคาํ 18
6 ลกั ษณะทั่วไปของป่าเบญจพรรณพ้ืนท่ีอุทยานแหง่ ชาติภเู กา้ -ภูพานคาํ 19
7 ลักษณะทว่ั ไปของปา่ ดิบแลง้ ในพน้ื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคาํ 21
8 ลักษณะพืน้ ท่อี นื่ ๆ ในอทุ ยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคาํ 22
9 ปรมิ าณไม้ทง้ั หมดท่ีพบในพ้ืนท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภูพานคาํ 22
10 ปริมาตรไมท้ ง้ั หมดทีพ่ บในพนื้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภูพานคาํ 23
11 ความหนาแน่นต่อหน่วยพ้ืนทข่ี องต้นไมใ้ นพืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภูพานคํา 24
12 ปริมาตรไม้ต่อหนว่ ยพืน้ ทใ่ี นพ้นื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูเก้า-ภูพานคาํ 25
13 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในพื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภูพานคาํ
14 การจําแนกเรอื นยอดของตน้ ไม้ในพืน้ ท่ีอุทยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภพู านคํา

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูเกา้ -ภูพานคาํ

สารบญั ตาราง III

ตารางท่ี หนา้
7
1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มูลท่ีดาํ เนนิ การสํารวจ 14
2 พื้นที่ป่าไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดิน
20
ในอุทยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคํา (Area by Land use Type)
3 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไม้ตอ่ หนว่ ยพนื้ ทจ่ี าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ 21
23
ท่ดี นิ ในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูเกา้ -ภพู านคาํ 28
(Density and Volume per Area by Land use Type)
4 ปริมาณไม้ทงั้ หมดจาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน 29
ในอุทยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภพู านคาํ (Volume by Land use Type)
5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ง้ั หมดในอุทยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคาํ 30
6 ปริมาณไม้ทง้ั หมดของอุทยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภูพานคาํ
(30 ชนดิ แรกทีม่ ปี รมิ าตรไมส้ ูงสดุ ) 31
7 ปริมาณไมใ้ นปา่ เต็งรังของอทุ ยานแห่งชาติภูเกา้ -ภูพานคาํ 32
(30 ชนดิ แรกทม่ี ปี ริมาตรไม้สูงสุด) 33
8 ปริมาณไม้ในป่าเบญจพรรณของอุทยานแห่งชาตภิ เู ก้า-ภพู านคํา 34
(30 ชนิดแรกที่มีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 35
9 ปริมาณไมใ้ นปา่ ดบิ แลง้ ของอุทยานแห่งชาติภเู กา้ -ภพู านคํา 36
(30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ ูงสดุ )
10 ชนดิ และปริมาณไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ ที่พบในอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภพู านคํา 37

11 ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในอุทยานแห่งชาติภเู ก้า-ภพู านคํา 38
39
12 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภพู านคํา

13 ชนดิ และปริมาณของตอไม้ (Stump) ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคาํ
14 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเตง็ รงั

ในอุทยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภูพานคาํ
15 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณใน

อทุ ยานแห่งชาติภเู ก้า-ภพู านคํา
16 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้ง

ในอทุ ยานแห่งชาตภิ เู ก้า-ภูพานคาํ
17 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพันธ์ุไม้ในอุทยานแห่งชาติภเู ก้า-ภพู านคํา

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแหง่ ชาติภเู กา้ -ภพู านคํา

1

คาํ นาํ

ปัจจบุ นั ประเทศไทยมีพ้นื ที่ป่าไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพ้ืนท่ีประเทศ (ท่ีมา: หนังสือ
ข้อมูลสถิติอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช, 2552) ซึ่งพื้นท่ีดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่จะต้องดําเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ให้
สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างย่ังยืน จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพ
และศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพื้นที่ป่า
ไม้ โดยมีรูปแบบและวิธีการสํารวจแบบแปลงตัวอย่างถาวรรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร และสุ่มตัวอย่างแบบ
สม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นท่ีภาพถ่ายดาวเทียมท่ีมีการแปลสภาพว่าเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลง
ตวั อยา่ งมรี ะยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนที่ 2.5x2.5 กิโลเมตร เพื่อนําข้อมูลมาใช้ประกอบการพิจารณาใน
การดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ดังน้ันส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนา
พืน้ ท่ีอนรุ ักษ์ ดาํ เนินการสํารวจพ้นื ทปี่ า่ อนุรกั ษใ์ นเขตอุทยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคํา เพ่ือรวบรวมเป็นฐานข้อมูล
ในการดําเนินงานด้านทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอนุรักษ์ รวมทั้งใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนําไปเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการดําเนินการในภารกิจต่างๆ
ของกรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพนั ธพ์ุ ชื ต่อไป

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภูพานคํา

2

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกําลังผลิต และความ
หลากหลายของพชื พันธุ์ในพ้ืนท่อี ทุ ยานแห่งชาติภเู กา้ -ภพู านคาํ

2. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู อย่างเปน็ ระบบและแบบแผน

3. เพือ่ เป็นแนวทางในการวางระบบติดตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรปา่ ไม้ในพื้นท่ี
4. เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพอื่ ปลูกเสรมิ ปา่ ในแต่ละพื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติ

เปา้ หมายการดาํ เนินงาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่
อนรุ ักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ีสํารวจ
เป้าหมายในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา ในท้องท่ีอําเภอโนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู จํานวน 26 แปลง
และอยู่ในทอ้ งท่ีอําเภออบุ ลรัตน์ และอาํ เภอเขาสวนกวาง จังหวดั ขอนแก่น จาํ นวน 7 แปลง รวมทงั้ สนิ้ 33 แปลง

การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงที่ รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่
ตามทิศหลกั ทงั้ 4 ทศิ โดยจดุ ศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จํานวนท้ังส้นิ 33 แปลง และทําการเกบ็ ข้อมลู การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไมต้ ่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพ้ืนท่ีท่ีต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวัลย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ
และความหนาแนน่ ของหมู่ไม้ กาํ ลังผลติ ของปา่ ตลอดจนการสบื พนั ธต์ุ ามธรรมชาตขิ องหมไู่ ม้ในปา่ นั้น

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภูพานคาํ

3

ขอ้ มลู ท่ัวไปอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภพู านคํา

อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา เป็นพื้นที่ในบริเวณท่ีราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ตั้งอยู่ในบริเวณตอนล่างของจังหวัดหนองบัวลําภู และตอนบนของจังหวัดขอนแก่น สภาพธรณีเป็นภูเขาหิน
ทรายซึ่งมีช้ันของหินทรายอยู่ด้านบนระดับผิวดิน โดยมีชั้นของหินดินดาน หรือหินดินดานปนทรายเป็นฐาน
ด้านล่าง มีดินประเภทหินลูกรังและดินร่วนปนทรายกระจัดกระจายอยู่ท่ัวไปประกอบไปด้วยพันธุ์ไม้ สัตว์ป่า
ทิวทัศน์ที่สวยงามตามธรรมชาติ และสภาพป่าโดยทั่วไปเป็นป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา มีเน้ือท่ี
ประมาณ 318.36 ตารางกิโลเมตร หรือ 198,973 ไร่

ประวัตคิ วามเปน็ มา

แต่เดิมกรมป่าไม้ได้พิจารณากําหนดให้ป่าภูเก้าเป็นป่าโครงการไม้กระยาเลย เพ่ือใช้สอยตามหนังสือ
กรมปา่ ไมท้ ี่ กษ. 0703/38 ลงวันท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2513 ซ่ึงต่อมาป่าภูเก้าแห่งนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้ประกาศให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ “ป่าภูเก้า” ตามกฏกระทรวงฉบับที่ 490 (พ.ศ. 2515) ลงวันท่ี 20 ตุลาคม
พ.ศ. 2515 และเมือ่ วันท่ี 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 นายสพุ รรณ สุปญั ญา สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี
ได้มีหนังสือกราบเรียนต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ให้พิจารณาจัดป่าสงวนแห่งชาติภูเก้า ท้องที่จังหวัดอุดรธานี
เป็นอุทยานแหง่ ชาติ สาํ นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จึงมีหนังสือท่ี สร. 0107(งสส.)/3782 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2524 ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาเร่ืองน้ี ซึ่งรองอธิบดีกรมป่าไม้ (นายจํานงค์ โพธิสาโร)
ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมป่าไม้ มีบันทึกท้ายหนังสือกองอุทยานแห่งชาติท่ี กส.0708/1198 ลงวันท่ี 8
เมษายน พ.ศ. 2524 ให้ส่งเจ้าหน้าที่ไปสํารวจ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ จึงได้มีคําส่ัง 576/2524 ให้
นายวนิ ยั ชลารักษ์ เจา้ พนักงานป่าไม้ 4 ไปทาํ การสาํ รวจหาขอ้ มูลเบื้องต้น จากการสํารวจพบว่าป่าสงวนแห่งชาติ
ภูเกา้ ประกอบด้วย พันธ์ุไม้ สัตว์ป่า จุดเด่น มีทิวทัศน์ที่สวยงามตามธรรมชาติหลายแห่ง เหมาะสมท่ีจะจัดต้ังเป็น
อุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือรายงานการสํารวจเบื้องต้นท่ี กส. 0708(ภพ)/257 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2524
และทางสภาตําบลโนนสัง จังหวัดอุดรธานี ได้มีหนังสือลงวันท่ี 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 สนับสนุนให้ดําเนินการ
จัดต้ังพ้ืนท่ีดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ได้นําเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ
มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 2/2526 เมื่อวันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ให้กําหนดพ้ืนที่ดังกล่าวเป็นอุทยาน
แหง่ ชาตไิ ด้

ต่อมาอุทยานแห่งชาติภูเก้า (นายพิชา พิทยขจรวุฒิ) ได้มีหนังสือท่ี กษ. 0713(ภก)/8 ลงวันที่ 8
กุมภาพันธ์ 2527 ขอผนวกพ้ืนที่เทือกเขาภูพานคํา บริเวณด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเข่ือนอุบลรัตน์ ซึ่งมี
สภาพป่าเต็งรังค่อนข้างสมบูรณ์ และมีทิวทัศน์รอบอ่างเก็บนํ้าสวยงาม เข้าเป็นอุทยานแห่งชาติด้วย เพื่อให้เกิด
ประโยชนส์ มบรู ณ์ในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ซึง่ ไดม้ ีการดําเนินการประกาศพ้นื ท่ีดงั กล่าวเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ
โดยมีพระราชกฤษฎีกากําหนดบรเิ วณทีด่ ินป่าภูเก้าในท้องท่ตี ําบลหวั นา ตาํ บลนามะเฟือง อําเภอหนองบัวลําภู
ตาํ บลบา้ นถ่ิน ตําบลโคกมว่ ง ตําบลนคิ มพฒั นา ตําบลโนนเมอื ง ตาํ บลหนองเรอื อาํ เภอโนนสัง จังหวัดอุดรธานี
และทด่ี นิ ปา่ ภูพาน ในท้องที่ตําบลกุดคู่ ตําบลโนนสัง ตําบลบ้านค้อ ตําบลหนองเรือ ตําบลโคกใหญ่ อําเภอโนนสัง

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ เู ก้า-ภูพานคาํ

4

จังหวัดอุดรธานี และป่าโคกสูงป่าบ้านดง ในท้องที่ตําบลศรีสุขสําราญ ตําบลนาคํา ตําบลบ้านดง ตําบลเข่ือน
อบุ ลรตั น์ อําเภออุบลรัตน์ และตําบลหว้าทอง ตําบลทุ่งชมพู ตําบลนาหว้า อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็น
อุทยานแห่งชาติในปี พ.ศ. 2528 ซึ่งประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 102 ตอนท่ี 130 ลงวันที่ 20 กันยายน
พ.ศ. 2528 นับเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาตลิ าํ ดบั ที่ 52 ของประเทศ

หมายเหตุ ปจั จบุ ัน อ.โนนสงั แยกตวั มาเปน็ จังหวดั หนองบัวลาํ ภู ในปี พ.ศ. 2536

การเดนิ ทางและเสน้ ทางคมนาคม

การเดินทางไปสูอ่ ุทยานแหง่ ชาติภเู กา้ -ภูพานคํา สามารถใช้เส้นทางได้ 2 สาย คือ

1. จากจงั หวดั อุดรธานี ใชเ้ สน้ ทางสายอดุ รธานี โนนสัง ระยะทาง 85 กิโลเมตร แล้วแยกเข้าภูเก้าท่ี
บ้านกดุ คู่อกี 17 กิโลเมตร กจ็ ะถึงที่ทําการอุทยานแห่งชาตภิ เู ก้า ภูพานคํา ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากตัวเข่ือนอุบลรัตน์ 6
กิโลเมตร

2. จากจังหวัดขอนแก่น เดินทางไปยังเข่ือนอุบลรัตน์โดยใช้เส้นทางสายขอนแก่น อุบลรัตน์
ระยะทาง 50 กิโลเมตร และเดินทางต่อจากเข่ือนอุบลรัตน์ไปยังท่ีทําการอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา
ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร

ลักษณะภมู ปิ ระเทศ

ภูเก้า ประกอบด้วยภูเขา 9 ลูก คือ ภูฝาง ภูขุมปูน ภูหัน ภูเมย ภูค้อหม้อ ภูชั้น ภูเพราะ ภูลวก
และภูวัด ภูทั้ง 9 ลูกนี้มีความสลับซับซ้อนมาก มีสัณฐานคล้ายกะทะหงายโดยมีท่ีราบอยู่ตอนกลาง พ้ืนท่ีเช่นน้ี
ทําให้สันนิษฐานได้ว่า พื้นที่ส่วนนี้น่าจะเป็นซากภูเขาไฟโบราณท่ีดับสนิทไปแล้วหลายร้อยล้านปี หรือมิฉะน้ันก็
เป็นการโก่งตัวของเปลือกโลกในบริเวณนี้ข้ึนมาเป็นขอบ เทือกเขา เทือกเขาภูเก้าเป็นเทือกเขาสองชั้น ช้ันนอก
เป็นภเู ขาสูงและมคี วามลาดชัน มาก ไหลเ่ ขาด้านในมีความลาดชันไม่มากนัก พื้นท่ีส่วนใหญ่มีลักษณะสูงๆ ต่ําๆ
บางแห่งเป็นที่ราบ

ภูพานคํา เป็นแนวทิวเขายาวในเทือกเขาภูพาน เรียงตัวตามแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ตะวันตกเฉียงใต้ บริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเทือกเขาเป็นแอ่งท่ีราบตํ่าลุ่มน้ําพอง ซึ่งเป็นหุบเขาขนาดใหญ่
เมอื่ มีการสรา้ งเขอื่ นอุบลรัตน์ พื้นทด่ี งั กลา่ วนกี้ ลายเป็นทะเลสาบ ซึง่ เป็นพนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติ มีเนื้อท่ีประมาณ
คร่งึ หนง่ึ ของสว่ นภูพานคาํ สภาพปา่ เปน็ ปา่ เต็งรงั และป่าเบญจพรรณซ่ึงขนึ้ อยใู่ นพนื้ ดินปนหนิ

ลักษณะภูมอิ ากาศ
ฤดกู าลของอทุ ยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภพู านคํา แบ่งออกเปน็ 3 ฤดู คอื
ฤดรู ้อน ระหวา่ งเดอื นมีนาคม-เดือนพฤษภาคม อุณหภมู เิ ฉล่ยี จะร้อนจัดในเดอื นเมษายน
ฤดฝู น ระหวา่ งเดือนมถิ นุ ายน-เดือนตุลาคม ปรมิ าณนํา้ ฝนจะตกมากที่สุดในเดอื นกันยายน
ฤดหู นาว ระหว่างเดอื นพฤศจิกายน-เดอื นกมุ ภาพันธ์ อุณหภูมเิ ฉล่ยี ตํา่ สดุ ในเดือนมกราคม

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภพู านคํา

5

จุดเดน่ ทน่ี ่าสนใจ
อทุ ยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํามีจุดเดน่ ท่นี า่ สนใจในพ้ืนทแี่ ละพืน้ ทใี่ กลเ้ คียง ดังนี้
ทิวทัศน์ริมทะเลสาบเหนือเขื่อนอุบลรัตน์และเกาะแก่งต่าง ๆ มีอยู่ในอุทยานแห่งชาติท้ังหมด

เหมาะสําหรับการท่องเท่ียวทางน้ํา และพักแรม นักท่องเท่ียวยังสามารถเดินทางไปเที่ยวหมู่บ้านประมง
อาํ เภอโนนสัง จงั หวัดอุดรธานแี ละจะซื้อขายปลาได้ทอี่ ําเภออุบลรัตน์ จงั หวัดขอนแก่น แสดงดังภาพที่ 1

หลักฐานและร่องรอยของมนุษย์ยุคหิน ประวัติศาสตร์สันนิฐานกันว่า ร่องรอยที่ค้นพบมีอายุ
ประมาณไม่ต่ํากว่า 3,500 ปี ในยุคสมัยบ้านเชียง ซ่ึงสังคมมนุษย์ดํารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์เป็นอาหาร ปรากฏ
ภาพเขียนสีและภาพสลักบนผนงั ภายในถ้าํ เชน่ ถํา้ เสอื ตก ถํา้ พลาไฮ ถ้ําเจก๊ เป็นตน้

นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นท่ีสวยงามอีกหลายแห่ง เช่น หอสวรรค์ หินปราสาท นํ้าตกตาดฟ้า น้ําตกตา
หินแตก และจดุ ชมวิวทภี่ ขู อบด้านใต้ บริเวณวดั พระพุทธภเู ก้า ตาํ บลนิคมพัฒนา อาํ เภอโนนสัง จังหวดั อดุ รธานี

ภาพท่ี 1 ทิวทัศน์บริเวณรมิ เขอื่ นอุบลรัตน์

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภูพานคาํ

6

รูปแบบและวธิ ีการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ และสํานักบริหารพื้นที่
อนรุ กั ษต์ ่างๆ ในสงั กดั กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุ์พชื
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนที่ที่
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5 x 2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริด
แผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวต้ัง
และแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้ังสอง
แนวก็จะเป็นตําแหน่งท่ีต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เม่ือดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วย
ตัวอย่าง และตําแหน่งที่ตั้งของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างดังภาพท่ี 1 และรูปแบบของการ
วางแปลงตวั อย่างแสดงดังภาพท่ี 2 ตามลําดบั

ภาพที่ 2 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคํา

7

รูปร่างและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอยา่ ง (Sample Plot) ทีใ่ ช้ในการสาํ รวจมที ้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างชั่วคราว
เปน็ แปลงทมี่ ีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมรี ปู รา่ ง 2 ลักษณะดว้ ยกนั คือ

1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,

12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน

โดยจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยู่บนเสน้ รอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทง้ั 4 ทิศ

2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซ่ึงกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1
ไดจ้ ากการสุ่มตวั อยา่ ง

ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมลู ทท่ี าํ การสาํ รวจ

ขนาดของแปลงตัวอย่าง และข้อมูลที่ทาํ การสํารวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลท่ที าํ การสาํ รวจ

รัศมขี องวงกลม หรือ จํานวน พน้ื ทหี่ รือความยาว ขอ้ มูลทส่ี าํ รวจ
ความยาว (เมตร)
กลา้ ไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพื้นที่ของกล้าไม้
และลูกไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายท่ยี ังไม่เล้อื ย และตอไม้
ตน้ ไม้ และตรวจสอบปจั จัยทร่ี บกวน
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ พื้นทีป่ ่า
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ Coarse Woody Debris (CWD)
หวายเลื้อย และไมเ้ ถา ทีพ่ าดผ่าน
17.84 (เสน้ ตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภูพานคาํ

8

การวเิ คราะห์ข้อมลู การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้

1. การคาํ นวณเน้อื ทปี่ า่ และปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดของแตล่ ะพนื้ ทอี่ นุรกั ษ์
1.1 ใช้ขอ้ มูลพน้ื ทีอ่ นรุ กั ษ์จากแผนทแี่ นบท้ายกฤษฎีกาของแตล่ ะพืน้ ทีอ่ นุรักษ์
1.2 ใช้สดั ส่วนจาํ นวนแปลงตัวอย่างที่พบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างที่

วางแปลงท้งั หมดในแต่ละพน้ื ที่อนุรกั ษ์ ทอ่ี าจจะได้ขอ้ มลู จากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถา่ ยทางอากาศ มาคํานวณเปน็ เนื้อที่ปา่ แตล่ ะชนิดโดยนาํ แปลงตัวอยา่ งทว่ี างแผนไวม้ าคาํ นวณทุกแปลง

1.3 แปลงตัวอย่างท่ีไม่สามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนํามาคํานวณด้วย โดยทําการประเมินลักษณะ
พ้ืนท่วี า่ เปน็ หน้าผา นํา้ ตก หรอื พ้ืนทอ่ี ื่นๆ เพือ่ ประกอบลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ ิน

1.4 ปริมาณไม้ท้ังหมดของพื้นที่อนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมูลเน้ืท่ีอนุรักษ์จากแผนที่แนบ
ท้ายกฤษฎกี าของแต่ละพืน้ ท่อี นรุ กั ษ์ ซง่ึ บางพน้ื ที่อนรุ กั ษม์ ขี อ้ มลู เนื้อท่ีคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อ
การคาํ นวณปรมิ าณไมท้ ้ังหมด ทําใหก้ ารคํานวณปรมิ าณไมเ้ ป็นการประมาณเบอ้ื งต้น
2. การคาํ นวณปริมาตรไม้

สมการปริมาตรไมท้ ใ่ี ชใ้ นการประเมนิ การกักเก็บธาตุคารบ์ อนในพนื้ ที่ปา่ ไม้ แบบวิธี Volume based
approach โดยแบง่ กลุม่ ของชนดิ ไมเ้ ปน็ จํานวน 7 กลมุ่ ดังน้ี

2.1 กล่มุ ท่ี 1 ไดแ้ ก่ ยาง เตง็ รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขยี ว พะยอม
จนั ทน์กะพอ้ สนสองใบ

สมการท่ีได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลมุ่ ที่ 2 ไดแ้ ก่ กระพจี้ นั่ กระพีเ้ ขาควาย เก็ดดํา เกด็ แดง เก็ดขาว เถาวัลยเ์ ปรยี ง พะยูง
ชิงชัน กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื

สมการทไี่ ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลมุ่ ที่ 3 ได้แก่ รกฟา้ สมอพิเภก สมอไทย หกู วาง หกู ระจง ตนี นก ขอ้ี า้ ย กระบก ตะครํ้า
ตะคร้อ ตาเสอื ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลีย่ น มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบนู ตะบนั รัก ติ้ว
สะแกแสง ป่เู จา้ และไมส้ กุลสา้ น เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค

สมการทไี่ ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภพู านคํา

9

2.4 กลมุ่ ที่ 4 ไดแ้ ก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถนิ พมิ าน มะขามป่า หลมุ พอ
และสกลุ ขเ้ี หลก็

สมการท่ีได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลมุ่ ที่ 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เตมิ
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กล่มุ ที่ 6 ได้แก่ สัก ตนี นก ผา่ เส้ียน หมากเล็กหมากน้อย ไข่เนา่ กระจับเขา กาสามปีก สวอง
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ที่ 7 ได้แก่ ไมช้ นดิ อนื่ ๆ เช่น กุก๊ ขวา้ ว งวิ้ ป่า ทองหลางป่า มะมว่ งปา่ ซ้อ โมกมนั
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เปน็ ตน้
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)

R2 = 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คอื ปรมิ าตรสว่ นลําต้นเม่อื ตัดโคน่ ทคี่ วามสูงเหนอื ดิน (โคน) 10 เซนติเมตร

ถึงกิง่ แรกที่ทําเปน็ สนิ คา้ ได้ มหี น่วยเป็นลกู บาศกเ์ มตร
DBH มหี นว่ ยเป็นเซนติเมตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มลู ทัว่ ไป
ข้อมูลท่ัวไปที่นําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีต้ัง ตําแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทําการเก็บ
ขอ้ มลู ความสูงจากระดบั นํ้าทะเล และลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ เป็นต้น โดยขอ้ มูลเหลา่ นจี้ ะใช้ประกอบใน
การวิเคราะหป์ ระเมินผลรว่ มกับขอ้ มูลดา้ นอ่ืนๆ เพ่อื ตดิ ตามความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในการสํารวจทรัพยากร
ปา่ ไมค้ ร้งั ตอ่ ไป
4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลองค์ประกอบของหมูไ่ ม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปริมาตร
5. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภูพานคํา

10

6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไม้ไผ่ (จํานวนกอ และ จํานวนลํา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเสน้ ต้งั (จํานวนตน้ )

7. การวิเคราะหข์ ้อมลู สงั คมพชื

โดยมรี ายละเอยี ดการวเิ คราะหข์ อ้ มูลดงั น้ี

7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธุ์ท่ีศึกษาที่
ปรากฏในแปลงตวั อยา่ งต่อหน่วยพน้ื ท่ที ีท่ าํ การสาํ รวจ

D= จาํ นวนตน้ ของไม้ชนิดนน้ั ทั้งหมด
.

พืน้ ทแี่ ปลงตัวอยา่ งทง้ั หมดทีท่ าํ การสํารวจ

7.2 ความถี่ (Frequency: F) คือ อตั ราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีปรากฏพันธุ์ไม้ชนิด
น้นั ต่อจํานวนแปลงท่ที ําการสํารวจ

F = จาํ นวนแปลงตัวอยา่ งทพี่ บไมช้ นิดที่กาํ หนด X 100
จํานวนแปลงตัวอย่างทั้งหมดท่ที ําการสํารวจ

7.3 ความเด่น (Dominance: Do) ใช้ความเด่นดา้ นพ้ืนท่หี น้าตดั (Basal Area: BA)
หมายถงึ พืน้ ที่หน้าตัดของลําตน้ ของต้นไมท้ วี่ ัดระดับอก (1.30 เมตร) ต่อพื้นทที่ ่ีทาํ การสาํ รวจ

Do = พ้นื ทหี่ นา้ ตัดทง้ั หมดของไม้ชนิดทีก่ ําหนด X 100
พื้นท่แี ปลงตัวอย่างที่ทําการสาํ รวจ

7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density: RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่น
ของไม้ท่ตี อ้ งการต่อคา่ ความหนาแน่นของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ

RD = ความหนาแนน่ ของไม้ชนิดน้ัน X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ กุ ชนิด

7.5 ค่าความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency: RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของชนิดไม้ที่
ต้องการต่อคา่ ความถี่ท้ังหมดของไมท้ ุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ

RF = ความถ่ขี องไม้ชนดิ นน้ั X 100
ความถรี่ วมของไมท้ กุ ชนิด

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาตภิ ูเก้า-ภพู านคาํ

11

7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่นในรูป
พ้นื ทีห่ นา้ ตัดของไมช้ นดิ ทก่ี าํ หนดตอ่ ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ

RDo = ความเดน่ ของไม้ชนดิ น้ัน X 100
ความเด่นรวมของไมท้ กุ ชนิด

7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) คือ ผลรวมของค่าความสัมพัทธ์
ต่างๆ ของชนิดไม้ในสังคม ได้แก่ ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถ่ี และค่า
ความสัมพทั ธด์ ้านความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ

โดยทาํ การวิเคราะห์คา่ ต่างๆ ดังนี้

8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธ์ุท่ีปรากฏใน
สังคมและจํานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวธิ ีการของ Kreb (1972) ซึง่ มสี ูตรการคาํ นวณดงั ตอ่ ไปนี้

s

H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

โดย H คอื คา่ ดัชนคี วามหลากชนดิ ของชนิดพนั ธไ์ุ ม้
pi คือ สัดส่วนระหว่างจํานวนตน้ ไม้ชนิดท่ี i ต่อจํานวนตน้ ไม้ทง้ั หมด

S คือ จํานวนชนิดพนั ธ์ไุ มท้ ง้ั หมด

8.2 ความรํ่ารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนชนิดกับ
จํานวนต้นทั้งหมดท่ีทําการสํารวจ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มพ้ืนที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความรํ่ารวย ท่ีนิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คาํ นวณดังนี้

1) Margalef index (R1)

R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)
R2 = S/

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ุทยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภพู านคํา

12

เม่ือ S คอื จํานวนชนดิ ทั้งหมดในสงั คม
n คือ จาํ นวนต้นทงั้ หมดท่ีสาํ รวจพบ

8.3 ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีต้ังอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสมํา่ เสมอจะมคี ่ามากทส่ี ุดเมอื่ ทกุ ชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้กันมากในหมู่
นักนิเวศวิทยา คอื วธิ ขี อง Pielou (1975) ซง่ึ มสี ตู รการคํานวณดังนี้

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมื่อ H คอื คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คอื จํานวนชนดิ ทง้ั หมด (N0)
N1 คือ eH

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาติภูเกา้ -ภพู านคาํ

13

ผลการสาํ รวจและวิเคราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้

1. การวางแปลงตัวอย่าง
จากผลการดาํ เนินการวางแปลงสํารวจเพือ่ ประเมนิ สถานภาพและศักยภาพของทรพั ยากรปา่ ไม้ใน

พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภพู านคาํ จาํ นวน 33 แปลง แสดงดังภาพท่ี 3

ภาพท่ี 3 แผนทีแ่ สดงขอบเขตและจดุ สาํ รวจของอทุ ยานแหง่ ชาติภเู กา้ -ภพู านคํา

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเก้า-ภพู านคาํ

14

2. พน้ื ทปี่ ่าไม้

จากการสํารวจ พบว่า มีพื้นที่ป่าไม้จําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ 4 ประเภท ได้แก่
ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และพ้ืนที่อื่นๆ โดยป่าเต็งรังพบมากสุด มีพ้ืนที่ 164 ตารางกิโลเมตร
(102,501.24 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 51.52 ของพื้นท่ีท้ังหมด รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ มีพื้นท่ี 106.12
ตารางกโิ ลเมตร (66,324.33 ไร)่ คิดเปน็ ร้อยละ 33.33 ของพืน้ ทที่ งั้ หมด ปา่ ดบิ แล้งมพี ืน้ ที่ 38.59 ตารางกิโลเมตร
(24,117.94 ไร่) คดิ เป็นร้อยละ 12.12 ของพ้ืนทที่ งั้ หมด และ พ้นื ทอ่ี นื่ ๆ มพี น้ื ที่ 9.65 ตารางกิโลเมตร (6,029.48 ไร่)
คิดเป็นร้อยละ 3.03 ของพ้ืนที่ท้ังหมด รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 2 และภาพที่ 4 โดยลักษณะท่ัวไปของ
ป่าเต็งรังแสดงดังภาพท่ี 5 ลักษณะท่ัวไปของป่าเบญจพรรณแสดงดังภาพที่ 6 ลักษณะทั่วไปของป่าดิบแล้งแสดง
ดงั ภาพที่ 7 ลักษณะทวั่ ไปของพื้นทอ่ี ่นื ๆ แสดงดงั ภาพที่ 8

ตารางที่ 2 พ้ืนที่ป่าไมจ้ าํ แนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ในอทุ ยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคาํ

(Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ พ้นื ท่ี รอ้ ยละ

(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ของพน้ื ท่ีทั้งหมด

ป่าเตง็ รงั 164.00 102,501.24 16,400.20 51.52

(Dry Dipterocarp Forest)

ป่าเบญจพรรณ 106.12 66,324.33 10,611.89 33.33

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าดบิ แลง้ 38.59 24,117.94 3,858.87 12.12

(Dry Evergreen Forest)

พ้ืนทอี่ ื่นๆ 9.65 6,029.48 964.72 3.03

(Others)

รวม 318.36 198,973.00 31,835.68 100.00

หมายเหตุ : - การคาํ นวณพืน้ ที่ป่าไม้ของชนดิ ปา่ แตล่ ะชนดิ ใช้สดั สว่ นของขอ้ มูลที่พบจากการสาํ รวจภาคสนาม

- ร้อยละของพื้นทส่ี ํารวจคาํ นวณจากขอ้ มลู แปลงทีส่ ํารวจพบ ซ่งึ มีพืน้ ทด่ี ังตารางท่ี 1

- ร้อยละของพ้ืนทที่ ัง้ หมดคํานวณจากพนื้ ท่แี นบท้ายกฤษฎีกาของอทุ ยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภูพานคาํ ซ่ึงมพี ้นื ทีเ่ ทา่ กบั

318.36 ตารางกิโลเมตร หรือ 198,973.00 ไร่

- พน้ื ทอี่ ืน่ ๆ คอื สันเขอ่ื น

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภเู ก้า-ภพู านคํา

15

ภาพท่ี 4 พ้นื ทปี่ า่ ไม้จาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในอทุ ยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภพู านคํา

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภพู านคํา

16

ภาพท่ี 5 ลักษณะทวั่ ไปของป่าเตง็ รงั ในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาติภูเกา้ -ภพู านคาํ

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาติภูเกา้ -ภพู านคํา

17

ภาพท่ี 6 ลักษณะทั่วไปของป่าเบญจพรรณพ้นื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภพู านคาํ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคํา

18

ภาพท่ี 7 ลักษณะทั่วไปของปา่ ดบิ แลง้ ในพื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาติภเู กา้ -ภูพานคาํ

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภูพานคํา

19

ภาพท่ี 8 ลักษณะพนื้ ที่อน่ื ๆ ในอุทยานแห่งชาติภเู กา้ -ภูพานคํา

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภพู านคํา

20

3. ปรมิ าณไม้

จากการวิเคราะห์เก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร จํานวนทั้งส้ิน 33 แปลง พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์
ทด่ี ินที่สํารวจพบท้ัง 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่าเตง็ รัง ปา่ เบญจพรรณ ป่าดิบแล้งและพื้นที่อ่ืนๆ พบไม้ยืนต้นท่ีมีความ
สูงมากกว่า 1.30 เมตร และมขี นาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา่ หรือเท่ากับ 15 เซนตเิ มตรข้ึนไป มีมากกว่า
192 ชนิด รวมท้ังหมด 22,188,504 ต้น โดยจํานวนต้นในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพท่ี 9 ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด
2,749,214.97 ลูกบาศก์เมตร โดยปริมาณไม้ในป่าแต่ละชนิดแสดงดังภาพที่ 10 มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉล่ีย
118 ตน้ ต่อไร่ แสดงดังภาพท่ี 11 ปรมิ าตรไม้เฉล่ีย 13.92 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่แสดงดังภาพที่ 12 พบปริมาณไม้
มากสุดในป่าเต็งรัง จํานวน 14,075,229 ต้น รองลงมา คือป่าเบญจพรรณ พบจํานวน 4,572,761 ต้น สําหรับ
ปริมาตรไมพ้ บมากสุดในป่าเต็งรัง จํานวน 1,556,444.27 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ จํานวน
867,039.73 ลกู บาศกเ์ มตร รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 3 และ 4 ตามลําดับ

ตารางที่ 3 ความหนาแนน่ และปริมาตรไม้ตอ่ หนว่ ยพื้นทจ่ี ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดิน

ในอทุ ยานแห่งชาติภูเก้า-ภพู านคาํ

(Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ความหนาแน่น ปริมาตร

(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ต้น/เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์

ป่าเต็งรงั 137.32 882.35 15.18 94.90

(Dry Dipterocarp Forest)

ป่าเบญจพรรณ 146.80 955.00 13.51 84.41

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ ดบิ แล้ง 68.95 441.82 13.07 81.70

(Dry Evergreen Forest)

เฉล่ีย 117.69 759.72 13.92 87.01

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู ก้า-ภพู านคาํ

21

ตารางท่ี 4 ปรมิ าณไมท้ ั้งหมดจําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ในอทุ ยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภูพานคํา

(Volume by Landuse Type)

ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน ปรมิ าณไม้ทั้งหมด

(Landuse Type) จาํ นวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)

ป่าเตง็ รัง 14,075,229 1,556,444.27

(Dry Dipterocarp Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 4,572,761 867,039.73

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าดบิ แล้ง 3,540,513 325,730.96

(Dry Evergreen Forest)

พ้นื ท่อี นื่ ๆ --

(others)

รวม 22,188,504 2,749,214.97

ภาพท่ี 9 ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดที่พบในพนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติภูเกา้ -ภูพานคํา

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูเก้า-ภูพานคาํ

22

ภาพท่ี 10 ปรมิ าตรไม้ทัง้ หมดทพี่ บในพนื้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภพู านคาํ

ภาพที่ 11 ความหนาแน่นต่อหน่วยพนื้ ทขี่ องตน้ ไม้ในพน้ื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตภิ เู ก้า-ภพู านคํา

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูเกา้ -ภูพานคาํ

23

ภาพที่ 12 ปรมิ าตรไมต้ ่อหน่วยพน้ื ทีใ่ นพน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคํา

การกระจายขนาดความโตพบว่าที่ขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร มีจํานวนมากที่สุด คือ
15,192,469 ตน้ คดิ เปน็ ร้อยละ 68.47 ของไม้ทงั้ หมด แสดงดังตารางที่ 5 และภาพที่ 13

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ัง้ หมดในเขตอุทยานแหง่ ชาติภูเก้า-ภูพานคํา

ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไมท้ ้งั หมด (ต้น) ร้อยละ (%)

15 - 45 ซม. 15,192,469 68.47

>45 - 100 ซม. 6,396,946 28.83

>100 ซม. 599,090 2.70

รวม 22,188,505 100.00

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู ก้า-ภพู านคํา

24

ภาพท่ี 13 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติภเู กา้ -ภพู านคํา

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภพู านคํา

25

การจําแนกชนั้ เรอื นยอดของตน้ ไมใ้ นพืน้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภพู านคาํ พบวา่ เรือนยอดชนั้ กลาง
(intermediate) มมี ากทีส่ ุด ประมาณร้อยละ 39 มคี วามสงู ประมาณ 6-9 เมตร ไมใ้ นช้ันเรอื นยอดน้ี ไดแ้ ก่ แดง
(Xylia xylocarpa) เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) เรือนยอดชั้นไม้พุ่ม (suppresed) มี
ความสูงประมาณ 1.3-5 เมตร ไม้ในช้ันเรือนยอดนี้ ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) เหมือดจ้ี (Memecylon
scutellatum) หว้า (Syzygium cumini) เรือนยอดชั้นรอง (co-dominant) มีความสงู ประมาณ 10-13 เมตร
ไม้ในชนั้ เรือนยอดนี้ ไดแ้ ก่ รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia
duperreana) เรือนยอดเด่น (dominant) มีความสูงประมาณ 13 เมตรข้ึนไป ไม้ในช้ันเรือนยอดน้ี ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
รายละเอยี ดแสดงดังภาพที่ 14

ภาพท่ี 14 การจาํ แนกเรือนยอดของตน้ ไม้ในพน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู ก้า-ภพู านคํา

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแห่งชาติภเู กา้ -ภพู านคาํ

26

4. ชนิดพนั ธุ์ไม้

ชนิดพันธ์ุไม้ที่สาํ รวจพบในภาคสนาม จาํ แนกโดยใช้เจ้าหน้าท่ีผู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธ์ุไม้ ช่วย
จาํ แนกชนิดพันธ์ไุ ม้ทถี่ กู ตอ้ ง และบางคร้งั จําเปน็ ต้องใช้ราษฎรในพ้นื ทซ่ี ่ึงมีความรใู้ นชนิดพนั ธ์ไุ ม้ประจําถน่ิ ชว่ ย
ในการเกบ็ ขอ้ มลู และเกบ็ ตัวอย่างชนดิ พันธุ์ไม้ และสาํ นกั หอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพ์ุ ชื
ชว่ ยจําแนกช่ือทางการและช่ือวิทยาศาสตรท์ ีถ่ กู ตอ้ งอกี ครั้งหน่งึ โดยชนิดพันธไุ์ ม้ทพ่ี บท้ังหมดในพื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาติ
ภูเก้า-ภูพานคาํ มี 51วงศ์ มากกว่า 190 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 22,188,504 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม
2,749,214.97 ลูกบาศกเ์ มตร มีคา่ ความหนาแน่นเฉล่ยี 118 ตน้ ต่อไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉล่ยี 13.92 ลูกบาศกเ์ มตร
ต่อไร่ ชนดิ ไม้ทมี่ ปี ริมาตรไมม้ ากที่สดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ รัง (Shorea siamensis) เหยี ง (Dipterocarpus
obtusifolius) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
เต็ง (Shorea obtusa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) กระบก (Irvingia malayana) รักขาว (Semecarpus
cochinchinensis) แดง (Xylia xylocarpa) มะกอกเกลอ้ื น (Canarium subulatum) และรายละเอยี ดแสดง
ดังตารางที่ 6

ในปา่ เต็งรัง มีปรมิ าณไม้รวม 14,075,229 ต้น คดิ เป็นปริมาตรไม้รวม 1,556,444.27 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแน่นเฉลย่ี 137 ต้นต่อไร่ มปี ริมาตรไมเ้ ฉล่ีย 15.18 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มาก
ทส่ี ุด 10 อนั ดบั แรก ได้แก่ เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) รัง (Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtusa)
กระบก (Irvingia malayana) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รักขาว (Semecarpus cochinchinensis)
มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) หว้า (Syzygium cumini) และ
ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 7

ในปา่ เบญจพรรณ มปี รมิ าณไม้รวม 4,572,761 ต้น คิดเปน็ ปรมิ าตรไมร้ วม 867,039.73 ลกู บาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 147 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 13.51 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) ก่อแพะ (Quercus kerrii) กาสามปกี (Vitex peduncularis) ฉนวน (Dalbergia nigrescens)
มะค่าแต้ (Sindora siamensis) รัง (Shorea siamensis) มะกล่าํ ตาไก่ (Adenanthera microsperma)
ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) และงิ้วปา่ (Bombax anceps) รายละเอยี ดแสดงดังตารางที่ 8

ในป่าดิบแล้ง มปี รมิ าณไมร้ วม 3,540,513 ตน้ คดิ เปน็ ปริมาตรไมร้ วม 325,730.96 ลกู บาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 69 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 13.07 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากทสี่ ดุ 10 อนั ดบั แรก ได้แก่ มะค่าแต้ (Sindora siamensis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
อวบดาํ (Chionanthus ramiforus) Ficus sp. มะมุ่น (Elaeocarpus stipularis) กอ่ รวิ้ (Castanopsis costata)
ก้านเหลือง (Nauclea orientalis) นนทรี (Peltophorum pterocarpum) ชมพู่ป่า (Syzygium aqeum)
และพริกป่า (Tabernaemontana pauciflora) รายละเอยี ดแสดงดังตารางท่ี 9

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภพู านคาํ

27

สําหรับไม้ไผ่ ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา พบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 5 ชนิด ได้แก่ ไผ่บง
(Bambusa nutans) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่โจด
(Vietnamosasa ciliata) และBambusa sp. มปี รมิ าณไมไ้ ผ่จํานวน 2,681,915 กอ รวมทั้งสน้ิ 25,044,068 ลาํ
รายละเอยี ดแสดงดงั ตารางท่ี 10

ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ที่พบในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภูพานคํา มมี ากกวา่ 76 ชนิด รวมทัง้ สิน้
953,140,965 ตน้ มคี วามหนาแน่นของกลา้ ไม้ 4,940 ตน้ ตอ่ ไร่ โดยชนดิ ไมท้ มี่ ีปรมิ าณมากท่สี ดุ 10 อันดับแรก
ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) F.LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE (MIMOSOIDEAE) ลาย (Microcos
paniculata) รัง (Shorea siamensis) สม้ กบ (Hymenodictyon orixense) ชิงชนั (Dalbergia oliveri) เต็ง
(Shorea obtusa) มะคา่ แต้ (Sindora siamensis) ต้วิ ขน (Cratoxylum formosum) และ สา้ นใหญ่ (Dillenia
obovata) รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 11

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ทพ่ี บในอทุ ยานแห่งชาติภเู ก้า-ภพู านคาํ มีมากกวา่ 49 ชนดิ รวมทงั้ สน้ิ
2,035,554 ต้น มีความหนาแน่นของลูกไม้ 10.23 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) เหมือดจี้ (Lepisanthes rubiginosa) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum)
ตะเคียนหิน (Shorea obtusa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) หว้า (Cratoxylum
formosum) เสลาเปลือกบาง (Xylopia vielana) เสย้ี วเครือ (Xylia xylocarpa) เขม็ ขาว (Bauhinia malabarica)
และเตง็ (Shorea obtusa) รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี 12

ชนิดและปริมาณของตอไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา มีมากกว่า 5 ชนิด รวม
ทั้งสิ้น 231,532 ตอ มีความหนาแน่นของตอไม้ 1.16 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณตอมากที่สุด ได้แก่ แดง
(Xylia xylocarpa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) กอ่ หิน (Castanopsis piriformis) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) และเต็ง (Shorea obtusa) รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี 13

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภเู กา้ -ภูพานคาํ

28

ตารางที่ 6 ปรมิ าณไม้ท้ังหมดของอทุ ยานแห่งชาตภิ เู กา้ -ภพู านคาํ (30 ชนดิ แรกที่มปี ริมาตรไมส้ งู สดุ )

ลาํ ดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ต้น)
(ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 รัง Shorea siamensis 1,582,137 236,182.74 7.95 1.19
1,437,429 232,085.52 7.22 1.17
2 เหียง Dipterocarpus obtusifolius 1,109,425 181,902.07 5.58 0.91
168,051.63 5.62 0.84
3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1,119,072
155,638.77 6.69 0.78
4 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia 1,331,310 134,651.40 2.42 0.68
482,359 115,983.45 1.89 0.58
duperreana 376,240 81,843.58 2.47 0.41

5 เตง็ Shorea obtusa 492,006 68,262.83 7.18 0.34
65,792.91 3.15 0.33
6 มะค่าแต้ Sindora siamensis 1,427,782 51,497.71 0.78 0.26
627,066 47,609.78 3.15 0.24
7 กระบก Irvingia malayana 154,355 43,331.77 0.78 0.22
627,066 32,240.21 1.07 0.16
8 รกั ขาว Semecarpus 154,355 32,075.31 1.65 0.16
212,238 25,615.70 0.97 0.13
cochinchinensis 328,004 25,080.84 1.36 0.13
192,944 22,540.15 1.65 0.11
9 แดง Xylia xylocarpa 270,121
22,333.77 1.94 0.11
10 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 328,004 21,296.81 0.92 0.11
20,059.15 1.21 0.1
11 กาสามปกี Vitex peduncularis 385,887 15,596.41 0.78 0.08
183,296
12 หวา้ Syzygium cumini 241,179 12,033.21 1.41 0.06
9,195.68 0.82 0.05
13 ฉนวน Dalbergia nigrescens 154,355 8,584.58 1.41 0.04
6,733.18 0.97 0.03
14 ต้วิ ขาว Cratoxylum formosum 279,768 6,716.93 0.92 0.03
164,002 6,684.73 0.82 0.03
15 สาธร Millettia leucantha 279,768 4,239.15 1.12 0.02
192,944 3,917.22 1.55 0.02
16 รกั ใหญ่ Gluta usitata 183,296 891,437.78 44.27 3.51
164,002 2,749,214.97 117.69 13.92
17 สา้ นใบเล็ก Dillenia ovata 221,885
308,710
18 เหมอื ดดง Symplocos 7,177,499
22,188,504
cochinchinensis

19 รักขาว Holigarna albicans

20 กระพี้จ่นั Millettia brandisiana

21 ติ้วขน Cratoxylum formosum

22 ตว้ิ เกล้ียง Cratoxylum

cochinchinense

23 ชงโค Bauhinia purpurea

24 สมอไทย Terminalia chebula

25 เขลง Dialium cochinchinense

26 รกฟา้ Terminalia alata

27 มะม่วงหัวแมงวนั Buchanania lanzan

28 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum

29 มะหวด Lepisanthes rubiginosa

30 เหมอื ดจี้ Memecylon scutellatum

31 อ่ืนๆ Others

รวม

หมายเหตุ : มชี นิดพันธุ์ไม้ท่สี าํ รวจพบมากกวา่ 190 ชนิด

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติภเู ก้า-ภูพานคํา

29

ตารางท่ี 7 ปริมาณไมใ้ นป่าเตง็ รังของอุทยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภพู านคาํ (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ )

ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 เหียง Dipterocarpus obtusifolius 1,379,546 224,354.83 13.46 2.19
1,495,312 207,082.00 14.59 2.02
2 รัง Shorea siamensis 1,302,369 148,430.03 12.71 1.45
109,930.21 2.82 1.07
3 เต็ง Shorea obtusa 289,415 100,410.32 7.34 0.98
752,480 81,843.58 4.80 0.80
4 กระบก Irvingia malayana 492,006
55,564.49 5.65 0.54
5 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 578,831 52,752.82 3.29 0.51
337,651 41,988.28 4.61 0.41
6 รกั ขาว Semecarpus 472,712 38,285.21 2.07 0.37
212,238
cochinchinensis 30,281.00 7.15 0.30
733,185 30,144.19 1.88 0.29
7 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 192,944 26,879.98 0.38 0.26
38,589 25,615.70 1.88 0.25
8 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 192,944 25,080.84 2.64 0.24
270,121 22,333.77 3.76 0.22
9 หว้า Syzygium cumini 385,887 16,711.11 1.51 0.16
154,355 12,500.11 1.88 0.12
10 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia 192,944
12,098.93 0.56 0.12
duperreana 57,883 11,754.79 0.85 0.11
86,825 10,524.66 0.85 0.10
11 แดง Xylia xylocarpa 86,825 9,993.43 0.85 0.10
86,825 9,755.14 0.38 0.10
12 ต้วิ ขาว Cratoxylum formosum 38,589 9,195.68 1.60 0.09
164,002 8,753.74 0.28 0.09
13 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 28,942 8,666.02 0.85 0.08
86,825 7,580.77 1.32 0.07
14 รกั ใหญ่ Gluta usitata 135,060 7,426.71 0.38 0.07
38,589 7,198.18 0.28 0.07
15 สา้ นใบเลก็ Dillenia ovata 28,942 7,139.45 0.09 0.07
9,647 196,168.30 31.53 1.74
16 รักขาว Holigarna albicans 3,752,751

17 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum

18 เหมอื ดดง Symplocos

cochinchinensis

19 สกุณี Terminalia calamansanai

20 ผ่าเสยี้ น Vitex canescens

21 เป๋ือย Terminalia pedicellata

22 ยอป่า Morinda coreia

23 แหนนา Terminalia glaucifolia

24 สมอไทย Terminalia chebula

25 มะพอก Parinari anamense

26 กาสามปกี Vitex peduncularis

27 สาธร Millettia leucantha

28 ส้านใหญ่ Dillenia obovata

29 กระทมุ่ Anthocephalus chinensis

30 เชียด Cinnamomum iners

31 อื่นๆ Others

รวม 14,075,229 1,556,444.27 137.32 15.18

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธุ์ไมท้ ี่สาํ รวจพบมากกว่า 121 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภูเกา้ -ภูพานคํา

30

ตารางที่ 8 ปริมาณไม้ในปา่ เบญจพรรณของอุทยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภพู านคํา

(30 ชนิดแรกที่มปี รมิ าตรไม้สงู สุด)

ลําดบั ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 53,417 94,084.73 6.84
8,710 76,157.23 4.65 1.42
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 38,589 58,169.23 0.58 1.15
67,530 42,831.69 1.02 0.88
3 กอ่ แพะ Quercus kerrii 135,060 42,064.19 2.04 0.65
115,766 36,371.81 1.75 0.63
4 กาสามปีก Vitex peduncularis 86,825 29,100.73 1.31 0.55
9,647 26,297.23 0.15 0.44
5 ฉนวน Dalbergia nigrescens 38,589 25,194.87 0.58 0.40
144,708 24,683.41 2.18 0.38
6 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 183,296 24,342.01 2.76 0.37
86,825 24,258.31 1.31 0.37
7 รงั Shorea siamensis 7,177 23,513.90 1.16 0.37
7,530 21,882.32 1.02 0.35
8 มะกลา่ํ ตาไก่ Adenanthera microsperma 8,589 19,302.19 0.58 0.33
135,060 17,873.72 2.04 0.29
9 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 9,294 15,697.12 0.29 0.27
7,530 15,090.36 1.02 0.24
10 งิ้วป่า Bombax anceps 8,942 11,222.01 0.44 0.23
8,236 10,228.42 0.73 0.17
11 สาธร Millettia leucantha 7,177 10,141.14 1.16 0.15
6,472 9,992.54 1.45 0.15
12 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 212,238 9,474.27 3.20 0.15
28,942 8,943.53 0.44 0.14
13 ปอแดง Sterculia guttata 86,825 8,664.44 1.31 0.13
48,236 8,129.65 0.73 0.13
14 น้ําเกลีย้ ง Gluta laccifera 106,119 7,732.48 1.60 0.12
38,589 7,306.83 0.58 0.12
15 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 19,294 6,974.37 0.29 0.11
9,647 6,751.22 0.15 0.11
16 กระพีจ้ ่ัน Millettia brandisiana 144,563.80 25.60 0.10
2,847,903 867,039.73 146.80 2.18
17 เปอื๋ ย Terminalia pedicellata 4,572,761 13.51

18 ลาํ บดิ Diospyros ferrea

19 ตีนนก Vitex pinnata

20 มะกอกเกล้อื น Canarium subulatum

21 ยอปา่ Morinda coreia

22 แดง Xylia xylocarpa

23 ชงโค Bauhinia purpurea

24 ต้ิวเกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense

25 แสมสาร Senna garrettiana

26 ปรู๋ Alangium salviifolium

27 เหมือดดง Symplocos cochinchinensis

28 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius

29 เตง็ Shorea obtusa

30 อะราง Peltophorum dasyrachis

31 อนื่ ๆ others

รวม

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธไ์ุ มท้ สี่ าํ รวจพบมากกวา่ 80 ชนดิ

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พืน้ ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภูพานคํา

31

ตารางที่ 9 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดิบแลง้ ของอทุ ยานแห่งชาติภูเก้า-ภพู านคาํ (30 ชนิดแรกที่มปี ริมาตรไม้สูงสดุ )

ลาํ ดบั ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 มะค่าแต้ Sindora siamensis 28,942 45,526.77 1.20
453,417 35,681.69 18.80 1.89
2 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 9,647 23,287.93 0.40 1.48
57,883 13,990.04 2.40 0.97
3 อวบดาํ Chionanthus ramiforus 125,413 12,145.17 5.20 0.58
19,294 10,965.72 0.80 0.50
4 Ficus sp. Ficus sp. 8,942 10,867.73 1.20 0.45
7,530 2.80 0.45
5 มะม่นุ Elaeocarpus stipularis 44,708 9,599.14 6.00 0.40
48,236 8,209.56 2.00 0.34
6 กอ่ ร้ิว Castanopsis costata 6,764.12 0.28

7 ก้านเหลอื ง Nauclea orientalis

8 นนทรี Peltophorum pterocarpum

9 มะชมพ่ปู า่ Syzygium aqeum

10 พริกป่า Tabernaemontana

pauciflora

11 เขลง Dialium cochinchinense 83,296 6,583.58 7.60 0.27
8,942 6,343.80 1.20 0.26
12 มะปราง Bouea macrophylla 6,825 6,053.24 3.60 0.25
54,355 5,621.50 6.40 0.23
13 กระบก Irvingia malayana 9,647 5,525.13 0.40 0.23
8,236 5,334.52 2.00 0.22
14 หวา้ Syzygium cumini 8,942 5,153.68 1.20 0.21
6,825 4,764.23 3.60 0.20
15 ดงดาํ Alphonsea glabrifolia 21,885 4,239.15 9.20 0.18
7,883 3,792.57 2.40 0.16
16 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 9,647 3,596.42 0.40 0.15
8,942 3,534.35 1.20 0.15
17 มะดันป่า Garcinia fusca 8,589 3,445.88 1.60 0.14
9,294 3,332.91 0.80 0.14
18 หาด Artocarpus lacucha 44,708 3,310.27 6.00 0.14
9,647 3,178.52 0.40 0.13
19 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 8,236 3,070.37 2.00 0.13
8,236 3,020.34 2.00 0.13
20 คอแลน Nephelium hypoleucum 7,883 2,894.56 2.40 0.12
9,647 2,863.91 0.40 0.12
21 หางรอก Miliusa velutina 2,394,838 63,034.16 51.20 2.61
3,540,513 325,730.96 68.95 13.07
22 หงอนไก่ดง Harpullia cupanioides

23 แดงคลอง Syzygium syzygioides

24 สตั บรรณ Alstonia scholaris

25 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum

26 กระท้อน Sandoricum koetjape

27 ลาย Microcos paniculata

28 พญารากดาํ Diospyros variegata

29 พฤกษ์ Albizia lebbeck

30 สารภีปา่ Anneslea fragrans

31 อ่ืนๆ Others

รวม

หมายเหตุ : มชี นิดพันธุ์ไม้ทส่ี าํ รวจพบมากกวา่ 77 ชนดิ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภูพานคํา

32

ตารางท่ี 10 ชนดิ และปรมิ าณไม้ไผ่ หวาย และไม้กอ ท่ีพบในอทุ ยานแห่งชาติภูเกา้ -ภูพานคาํ

ลําดบั ชนดิ พนั ธุ์ไผ่ หวาย และไม้กอ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไมไ้ ผ่ทั้งหมด

จํานวนกอ จาํ นวนลํา

ไผ่

1 ไผบ่ ง Bambusa nutans 192,944 2,411,794

2 ไผ่ไร่ Gigantochloa albociliata 617,419 6,116,309

3 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 1,234,839 10,052,357

4 โจด Vietnamosasa ciliata 366,593 4,784,999

5 Bambusa sp. Bambusa sp. 270,121 1,678,609

รวมไผ่ 2,681,915 25,044,068

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภพู านคํา

33

ตารางที่ 11 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ท่พี บในอุทยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภพู านคํา

ลาํ ดบั ท่ี ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณกลา้ ไมท้ งั้ หมด
จํานวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร)่

1 แดง Xylia xylocarpa 61,741,925 320.00

2 F.LEGUMINOSAE- F.LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE 38,588,703 200.00
MIMOSOIDEAE

3 ลาย Microcos paniculata 34,729,833 180.00

4 รงั Shorea siamensis 34,729,833 180.00

5 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 32,800,398 170.00

6 ชิงชนั Dalbergia oliveri 25,082,657 130.00

7 เต็ง Shorea obtusa 25,082,657 130.00

8 มะค่าแต้ Sindora siamensis 25,082,657 130.00

9 ติ้วขน Cratoxylum formosum 23,153,222 120.00

10 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 23,153,222 120.00

11 F.ZINGIBERACEAE F.ZINGIBERACEAE 21,223,787 110.00

12 ละหุ่ง Ricinus communis 21,223,787 110.00

13 ปอแดง Sterculia guttata 19,294,352 100.00

14 สาธร Millettia leucantha 17,364,916 90.00

15 รักขาว Semecarpus cochinchinensis 17,364,916 90.00

16 ต้วิ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 17,364,916 90.00

17 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 13,506,046 70.00

18 มะกอกเกล้อื น Canarium subulatum 13,506,046 70.00

19 ฉนวน Dalbergia nigrescens 11,576,611 60.00

20 พลับพลา Microcos tomentosa 11,576,611 60.00

21 เหมอื ดจี้ Memecylon scutellatum 11,576,611 60.00

22 กระบก Irvingia malayana 9,647,176 50.00

23 กุก๊ Lannea coromandelica 9,647,176 50.00

24 สกณุ ี Terminalia calamansanai 9,647,176 50.00

25 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 7,717,741 40.00

26 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 7,717,741 40.00

27 กระพีจ้ ่นั Millettia brandisiana 7,717,741 40.00

28 สมอไทย Terminalia chebula 7,717,741 40.00

29 เขม็ ป่า Ixora cibdela 5,788,305 30.00

30 คอแลน Nephelium hypoleucum 5,788,305 30.00

31 อ่นื ๆ Others 382,028,157 1,980.00

รวม 953,140,965 4,940.00

หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธุ์กลา้ ไม้ท่สี าํ รวจพบมากกวา่ 76 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภพู านคํา

34

ตารางที่ 12 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ท่ีพบในอุทยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภูพานคํา

ลาํ ดบั ที่ ชื่อพันธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณลกู ไมท้ ้งั หมด
จาํ นวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ต้น/ไร)่

1 แดง Lagerstroemia duperreana 125,413 0.63

2 เหมอื ดจี้ Lepisanthes rubiginosa 86,825 0.44

3 มะกอกเกลอ้ื น Microcos tomentosa 67,530 0.34

4 ตะเคียนหิน Shorea obtusa 48,236 0.24

5 ตะแบกเปลือกบาง Croton roxburghii 48,236 0.24

6 หวา้ Cratoxylum formosum 48,236 0.24

7 เสลาเปลือกบาง Xylopia vielana 38,589 0.19

8 เสย้ี วเครอื Xylia xylocarpa 38,589 0.19

9 เข็มขาว Bauhinia malabarica 38,589 0.19

10 เตง็ Sindora siamensis 38,589 0.19

11 สาธร Millettia leucantha 28,942 0.15

12 มะคา่ แต้ Cananga latifolia 28,942 0.15

13 ติ้วขน Helicia nilagirica 28,942 0.15

14 รกั ขาว Paranephelium xestophyllum 28,942 0.15

15 สม้ กบ Bauhinia variegata 28,942 0.15

16 สมอไทย Syzygium aqueum 28,942 0.15

17 เหยี ง Pterospermum lanceaefolium 28,942 0.15

18 งว้ิ ป่า Bhesa robusta 19,294 0.10

19 สะแกแสง Helicia robusta 19,294 0.10

20 เหมอื ดดง Goniothalamus malayanus 19,294 0.10

21 F.LEGUMINOSAE- F.LEGUMINOSAE- 19,294 0.10

PAPILIONOIDEAE PAPILIONOIDEAE

22 กระบก Dalbergia oliveri 19,294 0.10

23 จําปีปา่ Styrax benzoides 19,294 0.10

24 รกฟ้า Antidesma ghaesembilla 19,294 0.10

25 รงั Gmelina elliptica 19,294 0.10

26 คอแลน Cratoxylum formosum 9,647 0.05

27 ชุมแสง Crypteronia paniculata 9,647 0.05

28 แดงคลอง Diospyros paniculata 9,647 0.05

29 ผักหวานแดง Sauropus bicolo 9,647 0.05

30 นนทรี Peltophorum pterocarpum 9,647 0.05

31 อ่ืนๆ Others 1,032,248 5.19

รวม 2,035,554 10.23

หมายเหตุ : มีชนิดพันธ์ุลูกไม้ทสี่ ํารวจพบมากกวา่ 49 ชนดิ

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาติภเู ก้า-ภพู านคาํ

35

ตารางท่ี 13 ชนดิ และปริมาณของตอไม้ (Stump) ที่พบในอุทยานแห่งชาติภเู กา้ -ภพู านคํา

ลําดับ ชนดิ พันธไุ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณตอไม้ทั้งหมด
จาํ นวน (ตอ) ความหนาแนน่ (ตอ/ไร)่

1 แดง Xylia xylocarpa 154,356 0.78

2 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 19,294 0.10

3 ก่อหิน Castanopsis piriformis 19,294 0.10

4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 19,294 0.10

5 เต็ง Shorea obtusa 19,294 0.10

รวม 231,532 1.16

หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุ์ทส่ี ํารวจพบ 5 ชนดิ

5. สงั คมพืช

จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคํา พบว่ามี
สังคมพืช 3 ประเภท คือ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง และจากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบ
ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถี่ (frequency) ความเด่น (Dominance) และดรรชนีความสําคัญ
ของพรรณไม้ (IVI) ดังน้ี

ในพื้นท่ีป่าเต็งรัง ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) เต็ง (Shorea obtusa) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) มะกอกเกลอ้ื น (Canarium subulatum) กระบก (Irvingia malayana) รกั ขาว (Semecarpus
cochinchinensis) แดง (Xylia xylocarpa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) และหว้า (Syzygium cumini)
ตามลําดับ รายละเอยี ดแสดงดังในตารางท่ี 14

ในพ้ืนท่ีป่าเบญจพรรณ ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาํ คัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สาธร
(Millettia leucantha) งิ้วป่า (Bombax anceps) ฉนวน (Dalbergia nigrescens) มะค่าแต้ (Sindora
siamensis) กาสามปีก (Vitex peduncularis) กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana) ชงโค (Bauhinia purpurea)
และทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) ตามลําดบั รายละเอียดแสดงดงั ในตารางที่ 15

ในพนื้ ท่ีป่าดิบแล้ง ชนิดไมท้ ม่ี คี า่ ดชั นีความสําคญั ของชนิดไม้ (IVI) สูงสดุ 10 อันดับแรก ไดแ้ กพ่ ฤกษ์
(Albizia lebbeck) ดงดํา (Alphonsea glabrifolia) สตั บรรณ (Alstonia scholaris) สารภีปา่ (Anneslea
fragrans) โลด (Aporosa villosa) หาด (Artocarpus lacucha) มะปราง (Bouea macrophylla) มะกา
(Bridelia ovata) ราชพฤกษ์ (Cassia javanica) และแสมสาร (Senna garrettiana) ตามลาํ ดับ รายละเอียด
แสดงดงั ในตารางที่ 16

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภูพานคาํ

ตารางที่ 14 ดชั นีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ขอ

ลําดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ความหนาแ

1 รงั Shorea siamensis

2 เหียง Dipterocarpus obtusifolius

3 เต็ง Shorea obtusa

4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus

5 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum

6 กระบก Irvingia malayana

7 รกั ขาว Semecarpus cochinchinensis

8 แดง Xylia xylocarpa

9 มะค่าแต้ Sindora siamensis
10 หว้า Syzygium cumini

11 แดง Xylia xylocarpa

12 ตวิ้ ขาว Cratoxylum formosum

13 ส้านใบเลก็ Dillenia ovata

14 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana
15 รกั ขาว Holigarna albicans

16 เหมือดจี้ Memecylon scutellatum

17 ติ้วขน Cratoxylum formosum

18 รกั ใหญ่ Gluta usitata

19 ยอปา่ Morinda coreia
20 มะมว่ งหวั แมงวนั Buchanania lanzan

21 อนื่ ๆ Others

รวม

36

องปา่ เต็งรังในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภพู านคาํ

แนน่ สมั พัทธ์ ความถ่สี ัมพทั ธ์ ความเด่นสมั พัทธ์ ค่าดชั นคี วามสําคญั
28.06
10.62 4.32 13.12 27.17
22.53
9.80 4.32 13.04 17.03
12.35
9.25 4.01 9.26 10.98
10.08
5.35 4.94 6.75 9.89
8.31
4.11 4.32 3.91 7.94
7.87
2.06 3.09 5.83 4.89
4.86
3.50 1.54 5.05 4.82
4.67
5.21 2.16 2.52 4.38
4.09
2.40 2.47 3.44 3.99
3.36 1.54 3.04 3.49
3.48
3.77 2.16 1.94 99.15
300.00
1.37 1.54 1.98

1.92 1.54 1.39

1.51 1.24 2.08
2.74 0.31 1.62

2.13 1.85 0.40

1.10 1.85 1.14

1.37 0.93 1.69

0.62 2.16 0.72

1.17 1.85 0.46

26.66 51.85 20.63

100.00 100.00 100.00

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภพู านคํา

ตารางที่ 15 ดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ขอ

ลาํ ดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ความหนาแน

1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana

2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus

3 สาธร Millettia leucantha

4 งิว้ ป่า Bombax anceps

5 ฉนวน Dalbergia nigrescens

6 มะคา่ แต้ Sindora siamensis

7 กาสามปกี Vitex peduncularis

8 กระพีจ้ ่ัน Millettia brandisiana

9 ชงโค Bauhinia purpurea
10 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans

11 รัง Shorea siamensis

12 ก่อแพะ Quercus kerrii

13 ส้มกบ Hymenodictyon orixense

14 แดง Xylia xylocarpa
15 ลาํ บิด Diospyros ferrea

16 ปอแดง Sterculia guttata

17 เหมือดดง Symplocos cochinchinensis

18 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata

19 นํา้ เกล้ยี ง Gluta laccifera
20 แสมสาร Senna garrettiana

21 อื่นๆ Others

รวม

37

องปา่ เบญจพรรณในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภพู านคํา

น่นสัมพัทธ์ ความถ่สี ัมพัทธ์ ความเดน่ สมั พัทธ์ คา่ ดชั นคี วามสําคญั
23.72
9.92 3.66 10.15 22.02
11.43
6.75 5.49 9.78 10.79
9.11
4.01 4.27 3.16 8.42
8.21
3.16 4.88 2.75 7.79
7.43
2.95 1.83 4.33 7.16
6.74
2.53 1.83 4.06 6.09
5.31
1.48 2.44 4.30 5.27
5.18
2.95 2.44 2.40 5.01
4.75
4.64 1.22 1.57 4.69
1.90 2.44 2.82 4.57
4.35
1.90 1.83 3.01 131.94
300.00
0.84 0.61 4.64

1.69 3.05 0.58

2.11 1.83 1.33
1.48 1.83 1.88

1.69 0.61 2.72

2.32 1.22 1.21

0.84 1.22 2.62

1.48 0.61 2.48

1.90 1.22 1.23

43.46 55.49 32.99

100.00 100.00 100.00

การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภเู ก้า-ภูพานคาํ

ตารางที่ 16 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ขอ

ลําดบั ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ความหนาแน

1 พฤกษ์ Albizia lebbeck

2 ดงดาํ Alphonsea glabrifolia

3 สัตบรรณ Alstonia scholaris

4 สารภปี ่า Anneslea fragrans

5 โลด Aporosa villosa

6 หาด Artocarpus lacucha

7 มะปราง Bouea macrophylla

8 มะกา Bridelia ovata

9 ราชพฤกษ์ Cassia javanica
10 แสมสาร Senna garrettiana

11 ก่อริ้ว Castanopsis costata

12 ก่อหนิ Castanopsis piriformis

13 ขา่ ตน้ Cinnamomum ilicioides

14 สะแกนา Combretum quadrangulare
15 ตว้ิ ขาว Cratoxylum formosum

16 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum

17 พะยูง Dalbergia cochinchinensis

18 กระพ้ีเขาควาย Dalbergia cultrata

19 เขลง Dialium cochinchinense
20 F-LEGUMINOSAE F-LEGUMINOSAE

21 อื่นๆ Others

รวม

38

องปา่ ดบิ แลง้ ในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูเก้า-ภูพานคํา

นน่ สัมพัทธ์ ความถี่สัมพทั ธ์ ความเด่นสมั พัทธ์ คา่ ดัชนคี วามสาํ คญั
3.48
1.63 1.01 0.83 2.81
2.62
0.27 1.01 1.53 2.17
2.78
0.54 1.01 1.07 7.39
4.78
0.27 1.01 0.89 2.55
1.39
1.36 1.01 0.40 1.42
4.45
2.45 3.03 1.91 1.52
1.62
0.82 2.02 1.94 2.14
2.28
1.09 1.01 0.45 2.27
3.75
0.27 1.01 0.11 2.42
0.27 1.01 0.14 9.93
1.37
0.54 1.01 2.89
236.86
0.27 1.01 0.24 300.00

0.27 1.01 0.34

0.82 1.01 0.31
0.54 1.01 0.73

1.09 1.01 0.17

1.09 2.02 0.64

0.54 1.01 0.87

5.18 2.02 2.73

0.27 1.01 0.08

80.38 74.75 81.73

100.00 100.00 100.00

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภเู กา้ -ภูพานคาํ

39

6. ความหลากหลายทางชีวภาพ

จากผลการสํารวจและวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าเบญจพรรณ มี
คา่ ความหลากหลายของชนดิ พนั ธ์ุ (Species Diversity) และคา่ ความสมํ่าเสมอของชนิดพันธุ์ (Species Evenness)
มากท่ีสุด คือ 3.90 และ 0.89 ตามลําดับ ส่วนป่าเต็งรัง มีค่าความมากมายของชนิดพันธ์ุ (Species Richness)
มากท่ีสดุ คือ 16.68 รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 17

ตารางท่ี 17 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธุไ์ ม้ในอุทยานแห่งชาตภิ เู ก้า-ภูพานคาํ

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดิน ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)

(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสมาํ่ เสมอ ความมากมาย

(Diversity) (Evenness) (Richness)

ป่าเต็งรงั 3.69 0.77 16.68

(Dry Dipterocarp Forest)

ป่าเบญจพรรณ 3.90 0.89 12.93

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ ดบิ แล้ง 3.76 0.87 12.78

(Dry Evergreen Forest)

อทุ ยานแห่งชาติภูเกา้ -ภพู านคํา 4.24 0.81 24.71

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภูพานคํา


Click to View FlipBook Version