เทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital literacy)
จัดทาํ โดย
นางสาวบุญยรตั น์ จอมแปง
เลขท่ี 9 สบจ.64.1
ครผู สู้ อน
นางสาวปรียา ปนั ธยิ ะ
แผนกวิชาการจักการสาํ นักงาน
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
แผนกวิชาการจักการสาํ นักงานวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาลาํ ปาง
สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษาลําปาง
กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เช่อื มโยงอาชีพโดยการคลอบคลมุ
ความสามารถ 4 มติ ิ
Digital literacy คืออะไร
ทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล หรือ หมายถงึ ทักษะในการนําเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และ
เทคโนโลยีดิจทิ ัลที่มีอยู่ในปจั จุบนั อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และส่ือ
ออนไลน์ มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบตั ิงาน และการทํางานร่วมกัน หรือใชเ้ พอ่ื พฒั นา
กระบวนการทาํ งาน หรือระบบงานในองคก์ รให้มคี วามทันสมัยและมีประสิทธภิ าพ
ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ
การใช้ (Use)
เขา้ ใจ (Understand)
การสร้าง (create)
เขา้ ถึง (Access) เทคโนโลยีดจิ ิทลั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ความหมาย ความสำคัญและผลกระทบของการรูด้ ิจิทัล (Digital Literacy)
‘การร’ู้ (Literacy) หมายถงึ ความสามารถอ่านและเขียนในภาษาทใี่ ช้รว่ มกนั ของวฒั นธรรม สว่ น
การรดู้ จิ ิทัล หมายถึง การอ่าน และ การเขยี นข้อความดิจิทลั เช่น สามารถ ‘อา่ น’ เว็บไซต์ โดยผ่านการ
เชือ่ มโยงหลายมติ ิ และ ‘การเขยี น’ โดยการอัพโหลดภาพถ่ายดจิ ทิ ัลเพื่อเวบ็ ไซตเ์ ครอื ขา่ ยสังคม ทกั ษะการ
ทำงานทจ่ี ําเป็นในการดำเนนิ การและการสอ่ื สาร ด้วยเทคโนโลยีและส่ือ
นอกจากนีย้ ังหมายถงึ ความรเู้ ก่ยี วกับ ความสำคัญของเทคโนโลยีและสอื่ ท่ีมผี ลกระทบ แตท่ สี่ ำคญั
กวา่ นั้น คอื ความสามารถท่จี ะวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความรู้ทมี่ อี ยู่ในเวบ็ ไซต์
๗.๑ (Digital Literacy)
การเรยี นการสอนและการเรียนรู้ ไมส่ ามารถตกี รอบอยใู่ นกจิ กรรมท่ีใช้กระดาษและปากกาเท่านัน้ ซง่ึ
หมายความว่าผู้เรียนและครูผ้สู อนจำเปน็ ต้องรสู้ ึกไดว้ า่ เทคโนโลยีสามารถนำมาใช้ในทุกวิชา และเขา้ ใจวา่
เทคโนโลยดี ังกล่าว สง่ ผลกระทบตอ่ สิ่งทร่ี ู้ในเรื่องตา่ งๆ เทคโนโลยกี ำลงั เปลี่ยนแปลงวธิ กี ารทีเ่ ราศึกษา
ค้นควา้ เชน่ ภมู ศิ าสตร์ ภาษาองั กฤษ และวทิ ยาศาสตร์ ระบบจพี ีเอส เร่ืองเลา่ ออนไลน์ แบบจำลองทางฟสิ ิกส์
และการใช้ทัศนภาพ โปรแกรมการทำแผนท่อี าจสง่ ผลกระทบตอ่ การเรียนภูมิศาสตร์การศึกษาวทิ ยาศาสตร์
อาจรับรู้วธิ ีการ โตต้ อบด้วยภาพ
การรดู้ จิ ทิ ัลในรายวชิ าตา่ งๆ ไม่จำเป็นตอ้ งนำมาซ่ึงการเปล่ียนแปลงการสอนอยา่ งส้ินเชิง ทักษะตา่ งๆ ที่
เปน็ ส่วนหนึ่งของการเปน็ ความร้แู บบดิจทิ ลั โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การตงั้ คำถามทส่ี ำคญั ทักษะของการศึกษาทม่ี ี
ประสทิ ธภิ าพและการวิเคราะหค์ วามผูกพนั ของผู้เรยี นกับเนอื้ หาวิชา จะยังคงชว่ ยให้ครูหาวิธีการสร้างสรรค์ ท่ี
มีประสิทธิภาพและมีสว่ นรว่ มในการจดั การเรียนรู้ตามหลกั สตู ร
การรดู้ ิจิทลั มีความหมายมากกวา่ ทักษะด้าน เทคโนโลยอี ย่างงา่ ย ความเข้าใจรวมถงึ ทกั ษะที่ซับซ้อน
มากขึน้ ขององคป์ ระกอบและการวิเคราะห์ ความสามารถ ในการสรา้ งความหลากหลายของเน้ือหาท่มี ีการใช้
เครอื่ งมอื ดจิ ทิ ลั ต่างๆ ทกั ษะและความรทู้ ่ีจะใชค้ วามหลากหลาย ของการใชง้ านซอฟต์แวร์ส่อื ดจิ ิทลั และ
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอื ถอื และเทคโนโลยี อนิ เทอร์เนต็ ความสามารถในการเข้าใจส่ือ
ดจิ ิทลั เนอ้ื หา การใช้งานและความรู้ความสามารถในการสรา้ งด้วย เทคโนโลยดี ิจิทลั
๗.๒ ร้ใู ช้ ร้เู ข้าใจ รสู้ รา้ งสรรค์
รูใ้ ช้ รูเ้ ข้าใจ รูส้ รา้ งสรรค์
เป็นคาํ ท่ีแสดงลักษณะความรู้สามารถดจิ ิทัล
ใช้ (Use) แสดงถงึ ความคล่องแคล่วทางเทคนิค ท่จี าํ เปน็ ในการใชก้ ับคอมพวิ เตอร์และอินเทอร์เน็ต
เขา้ ใจ (Understand) คอื ความสามารถท่จี ะเข้าใจบริบทที่เก่ียวขอ้ ง และประเมนิ สื่อดจิ ิทัล
สรา้ งสรรค์ (Create) ความสามารถในการสร้างเนอื้ หา และมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใชส้ ื่อดิจิทัล
ความสำคัญของการเรียนรดู้ ิจทิ ลั
เทคโนโลยใี หโ้ อกาสในการมีส่วนรว่ มในชนิดใหม่ของการเรียนรู้ ชุมชน สังคม และกจิ กรรมการทาํ งาน
ทกุ คนจะตอ้ งมคี วามรดู้ ิจิทัลเพอ่ื ใช้ประโยชนส์ งู สุด จากโอกาสเหลา่ น้ี หลกั ฐานทแี่ สดงให้เหน็ วา่ ในขณะที่
เยาวชนคนหนมุ่ สาว รสู้ ึกมน่ั ใจเก่ยี วกบั การใชเ้ ทคโนโลยนี ้ี ไม่ได้เป็นสง่ิ บง่ บอกถงึ สมรรถนะหรือความสามารถ
ทแี่ ทจ้ รงิ ในด้านทกั ษะการคดิ วจิ ารณญาณ เชน่ ความ ตระหนกั ถงึ กลยุทธ์ทางการค้าหรืออคติจากสื่อตา่ งๆ
ตลอดจนความปลอดภยั ในการใชง้ าน
นอกจากน้ีการเรยี นรู้ดจิ ิทลั จะมีผลสำคัญ ตอ่ สงั คมโดยรวม ตอ่ ความเสมอภาคในการเขา้ ถึงข้อมลู การ
บริการและการจ้างงาน การเข้ากลมุ่ ทางสงั คม และ โอกาสในการเรยี นร้เู พิ่มเติม ตลอดจนอาจสง่ ผลกระทบ
ต่อการขยายโอกาสทางธุรกิจ
การพัฒนาการเรียนรดู้ ิจิทลั เป็นเรอ่ื งเก่ียวกับ การเปลีย่ นแปลงธรรมชาตขิ องความรคู้ วามเขา้ ใจ ครูทุก
คนสามารถนาํ เสนอมมุ มองที่แตกต่างกนั ในเร่ืองวิธีการ ทเ่ี ทคโนโลยสี ามารถเพิ่มคณุ ค่าในการเรยี นของผเู้ รียน
นอกจากนี้ยังชว่ ยให้ออนไลน์อยา่ งปลอดภัยหากผู้เรยี น มีความสามารถในการตดั สนิ ใจทีเ่ หมาะสมและมี
ขอ้ มูล เกยี่ วกบั การใชเ้ ทคโนโลยที จ่ี ะสง่ ผลกระทบ ตอ่ การศึกษาตลอดชีวติ รวมถงึ ชวี ติ การทำงานในอนาคต
๗.๓ ความสำคัญของการเรยี นร้ดู ิจทิ ลั
ผลกระทบของการรดู้ จิ ทิ ลั
1) เม่ือไม่ใชว้ ิจารณญาณในการใช้ ก็จะทำให้เกดิ ปญั หาได้
2) การหาข้อมลู เปน็ เรื่องท่ีง่ายและสะดวกสบาย ดังนน้ั จึงอาจทำใหเ้ กิดการคน้ ควา้ ข้อมูลทเ่ี ป็นเท็จ
หากไม่วเิ คราะหห์ รือทำความเข้าใจใหด้ ี
3) การใชง้ านที่ง่ายและสะดวกสบาย อาจทำให้ติดนิสยั แลว้ ไมอ่ ยากทำอะไรท่ยี งุ่ ยาก
2. วิเคราะห์แนวทางและวธิ ีการใชอ้ ินเทอร์เน็ตเพ่ือเสรมิ สรา้ งสมรรถนะการเรยี นรู้
อนิ เทอร์เน็ตเป็นเครือขา่ ย ICT ที่เชื่อมโยง แผ่ขยายครอบคลุมท่ัวโลก เป็นทัง้ สง่ิ แวดลอ้ มและ เครื่องมือ
สำคัญในการพฒั นาผูเ้ รียนให้มีศกั ยภาพเปน็ พลโลก การประยกุ ต์ใช้อินเทอรเ์ น็ตเพือ่ การเรียน การสอน กระทำ
ไดส้ องลักษณะดงั นี้
1) แนวทางการประยุกตใ์ ช้อินเทอร์เนต็ ในด้านของนักเรียน
- การศกึ ษาค้นควา้ เป็นเครอื่ งมอื ในการสบื คน้ ศึกษาวิจัยและจัดทํารายงาน
- กจิ กรรมเชิงปฏิสมั พันธ์ กิจกรรมแบบโต้ตอบระหว่างเว็บไซตก์ บั ผใู้ ช้ เช่น บทเรียนและแบบทดสอบ
ออนไลน์ เปน็ ต้น
- โครงงานบนเว็บ การจัดทำโครงงานในชนั้ เรียนท้ังระยะสัน้ และระยะยาวเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต
- การสรา้ งสรรคง์ าน นักเรียนท่ีเป็นรายบุคคล เปน็ กลมุ่ หรอื ครทู ด่ี ำเนนิ การร่วมกบั นักเรียนสามารถ
สร้างหรือ จดั ทำเน้ือหาสาระเปน็ เว็บไซตเ์ ผยแพร่แกส่ าธารณชนได้
๗.๔ แนวทางการประยุกตใ์ ชอ้ นิ เทอร์เนต็ ในด้านของนกั เรียน
2) แนวทางการประยุกต์ใชอ้ ินเทอร์เน็ตในด้านของครู
- การติดต่อสื่อสาร เพื่อการติดตอ่ ส่อื สารกับกล่มุ ครหู รอื ผู้เชย่ี วชาญในสาขาวชิ าการที่ เกี่ยวกบั งานใน
หน้าท่หี รือตามความสนใจ
- การค้นคว้าวจิ ยั เปน็ เครอื่ งมือสบื ค้น คน้ คว้า วิจยั เพื่อการเตรยี มการสอน การจัดหาสอ่ื นวัตกรรม
การเรียนการสอน
- การสร้างงาน ครูสามารถใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตสร้างเวบ็ ไซต์ เพ่ือการจัดการเรียนการสอนของตนเอง และ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ เผยแพรผ่ ลงาน แนวคดิ กบั เพอื่ นร่วมวชิ าชพี และผสู้ นใจทว่ั ไป
๗.๕ แนวทางการประยกุ ตใ์ ช้อินเทอรเ์ น็ตในดา้ นของครู
ทกั ษะอะไรบ้างทเี่ ราควรจะมีไปพรอ้ มกับการรู้ดจิ ิทลั
การท่เี ราจะเป็นพลเมืองทส่ี มบูรณ์ในยุค Thailand 4.0 นอกจากการรดู้ ิจทิ ลั อาจจะไมเ่ พียงพอตอ่
การท่เี ราเข้าไปเปน็ สว่ นหนง่ึ ในเทคโนโลยี แต่ยังจะต้องมีอีก 6 ทักษะทจี่ ะมาชว่ ยใหเ้ ราใชช้ วี ิตบนโลกสังคม
ออนไลน์ อย่างกบั กรู ูผเู้ ชี่ยวชาญได้เลย
๑. การรู้ส่ือ (Media Literacy) จะทำให้เรามีความสามารถในการเข้าถงึ วิเคราะหแ์ ละผลติ ส่ือ
ตา่ งๆเพ่ือถา่ ยทอดความคิดของเรา แตท่ ั้งนเี้ ราจะตอ้ งตระหนักถงึ ผลกระทบตา่ งๆ ท่ีอาจเกดิ ข้ึนและตามมาได้
หากใช้สื่อแบบผิดวธิ ี ดงั นน้ั การเข้าใจประเดน็ ทางจริยธรรมและทางกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกับการเขา้ ถึงและการ
ใชส้ ่ือจงึ เป็นเรื่องพนื้ ฐานท่ีควรจะศึกษาไวใ้ หด้ ี
๒. การรเู้ ทคโนโลยี (Technology Literacy) ทำใหเ้ กดิ ความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ
ตงั้ แต่ขน้ั พนื้ ฐานไปจนถึงทักษะที่มีความซับซ้อนเพือ่ ต่อยอดและไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
๓. การรสู้ ารสนเทศ (Information Literacy) ทกั ษะนี้คือเรื่องสำคัญมากสำหรับคนที่ชอบหา
คําตอบจากโลกออนไลน์ เพราะจะทำใหเ้ รารจู้ ักคิดวิเคราะห์ถึงแหลง่ ทีม่ าของเนื้อหากลั่นกรองข้อมูลได้อยา่ ง
ถกู ต้องแมน่ ยํา
7.6 ทกั ษะอะไรบ้างท่ีเราควรจะมีไปพร้อมกบั การรดู้ จิ ิทัล
๔. การรเู้ กี่ยวกับสง่ิ ทเี่ ห็น (Visual Literacy) ความสามารถในการใชส้ ่งิ ท่ีเห็นในการทำงานและ
ดำเนินชีวติ ประจวนั ผา่ นการคดิ วิเคราะห์เรยี นรู้และตดั สินใจจากประสบการณ์ได้
๕. การรกู้ ารสอื่ สาร (Communication Literacy) รจู้ ักใชแ้ หล่งขอ้ มูลตา่ งๆ มาส่ือสารในการ
ทงานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้อยา่ งดี เหมาะสมกบั กาลเทศะ ร้วู ่าอะไรควรโพสตห์ รอื อะไรที่ไมค่ วรทำในโลกออนไลน์
และใช้แลกเปลยี่ นความรู้ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ
๖. การรู้สังคม (Social Literacy) ทกั ษะสำหรับการทำงานทม่ี ี Connection เครือข่ายทางสงั คม
เพอ่ื รวบรวมความรู้ มีความสามารถในการสือ่ สาร และแยกแยะไดห้ ากมีความขัดแย้งของข้อมลู
แบรนดต์ ้องส่ือสารคุณคา่ ของสินคา้ หรือบริการ ทม่ี าเบื้องหลงั ของคุณค่าเหล่านัน้ ความโดดเด่นและ
แตกตา่ งเพื่อให้ตรงกับความต้องรบั รู้ของผ้ซู ้ือ ในด้านความคดิ ความร้สู กึ และความพึงพอใจ แบรนดต์ อ้ ง
ส่อื สารบุคลกิ แนวคิด ตัวตน การแสดงความรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ สังคมในดา้ นตา่ งๆ ท่เี หมาะสม
ทกั ษะดังกล่าวครอบคลมุ ความสามารถ 4 มิติ
· การใช้ (Use)
· เขา้ ใจ (Understand)
· การสรา้ ง (create)
· เขา้ ถงึ (Access) เทคโนโลยดี จิ ิทลั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
การใช้ (Use) หมายถึง ความคลอ่ งแคล่วทางเทคนคิ ทจ่ี ำเปน็ ในการใช้คอมพวิ เตอร์และอินเทอร์เนต็
ทกั ษะและความสามารถทีเ่ ก่ียวข้องกบั คำว่า “ใช้” ครอบคลมุ ตัง้ แตเ่ ทคนิคข้ันพ้นื ฐาน คือ การใชโ้ ปรแกรม
คอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมประมวลผลคำ (Word processor) เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) อีเมล และ
เครือ่ งมอื สื่อสารอืน่ ๆ สู่เทคนิคขนั้ สงู ขึน้ สำหรบั การเข้าถึงและการใช้ความรู้ เช่น โปรแกรมที่ช่วยในการสบื คน้
ข้อมูล หรอื เสิรช์ เอนจิน (Search engine) และฐานข้อมลู ออนไลน์ รวมถึงเทคโนโลยีอบุ ัตใิ หม่ เชน่ Cloud
computing
เข้าใจ (Understand) คือ ชุดของทักษะทีจ่ ะช่วยผู้เรยี นเขา้ ใจบริบทและประเมินสื่อดิจทิ ลั เพอื่ ให้
สามารถตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั อะไรท่ีทำและพบบนโลกออนไลน์ จดั วา่ เปน็ ทักษะทส่ี ำคัญและท่จี ำเป็นที่จะต้องเร่ิม
สอนเด็กให้เรว็ ทสี่ ุดเทา่ ที่พวกเค้าเข้าสโู่ ลกออนไลน์เขา้ ใจยังรวมถึงการตระหนกั ว่าเทคโนโลยเี ครือขา่ ยมี
ผลกระทบต่อพฤติกรรมและมุมมองของผเู้ รยี นอยา่ งไรมีผลกระทบตอ่ ความเชื่อและความร้สู กึ เกีย่ วกบั โลก
รอบตัวผเู้ รียนอย่างไร เข้าใจยังช่วยเตรียมผู้เรียนสำหรับเศรษฐกจิ ฐานความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนาทักษะการจัดการ
สารสนเทศเพ่ือค้นหา ประเมิน และใชส้ ารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพเพื่อติดต่อส่ือสาร ประสานงานรว่ มมือ
และแก้ไขปัญหา
การสรา้ ง (Create) คือ ความสามารถในการผลติ เนือ้ หาและการส่ือสารอย่างมีประสิทธภิ าพผา่ น
เคร่ืองมือส่ือดิจทิ ลั ท่ีหลากหลาย การสร้างด้วยส่อื ดิจทิ ัลเป็นมากกวา่ แค่การร้วู ธิ ีการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคำ
หรอื การเขียนอเี มลแต่มนั ยงั รวมความสามารถในการดดั แปลงส่งิ ที่ผู้เรียนสร้างสำหรบั บรบิ ทและผชู้ มท่ีแตกตา่ ง
และหลากหลาย ความสามารถในการสรา้ งและสอื่ สารด้วยการใช้ Rich media เชน่ ภาพ วดิ ีโอ และเสยี ง
ตลอดจนความสามารถในการมสี ่วนรว่ มกบั Web 2.0 อยา่ งมีประสิทธิภาพและรบั ผดิ ชอบ เชน่ Blog การแชร์
ภาพและวิดีโอ และ Social media รปู แบบอื่นๆ
สงิ่ สำคญั คือ การพัฒนาการรู้ดิจิทลั คอื กระบวนการการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ทกั ษะเฉพาะทมี่ ีความ
จำเปน็ สำหรับการรดู้ จิ ิทลั จะแตกต่างจากคนหนึ่งถงึ อีกคนหน่ึงโดยข้ึนอยู่กับความต้องการและสถานการณ์ของ
ผู้เรยี น ซึ่งอาจครอบคลมุ ตั้งแต่การรบั ร้ขู ั้นพ้ืนฐานและการฝึกอบรมสู่การประยุกตใ์ ชง้ านท่มี ีความยงุ่ ยากและ
ซับซอ้ นยิ่งขึ้น นอกจากน้ีการรู้ดจิ ิทัลกนิ ความมากกว่าแค่การร้เู ก่ยี วกับเทคโนโลยี แต่มันยังครอบคลุมถึง
ประเดน็ ตา่ งๆ เกย่ี วกบั จริยธรรม สงั คม และการสะท้อน (Reflection) ซง่ึ ฝั่งอยใู่ นการทำงาน การเรียนรู้ การ
พกั ผ่อน และชีวิตประจำวัน
แหลง่ ท่ีมา
https://sites.google.com/a/rajsima.ac.th/techono4/
https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp