The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติโดยย่อของวัดเทพสุนทรินทร์ อ.สอง จ.แพร่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pipope2562, 2019-12-24 00:30:25

ประวัติโดยสังเขปวัดเทพสุนทรินทร์

ประวัติโดยย่อของวัดเทพสุนทรินทร์ อ.สอง จ.แพร่

ประวตั โิ ดยสังเขปของวัดเทพสุนทรนิ ทร์

จดั ทาขนึ้ เพ่อื รวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกับประวตั ิความเปน็ มาของวดั เทพสุ
นทรนิ ทรจ์ ากอดีตถึงปัจจุบัน รวมทัง้ ศาสนสมบตั ิโบราณวัตถุ อาคาร
สถานท่ี ตลอดจนประวัตเิ ก่ยี วกบั บุคคล จากบันทึก จากคาบอกเลา่ ท่ี
เชือ่ ถือได้ และจากวัตถทุ ย่ี งั ปรากฎ เพอ่ื ให้อนุชนร่นุ หลังมีหลกั ฐาน
และเรอ่ื งราวท่ีบอกเล่าตอ่ กนั มา อกี ทั้งสร้างความภูมใิ จใหท้ กุ คนที่มี

สว่ นในการสบื สานพระพุทธศาสนาให้ยาวนานตลอดไป

คน้ ควา้ เพอื่ สบื สานโดย
พภิ พ เรอื งวิทยากูล

สารบัญ

คานา
จากวดั เสี้ยวมาเป็นวดั เทพสนุ ทรนิ ทร์
สิ่งที่บํงบอกอายุของวัดเทพสุนทรินทร์

- คาภีร์ใบลานเกําแกํ
- พระประธาน โบราณวตั ถุลา้ คาํ ทีม่ ีอายุยาวนาน
- จารกึ บนแทงํ ปนู
- ตน๎ ดอกไม๎โบราณ
- ซากอฐิ โบราณ
- รางนา้ โบราณ
- พระพุทธรปู เกาํ แกไํ มํทราบอายุ
- บันทึกรายนามอดีตเจ๎าอาวาส
สภาพโดยท่วั ไปของวดั เทพสุนทรินทร์ปจั จบุ ัน

คานา

วัดเทพสุนทรนิ ทรเ์ ปน็ วัดเกาํ แกํแหงํ หนึง่ ในอาเภอสอง จังหวัดแพรํ มีประวัติความ
เปน็ มาท่ยี าวนานหลายชั่วอายุคน เป็นปูชนียสถานอันศักสิทธ์ิที่มีกาลังศรัทธาจาก ๒
หมํูบา๎ น คอื บ๎านเทพฯหมํทู ่ี ๖ และหมํทู ่ี ๗ มาปฏิบัติศาสนกิจอยํางสม่าเสมอและเหนียว
แนํน และจากการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมท่ีเกดิ ขนึ้ ตลอดเวลาจงึ ทาใหเ๎ กิดการเปลี่ยนแปลง
ขนึ้ กับวดั อยํางไมํอาจปฏเิ สธได๎ ทงั้ บคุ คล วัตถุ รูปแบบ ขนบ ประเพณี พิธีกรรมหลายๆ
อยําง บางคร้งั การบันทึกหรอื การเกบ็ รวบรวมหลกั ฐานการเปล่ียนแปลงเหลําน้ันอาจถูก
ละเลย หรือไมเํ หน็ ความสาคัญ ทาให๎ขาดความตํอเนอ่ื งของประวตั คิ วามเปน็ มา

คณะกรรมการจดั ทาประวัติโดยสังเขปของวัดเทพสุนทรินทร์ได๎ตระหนักและเห็น
ความสาคญั ของปัญหาน้ี จงึ ใช๎ความพยายามรวบรวมข๎อมูลทกุ อยาํ ง เพ่ือเติมเต็มบางชํวง
บางตอนท่ีอาจขาดความตอํ เนอ่ื ง และหวังวาํ จะทาให๎เกดิ ความเช่ือมโยงอดีตมาถึงปัจจุบัน
ไดต๎ ามสมควรและเพื่อให๎สามารถเชอ่ื มโยงไปสูํอนาคตได๎โดยสะดวกตอํ ไป

จากวดั เสีย้ วมาเปน็ วัดเทพสุนทรนิ ทร์

วดั เทพสนุ ทรินทรเ์ ปน็ วัดเกําแกวํ ัดหนึ่งท่ีมีหลักฐานปรากฎชัดเจน ท้ังจากคา
บอกเลาํ ตอํ กนั มาหลายชั่วอายคุ น อีกท้ังยังมีหลักฐานในธรรมใบลาน จากโบราณ วัตถุ
มากมาย รวมทั้งเอกสารทางราชการเรื่องการพระราชทานวิสุงคามสีมา เป็นต๎น จาก
ชวํ งเวลาอนั ยาวนาน อาจมกี ารเปลีย่ นแปลงมากมาย จนทาให๎ภาพในอดีตเหลํานั้นเลือน
หายไปจากความทรงจาของคนรนุํ หลัง การวิเคราะห์จากข๎อมลู ทห่ี ลงเหลืออยูํและนาเสนอ
ตํอไปนคี้ งจะชํวยทาให๎ภาพในอดตี เหลาํ น้นั กลบั คืนมาบ๎าง

กอํ นอน่ื เรามาพดู ถึงสภาพของภมู วิ ัฒนธรรมอนั เป็นที่ต้งั ของวัดเทพ สุนทรินทร์
ในปจั จบุ ัน เพอ่ื เปน็ ประตนู าพาเรายอ๎ นเวลากลับไปสอํู ดตี เสียกอํ น ภาพท่ีปรากฎชัดตามท่ี
เป็นจรงิ คือ วัดเทพสุนทรินทรเ์ ปน็ วดั ทีต่ ้งั อยูํในชมุ ชนบา๎ นเทพสุนทรนิ ทร์ ช่อื ของวัดและของ
บ๎านสอดคล๎องกัน

ชุมชนบ๎านเทพสุนทรนิ ทร์ ประกอบดว๎ ยหมบํู ๎านจานวน ๒ หมูํบ๎าน คือบ๎านเทพสุ
นทรนิ ทร์หมํทู ี่ ๖ และบ๎านเทพสุนทรินทร์หมูํที่ ๗ ตั้งอยํูในตาบลบ๎านกลาง อาเภอ สอง
จงั หวดั แพรํ

บ๎านเทพสนุ ทรนิ ทร์ หมํทู ี่ ๖ เป็นหมํูบ๎านหนึ่งในชุมชนบ๎านเทพสุนทรินทร์ แตํ
เดิมชอื่ บา้ นนา้ หลงสนั นิษฐานวํา เปน็ หมบูํ ๎านเล็กๆตั้งอยํบู นฝ่งั รํองนา้ ซึ่งแยกสาขามาจาก
แมนํ ้าสอง ทช่ี าวบา๎ นเรยี กรอํ งน้าสาขาน้ีวาํ รอ่ งหลง โดยรอํ งหลงน้ีแยกมาจากแมํน้าสอง
ดา๎ นขวา ไหลผํานบ๎านคุ๎ม บา๎ นกลาง แลว๎ มาบรรจบแมํน้าสองอีกครั้งหน่ึงบริเวณบ๎านน้า
หลง

มคี าบอกเลําจากผูร๎ ใู๎ นการศึกษาประวตั ิความเป็นมาของชมุ ชนตํางๆ วํา แตํเดิม
บ๎านเทพสุนทรนิ ทร์หมทํู ี่ ๖ โดยเฉพาะบา๎ นนา้ หลงมีต๎นไม๎ชนิดหนึ่ง คือ กาหลง ซึ่งเป็น
ตน๎ ไมท๎ ี่มีลักษณะเหมือนดอกเส้ียว หรอื ชงโค แตมํ ีดอกสขี าว สวํ นหมบํู ๎านทอี่ ยูใํ กล๎กันกลับ
มตี น๎ ดอกเสยี้ วจานวนมาก จึงเรียกหมบูํ ๎านทมี่ ีดอกกาหลง วํา บา้ นกาหลง หรือ บ้านน้า
หลง และเรียกหมูบํ า๎ นทมี่ ดี อกเส้ียววาํ บา้ นเสียว ปัจจุบันบ๎านเส้ียวเป็นหมํูบ๎านที่อยํู
ตดิ กนั แตอํ ยํใู นเขตการปกครองหมํูท่ี ๗

ภาพที่ ๑ ดอกเสี้ยวหรือชงโค ดอกมีสีบานเยน็ หรอื ชมภู ภาพท่ี ๒ ดอกกาหลง ดอกมีสีขาว

มผี ๎ูรบ๎ู างทาํ นได๎เลําถาํ ยทอดความเป็นมาของหมูํบ๎านวํา เดิมทีมีผ๎ูคนจากบ๎าน
หาดเส้ียวอพยพเขา๎ มาทามาหากนิ ตามลาแมํน้าสอง เน่ืองจากเป็นพื้นที่ดินอุดมสมบูรณ์
เหมาะแกกํ ารทาเกษตรกรรม ชาวบ๎านอืน่ เรียกคนกลมุํ น้ีวําเปน็ คนบา๎ นเส้ียว และเรียกช่ือ
วดั ในหมบํู า๎ นนีว้ ํา วัดเสียว ตามช่ือของบา๎ น และไดเ๎ ปลยี่ นชอ่ื วดั เป็น วัดเทพสุนทรินทร์
มาจนถงึ ปจั จบุ ัน

ภาพท่ี ๓ วัดเส้ียวในอดีต เปน็ วดั ท่ีตัง้ อยูใํ น
ชมุ ชนบ๎านเทพสนุ ทรนิ ทร์ซึ่งมคี ณะศรทั ธา
จากหมํบู ๎านเล็กๆในชุมชนตํางพากนั มา
ปฏิบตั ิศาสนกจิ อยํางล๎นหลาม

- เป็นภาพทแ่ี สดงถึงขบวนแหขํ อง
คณะศรทั ธาเพือ่ มาเฉลิมฉลองใน
โอกาส ๒๕ พทุ ธศตวรรษ

- โปรดสงั เกตประตูวดั มีสิงหค์ ํูที่
ยงั คงอยจํู นถงึ ปจั จบุ นั

ในชุมชนบ๎านเทพสุนทรินทรย์ ังมีพ้นื ท่ีอยูํใกล๎กันมีชาวบ๎านซึ่งอพยพมาจาก ท่ี
อนื่ อีกหลายแหงํ เชนํ เดียวกนั โดยเฉพาะอยํางยง่ิ บา้ นเหลา่ ใต้ซง่ึ อยตูํ ิดกับบา๎ นนา้ หลง ก็
มกี ลํมุ ชนชาติเงยี้ วซง่ึ เขา๎ มารบั จ๎างทาไม๎ในยุคสมัยท่ีมีการสัมปทานทาป่าไม๎ของบริษัท
อสิ ท์เอเซยี ต๊ิก แล๎วสร๎างหลักปักฐานทามาหากิน มคี รอบครวั อยูกํ ับคนในท๎องถิ่น และได๎
นาเอาความรู๎ความสามารถซงึ่ เปน็ ภมู ิปัญญาดั้งเดิมมาใช๎ทามาหากิน ได๎แกํ การทาการ

คา๎ ขายอาหารพื้นเมือง ทรี่ ู๎จกั กันดไี ดแ๎ กํ ไส๎กรอกหรือไส๎อ่ัว แกงฮังเล ยาหนัง เป็นต๎น
ปัจจบุ ันยังมลี ูกหลานหรือคนท่ไี ด๎รับการถาํ ยทอดภูมปิ ญั ญานนี้ ามาใช๎ประกอบอาชีพ ชาว
บ๎านเหลาํ ใตจ๎ ึงมอี าชีพค๎าขายอาหารการกินควบคูํไปกับการมีอาชีพเกษตรกรรมจนถึง
ปจั จบุ ัน

ถนนทม่ี ํงุ สอํู าเภอสองน้นั มีเส๎นทางหลักผํานบ๎าน ป๋างมื่น ข๎ามแมํน้าสอง
และผํานบ๎านเหลําใต๎กอํ นท่จี ะไปสํูบา๎ นกลาง มีผ๎คู นอาศัยอยูํคํอนข๎างหนาแนํน จึงทาให๎
ถนนสายนเี้ ปน็ ถนนสายเศรษฐกิจของอาเภอสองในขณะนน้ั สองข๎างทางของบ๎านเหลําใต๎
จงึ มี ร๎านค๎าขายเล็กๆ เรยี งรายอยทํู ั่วไป ตอํ มาเกดิ เหตอุ ุทกภัยครง้ั ใหญํ ทาใหพ๎ นื้ ทีด่ ังกลําว
ได๎รบั ความเสยี หายมาก ชาวบ๎านสํวนหนึ่งจึงอพยพข้ึนไปอยูํในพื้นท่ีอ่ืนท่ีน้าทํวมไมํถึง
ได๎แกํบ๎านเหลาํ เหนอื บ๎านปา๋ งมืน่ คอื บ๎านศรีมลู เรอื งในปัจจุบนั เปน็ ตน๎

ภาพท่ี ๔ ภาพเหตุการณน์ ้าทวํ ม
ใหญํทาให๎วัดเทพสนุ ทรินทรไ์ ดร๎ ับ
ผลกระทบมีระดบั นา้ สงู มากถงึ
ขนาดนี้ สํวนบา๎ นเหลําใต๎ต้ังอยํใู น
ตาแหนํงทมี่ ีระดับต่ากวําวัด จงึ ถูก
น้าทวํ มไดร๎ ับความเสียหายมากกวาํ
อยํางแนํนอน

เม่ือชุมชนมีการขยายตัวเพิ่มข้ึน ประกอบกับมีถนนสายสาคัญผํานอาเภอ
สอง ทาใหพ๎ ้ืนท่ขี องชุมชนบ๎านเทพสุนทรนิ ทรถ์ กู แบํงออกเปน็ สองหมบํู ๎าน คือหมํูที่ ๖ และ
หมทูํ ี่ ๗ โดยบ๎านหมูํท่ี ๖ ประกอบดว๎ ยกลมํุ บ๎านเรือนของชาวบ๎าน ๓ กลํุมใหญํๆ ด๎วยกัน
คอื บา้ นเหล่าใต้ บา้ นนา้ หลง และบ้านแหลมทอง และบ๎านหมูํที่ ๗ ประกอบด๎วย
กลมํุ บา๎ นเรือนของชาวบา๎ น ๓ กลุํมใหญๆํ เชนํ กนั คือ บา้ นเสยี ว บา้ นลับแลง และบ้าน
ศรมี หาโพธิ์ ( ตง้ เกา๊ ศรี ) บา๎ นหมูํที่ ๖ ท้ังหมดอยใํู นเขตการปกครองของเทศบาลตาบล
สอง บา๎ นหมูทํ ี่ ๗ มบี ๎านเสย้ี วและบา๎ นศรีมหาโพธ์ิ อยํูในเขตการปกครองของเทศบาล
สํวนบ๎านลับแลงอยใูํ นเขตการปกครองขององค์การบรหิ ารสวํ นตาบลบ๎านกลาง อาเภอสอง
จังหวดั แพรํ

บ้านลบั แลง เป็นหมํบู า๎ นท่ีอยทูํ างทศิ ตะวนั ตกของชุมชน เรียกวําอยํูท๎ายสุด
ยามตะวนั ใกล๎ตกดนิ หรือ ตะวันแลง หรือ หมําแลง จะทาให๎เกิดบรรยากาศถึงความสงบ
ยามเยน็ ทตี่ ะวันกาลังจะลบั ขอบฟา้ หมูํบ๎านนี้จงึ ได๎รบั การกลาํ วขานวําเปน็ บา้ นลบั แลง

สิง่ ท่ีบง่ บอกอายขุ องวดั เทพสนุ ทรินทร์

ธรรมหรอื คาภีรใ์ บลานเกําแกํ

มีหลกั ฐานหน่ึงปรากฎในหน๎าธรรมใบลานผูกหนึ่งในตู๎ธรรมโบราณของวัด
เทพสนุ ทรินทร์ ช่อื ธรรม”ฏิกามาเลยยวตั ถุ” ซง่ึ จารลงในใบลานเป็นภาษาในธรรม(ภาษา
ลานนาโบราณ) ดงั นี้

ภาพที่ ๕ หนา๎ ทับเคา๎ ของคาภีรใ์ บลานช่อื ”ฏิกามาเลยยวัตถุ” ซงึ่ พบอยใูํ นต๎ูคาภรี ์ใบลานของวัดเทพสนุ ทรินทร์

อํานได๎ใจความวาํ
จฬุ สกรฯาชฯ ได้ ๑๒๐๑ ต฿วฯ ปลฯฯกี ัดฯไค้ มูลสทธฯา ฯคูบาเจั้าฯอฯุ ตตฯมเปนฯ

เคลั้ ฯฯา แลฯสกิ ฯย฿มฯชู่ฯต฿นฯฯส้างฯไวย้ ฯ ค้าชูสาสนฯา นพิ าน บรม สกขฯ ไพส้างฯอฯู า
มาแตเมือฯงรอฯง

ฏิกามาเลยยฯวตถฯฯุ ผูต฿น้ ฯแลฯ
ซง่ึ เมื่ออาํ นแล๎วได๎ใจความวํา “จุ๋นละสกั กะหราดได้ น่ึงปันสองร้อยเอ็ดตั๋ว ป๋ีกัดไก๊
มูลสทั ธา คูบาเจ้าอุตตมะเป๋นเกา๊ แลสกิ ยมชตุ น๋ สรา้ งไว้ก๊าจสู าสนา นิปานัง ปะระมัง สุก
ขงั ไปสรา้ งเอามาแตเ่ มอื งลอง
ฏิกามาเลยฺยวตฺถุ ผกู ต้นแล “
และเม่อื ปรวิ ัตรเป็นภาษาไทยกลางจะไดใ๎ จความวาํ “จลุ ศักราช ๑๒๐๑ ปกี ลุ เอกศก คณะ
ศรทั ธา ครูบาเจ้าอตุ มะเป็นประธาน และศิษยานุศษิ ย์ทุกคน ร่วมกันสร้างค๊้าชูพระศาสนา
นพิ าน๊ ปรมส๊ ุข๊ ไดส้ รา้ ง(เขยี น,จาร)มาจากเมืองลอง
ฎกี ามาลัยวัตถุ กณั ฑท์ ่ี ๑

โดยเน้อื หาพอสรปุ ได๎วํา ธรรมใบลานนค้ี งไปคัดลอกจากต๎นฉบับซ่ึงมีอยูํที่อาเภอ
ลองในปจี ุลศกั ราช ๑๒๐๑ ซ่งึ ตรงกบั ปีพทุ ธศกั ราช ๒๓๘๑ หํางจากปีปัจจุบัน (๒๕๖๐)
๑๗๙ ป*ี
....................................................................................................................................

* ก า ร เ ที ย บ จุ ล ศั ก ร า ช กั บ พุ ท ธ ศั ก ร า ช คื อ
พทุ ธศักราช = ปัจจบุ ัน จ.ศ. + ๑๑๘๑ หรือ พ.ศ. – ๑๑๘๑ = จ.ศ.

นั่นแสดงวาํ การเกิดขน้ึ ของวัดเทพสุนทรินทร์นําจะมีอายุมากกวํา ๑๗๙ ปีอยําง
แนํนอน เพราะการทีม่ ภี ิกษุผมู๎ ีปัญญาบวชเรยี นจนมนี ามเรยี กขานวาํ เป็น “ครบู าเจ๎า” และมี
คณะศรทั ธารวมทงั้ ศานศุ ิษยเ์ ป็นจานวนมากน้นั ต๎องใชเ๎ วลานานพอสมควรทเี ดียว

พระประธาน โบราณวตั ถลุ า้ คําทีม่ ีอายุยาวนาน

โบราณวตั ถุสาคญั ท่ชี าวบ๎านเทพสุนทรนิ ทรใ์ หค๎ วามเคารพนบั ถือและสกั การะกราบ
ไหวส๎ ืบเนือ่ งกนั มาจนถึงบดั นีค้ ือพระพุทธรปู ซ่งึ เปน็ พระประธานและรองประธานซ๎าย -ขวา
ในอโุ บสถของวัด เนอ่ื งจากเปน็ พระพุทธรูปเกาํ แกํท่เี ลาํ สบื กนั มาวาํ สร๎างมาพร๎อมๆกับการ
สร๎างวดั เลยทเี ดียว โดยมผี ู๎ประเมินจากอายขุ องปนู เกําท่ีกระเทาะออกมาจากองค์พระเมื่อ
คร้งั ทาการซํอมบุรณะ วําคงมอี ายุราวสมยั อยธุ ยาตอนปลาย พระพุทธรูปท้ัง ๓ องค์เป็น
พระพุทธรูปปูนปนั้ ไมมํ ีชอ่ื ฝมี อื ชาํ งพน้ื บ๎าน ปางมารวชิ ยั ท้ัง ๓ องค์ ขนาดใกล๎เคียงกัน คือ
มหี นา๎ ตกั กวา๎ งประมาณ ๖๐ นว้ิ แตํเดิมน้ันพระพุทธรูปทุกองค์ทาด๎วยสีขาวหรือปูนขาว
และมพี ระโอษฐ์สแี ดงระเรือ่ ตามคตคิ วามเชอ่ื แบบศิลปล๎านนา ( พระพุทธรูปปูนปั้นศิลป
ล๎านนาโดยทว่ั ไปมกั ทาด๎วยปูนขาว แสดงถึงความบริสุทธ์ิ ) และในยุคตํอมาได๎มีการ
กํอสร๎างพระสาวกรวมทง้ั เทวดาเพมิ่ เตมิ เพอื่ สรา๎ งบรรยากาศตามเรื่องราวพระพุทธประวัติ
ในสมัยพุทธกาล

เมื่อประมาณ ๑๐ กวําปี ท่ีผํานมาได๎มีคหบดีผ๎ูมีความเล่ือมใสศรัทธาได๎บริจาค
ทรัพย์เพอ่ื ทาผิวองค์พระใหมํและปดิ ทองท้ังหมดด๎วยกรรมวิธีของชํางยุคใหมํ คือเลือกใช๎
การพอกดว๎ ยเรซิ่นพลาสติกเพอ่ื ให๎ผวิ เรยี บและงํายแล๎วจงึ ปิดทองแทนการใช๎วิธีขัดผิวแบบ

โบราณ รวมทั้งไมใํ ชว๎ ธิ กี ารลงรกั ซ่งึ เปน็ วสั ดธุ รรมชาติ ดังนั้นเมื่อปิดทองห๎ุมหมดท้ังองค์
และรวมถึงรูปป้ันพระสาวกและเหลําเทวดาท่ีสร๎างเพม่ิ เติมในยคุ หลังนัน้ ดว๎ ย จงึ เป็นผลทา
ให๎ผวิ กระเทาะ เกดิ การแตกรา๎ วทวั่ ทกุ องค์ ทั้งนอี้ าจเปน็ เพราะในองคพ์ ระซ่ึงมีแกนกลางทา
ด๎วยอิฐอาจมีความชนื้ จานวนมาก เมื่อนานเขา๎ ไอน้าที่ออกมามีแรงดันสะสมจนทาให๎เกิด
การแตกรา๎ วได๎

สวํ นพระพทุ ธรปู อกี องค์หน่ึงเปน็ พระพุทธรูปปูนปั้นเชนํ เดยี วกัน ตั้งอยํู ณ ศาลาการ
เปรียญ เปน็ พระประธาน มีหนา๎ ตักกว๎างประมาณ ๖๐ นิว้ เทาํ ๆกบั ในอุโบสถ แตํสร๎างใน
ยุคหลังคอื ประมาณพ.ศ. ๒๔๙๐ หรอื หลังจากนน้ั อีกเพยี งเลก็ น๎อย พระพุทธรูปองค์น้ีก็คง
เป็นเหมือนพระพุทธ รปู ปนู ปั้นตามแบบศลิ ปลา๎ นนาทั่วไป คอื ทาด๎วยสีขาวหรือปูนขาว เป็น
ท่ีเคารพสกั การะของคณะศรทั ธามาเป็นเวลาชา๎ นาน การปดิ ทองพระประธานองค์นี้ ด๎วย
กรรมวธิ ีเดียวกนั จงึ เป็นผลทาให๎เกิดรอยแตกร๎าวท่ัวท้ังองค์เหมือนกับพระประธานใน
อุโบสถ ซึ่งตอํ มาทางวดั ได๎แกไ๎ ขกลับไปเปน็ แบบด้ังเดมิ

ภาพท่ี ๖ พระประธานและพระสาวกในอโุ บสถ ภาพที่ ๗ พระประธานท่มี พี ุทธลกั ษณะทีส่ วย
เป็นพระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั ซึง่ มีอายมุ าก งามแบบลานนา ปางมารวชิ ยั ประดษิ ฐานบน
ใกลเ๎ คียงกบั อายขุ องวดั ศาลาการเปรยี ญ สร๎างในยคุ หลงั

เชอื่ กนั วาํ หากพระประธานวัดไหนสวยงามอํอนช๎อย หญิงสาวบ๎านน้ันจะสวยงาม
ด๎วย ที่เปน็ เชํนนี้เพราะชาํ งปน้ั คงพบเหน็ สาวสวยและนามาเป็นแบบอยํางแล๎วถํายทอด

ความงามนนั้ ไว๎ในงานปั้นของตนเองดว๎ ย

- ปรากฎจารกึ บนแทํงปนู ท่ีถูกทาขึ้น พบอยํูด๎านหลังพระประธานมีข๎อความที่
เกี่ยวข๎องกับพระประธานวาํ จารึกน้ีบอกกลาํ วเร่ืองราวในการบุรณปฏิสังขรณ์
และมกี ารประกอบพิธีพทุ ธาภิเศก และข๎อความที่อ๎างอิงถึงยุคสมัย ที่ได๎สร๎าง

พระประธานองคน์ ้วี าํ เป็นชวํ งกรุงศรีอยุธยาแตก จากรึกบนแทํงปูนดังกลําว
แม๎วําจะทาขึ้นจากคนรํุนหลังอยํางเห็นได๎ชัด มีความเลอะเลือน อํานไมํได๎
ใจความชัดเจน แตํเจตนาของผ๎ูจารึกคงเห็นความสาคัญของข๎อมูลท่ีเป็น
ประโยชน์ และเกรงวําจะเลือนหายไปตามกาลเวลา เม่ือตนเองได๎รับข๎อมูล
ดงั กลําวแล๎วจงึ พยายามจารึกเอาไวบ๎ นแทงํ ปนู ดว๎ ยเห็นวาํ คงเป็นวัสดุที่มีความ
คงทนกวาํ กระดาษและใบลาน และเจาะจงให๎เก็บซํอนเอาไว๎ด๎านหลังพระ
ประธานเพอ่ื ใหผ๎ ค๎ู ๎นพบในภายหลังได๎รบั ขอ๎ มูลเฉพาะเร่ืองพระประธานองค์น้ี
เพยี งเรอ่ื งเดียวเทาํ นั้น

จากข๎อมูลดงั กลาํ วหากนามาพจิ ารณาพอจะบอกกลําวให๎ทราบวําหากการสร๎าง
พระประธานเกิดขึ้นชํวงเหตุการณ์กรุงศรีอยุธยาแตก (โดยไมํได๎บอกรายละเอียดของ
ชํวงเวลานั้น ) จึงทาใหม๎ ีประเด็นคาถามตํอไปอกี วํา กรุงศรอี ยุธยาแตก ครั้งที่ ๑ หรือครั้งที่
๒ หากเปน็ คร้ังที่ ๑ ก็คงจะตรงกบั ปีพทุ ธศักราช ๒๑๓๕ แตํหากเปน็ ครง้ั ที่ ๒ ก็คงจะตรงกับ
ปีพุทธศกั ราช ๒๓๑๐ ซง่ึ ทาใหส๎ ามารถนามาประกอบการคานวณชํวงอายุของวัดเสี้ยววํา
คงมีอายุมากถงึ ประมาณ ๒๕๐ –๔๒๕ ปีเลยทีเดียว

อยํางไรก็ต ามข๎ อมู ล เ กี่ ย วกั บ บั นทึ ก ดั ง ก ลํ าวน้ั น ไมํ มี ใ ค รยื นยั นวํ า ส่ิ ง ท่ี ป ราก ฏ มี
ขอ๎ เทจ็ จริงตามที่ปรากฎในจารกึ นั้นหรอื ไมํ

- ความเป็นวัดเกาํ แกขํ องวดั เทพสนุ ทรินทรซ์ ึง่ เปน็ ชื่อทเี่ ปลี่ยนมาจากวัดเส้ียวนั้น
ยงั ประเมนิ ได๎จากหลักฐานท่ีเก่ียวข๎องอีกหลายอยําง อาทิเชํน ต๎นดอกเข็ม
โบราณ ซง่ึ ยังคงปรากฏอยจํู นถึงปัจจุบนั

-

ภาพท่ี ต๎นดอกเข็มโบราณที่อยคํู กํู บั
วัดเส้ียวมานานและปัจจุบันยงั ถกู ดแู ล
รักษาเพ่อื เปน็ อนุสรณแ์ ละเพอ่ื ยนื ยนั ถงึ
ความเกําแกขํ องวดั เทพสุนทรนิ ทร์

ตน๎ เขม็ โบราณ ได๎รับการยืนยันจากผู๎เฒําผ๎ูแกํคณะศรัทธาวัดเทพสุนทรินทร์ซ่ึงมี
อายุยนื ยาว ทุกคนบอกตรงกนั วํา เม่อื ยงั เปน็ เดก็ เลก็ ๆทาํ นกเ็ หน็ ต๎นเข็มดังกลําวเป็นเชํนน้ี
อยแูํ ล๎ว เดมิ มี ๒ ต๎นอยูํบนั ไดทางขน้ึ ของวิหารวัดเสี้ยว แตํปัจจุบันเหลือต๎นน้ีอยูํเพียงต๎น
เดียว

อีกหลักฐานหนึ่งซึ่งใชย๎ นื ยนั ความเป็นวัดเกําแกํของวัดเทพสุนทรินทร์ได๎แกํซาก
โบราณวัตถุซึ่งมหี ลายอยํางที่ยังคงหลงเหลืออยูํ ถึงแม๎จะมีสภาพท่ีไมํสมบูรณ์ แตํซาก
ดังกลําวเป็นสง่ิ ยืนยนั ความเกาํ แกํได๎เปน็ อยาํ งดี เชนํ

- ซากอฐิ โบราณทข่ี ุดจากศาลาบาตรตดิ แนวกาแพงวดั ด๎านทศิ ตะวันออก

ภาพที่ ซากอฐิ โบราณเมื่อ
เปรยี บเทียบกบั กอ๎ นอฐิ ในยคุ
ปัจจุบัน(กอ๎ นเล็ก อยตูํ อนลํางของ
ภาพ) จะเปน็ วําอิฐโบราณมขี นาด
ใหญโํ ตหลายเทาํ และมคี วามหนา
มาก ซากดังกลําวขดุ พบใตด๎ นิ
ดา๎ นหน๎าศาลาการเปรยี ญปัจจุบัน

- ซากรางน้าซึง่ มกั จะใช๎ในพิธีสรงนา้ พระในโอกาสสาคัญ

มหี ลกั ฐานจากทั้งโบราณวัตถุ พระประธานดง้ั เดมิ หน๎าทับหลังคาภรี ์ใบลาน
หรอื แม๎แตํต๎นไมโ๎ บราณทีอ่ ยคํู กํู ับวดั เสี้ยวมาจนถึงปจั จุบันคือสิ่งที่บํงบอก
อายุของวัดเทพสนุ ทรนิ ทร์

- นอกจากนนั้ ยังมีพระพุทธรูปโบราณที่ไมอํ าจระบุวาํ สร๎างในยคุ สมยั ใดอกี จานวน
หน่ึง ดงั ตัวอยาํ งตอํ ไปนี้

และยงั ปรากฏพระสงฆท์ ี่เปน็ พระเถระผู๎ใหญํในคณะสงฆ์อาเภอสองหลายรูป เชนํ

ภาพอดีตเจ๎าอาวาสวัดเทพสนุ ทรินทร์ (๑) เจ๎าคุณญาณสทิ ธสิ ุนทร (๒) พระครสู ุวรรณธรรมกร (๓) พระ
มหาบุญศลิ ป์ เตชปญุ โฺ ญ (๔) พระอธกิ ารสุภาพ ธมฺมวโร ๕. พระสุวรรณ สวุ รฺโณ ๖ พระครปู ระโชติวริ วิ ัฒน์

- รายนามเจ๎าอาวาสวดั เทพสนุ ทรินทร์ ต้งั แตํอดตี ถึงปัจจุบนั

๑. พระอธกิ ารรา (ครูบารา) พทุ ฺธวงฺโส พ.ศ. ๒๓๔๒ – ๒๓๘๖
พ.ศ. ๒๓๗๘ – ๒๔๓๔
๒. พระอธิการทนันชัย ทนนชฺ โย พ.ศ. ๒๔๓๕ – ๒๔๔๑
พ.ศ. ๒๔๔๒ – ๒๔๕๗
๓. ครูบาจันทมิ า จนทฺ วณโฺ ณ พ.ศ. ๒๔๕๘ – ๒๔๘๒
พ.ศ. ๒๔๘๓ – ๒๕๐๕
๔. ครูบาเทพ อธิปปญฺโญ พ.ศ. ๒๕๐๖ – ๒๕๑๔
พ.ศ. ๒๕๑๕ – ๒๕๑๗
๕. ครบู าอนิ ตา อภิวงโฺ ส พ.ศ. ๒๕๑๘ –๒๕๒๗
พ.ศ.๒๕๒๗ - ปัจจุบัน
๖. เจ๎าคณุ ญาณสทิ ธสิ ุนทร

๗. พระครสู วุ รรณธรรมกร

๘. พระมหาบุญศิลป์ เตชปุญฺโญ

๙. พระอธิการสภุ าพ ธมมฺ วโร

๑๐.พระครูพศิ าลพิพัฒนาภรณ์ กตสาโร

สภาพโดยท่วั ไปของวดั เทพ ณ ปจั จบุ นั

๑๒ ๑.) ศาลาการเปรียญ สถานท่ีปฏิบตั ศิ าสนกิจของพระสงฆ์ และคณะศรทั ธา เปน็ มุมมองจากบนั ใดนาค
๓๔ หน๎าอุโบสถ ๒.) ศาลาการเปรยี ญ มุมมองจากดา๎ นหนา๎ อาคารอเนกประสงค์ หรอื จากโดมอเนกประสงค์
๓.) กุฏิสงฆ์ ปจั จบุ ัน ๔.) อาคารศาลาอเนกประสงค์ เพ่ือเป็นสถานทีจ่ ัดกจิ กรรมเชํนงานบญุ งานศพ
หรือการประชมุ ของวดั คณะศรทั ธา และสํวนราชการตาํ งๆ

พระครพู ศิ าลพพิ ฒั นาภรณ์ จร.ชอ.เจ๎าอาวาสวัดเทพสนุ ทรินทร์ องค์
ปัจจุบนั พระครูชั้นเอก อายุ ๖๔ ปี พรรษา ๔๔
นามเดิม สุเทพ นามสกุล ใจยะ ฉายา กตสาโร
บดิ าช่อื นายแก๎ว ใจยะ มารดาช่อื นางปอ้ ใจยะ
บรรพชา ๓๑ ตุลาคม ๒๔๙๗ พระอุปชั ฌาย์ พระครสู ุวรรณธรรมกร
อุปสมบท ๑ พฤษภาคม๒๕๑๗ พระอุปัชฌาย์ พระครูนิกรธรรมคณุ

ในปัจจุบนั วัดเทพสุนทรินทรต์ ัง้ อยูํ ณ เลขที่ ๙๐ หมํูที่ ๖ ตาบลบา๎ นกลาง อาเภอสอง
จงั หวดั แพรํ มีพ้นื ท่คี ํอนข๎างจากัด เพียง ๔ ไรํเทาํ น้ัน เมือ่ นาข๎อมูลรายนามอดีตเจ๎าอาวาส
ขา๎ งต๎น ไปตรวจสอบกับประวัติวัดทั่วประเทศ ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ
ระบุวํา วดั เทพสนุ ทรินทร์ สรา๎ งเมอื่ พ.ศ. ๒๔๐๐ และได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เม่ือ
พ.ศ. ๒๔๗๐ จะเห็นได๎วาํ ขอ๎ มลู ทัง้ ๒ ชดุ ไมตํ รงกัน โดยครูบาราเริ่มเป็นเจ๎าอาวาส พ.ศ.
๒๓๔๒ หํางจากขอ๎ มลู การสรา๎ งวดั ของกรมการศาสนาถงึ ๕๘ ปี


Click to View FlipBook Version