E-book
ต้นไม้แห่งศักดิ์ศรี 50 ปี สาธิตเกษตร
ไ ท ร ย้ อ ย ใ บ ทู่
ต้นไม้เคียงคู่สาธิตเกษตร
จัดทำโดย ด.ช.ภีมณัช ทักษ์ธนโชติ ป.4/7 เลขที่ 26
เกร็ดเล็ก เกร็ดน้อย
คลิกวีดีทัศน์ ไทรย้อยใบทู่
ถิ่นกำเนิด
พบที่ปากีสถาน อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้
ญี่ปุ่น ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย ในไทยทั่วทุกภาค ขึ้น
ตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าเบญจพรรณ ป่า
เสื่อมโทรมชายทะเล หรือเขาหินปูน ความสูงถึง
ประมาณ 1100 เมตร
ลักษณะทางพฤษศาสตร์
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Ficus microcarpa
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ชื่อพื้นเมือง : ไทรกร่าง,ไทรย้อยใบทู่,ไฮฮี
ลำต้น : ลักษณะเนื้อไม้เปลือกสีน้ำตาล
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับหรือรูปไข่แกมรูปรี โคน
ใบกลม ปลายใบแหลม เนื้อใบหนา สีเขียวเป็นมัน
ดอก : ดอกช่อ ช่อย่อยเป็นแบบดอกมะเดื่อ รูปค่อน
ข้างกลมหรือรูปไข่ ดอกขนาดเล็ก ออกเป็นคู่จากข้าง
กิ่ง ไม่มีกลีบดอกเมื่อติดผล
ผล : ทรงกลม ไม่มีก้านผล ผลออกเป็นคู่ติดกันอยู่
ตรงซอกใบ ผลมีสีเขียวอ่อน แก่เป็นสีเหลือง
การใช้ประโยชน์และความสำคัญ
รากอากาศใช้ต้มดื่มขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา แก้นิ่ว บำรุงน้ำนม
รากสมานลำไส้ แก้ท้องเสีย
ที่มา ไทรย้อยใบทู่ – “ป่านิเวศ” สวนเฉลิมพระเกียรติฯ (เรือนแพ) เทศบาลนครพิษณุโลก
(phsmun.go.th)