The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตามหาบรรพชนเวียงสรอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pipope2562, 2019-12-22 23:08:47

ตามหาบรรพชนเวียงสรอง

ตามหาบรรพชนเวียงสรอง

คณะกรรมการเขียนประวตั ิศาสตร์เมืองสอง
สภาวัฒนธรรมอาเภอสอง

ตามหาบรรพชนเวียงสรอง

บทวิเคราะห์การหาขอ้ มูลเพ่ิมเติม

หมู่บ้านเวียงสอง ตาบลและ อาเภอทงุ่ ชา้ ง จงั หวดั นา่ น

บทวิเคราะห์ข้อมูลจากการไปศึกษาเพอื่ หาขอ้ มลู เพ่มิ เติมจากข้อมูลที่ทางคณะกรรมการเขียน
ประวตั ศิ าสตร์เมืองสองไดร้ ับจากหลายฝ่ายท่ไี ด้กรุณาสนบั สนนุ ช่วยสบื เสาะหาข้อมูลเร่ืองราว
ของเมืองสองในอดีต ข้อมูลบางอย่างไม่มหี ลักฐานอ้างอิงท่ีชัดเจน แต่ก็มีเง่ือนงาเบาะแสให้
คณะกรรมการฯ เดินทางไปตรวจสอบเพอ่ื หาข้อเท็จจรงิ เมือ่ ได้รบั ข้องมูลแลว้ จึงนามาวิเคราะห์
หาเหตุผล แล้วจงึ พจิ ารณาประกอบกบั หลกั ฐานอ่ืนๆ ก่อนลงความเหน็ ว่า มคี วามเป็นไปได้มาก
นอ้ ยเพยี งใด

กอ่ นจะมาเป็นบทวเิ คราะห์ฉบับน้ี

งานเขยี นประวตั ศิ าสตร์เมืองสองเกิดขนึ้ จากสภาวฒั นธรรมอาเภอสองดาริว่า
เมืองสองเปน็ เมอื งเกา่ แกแ่ ห่งหน่งึ ปรากฏโบราณสถานคอื ซากกาแพงเมืองโบราณท่ีเชื่อว่า
เป็นเวยี งสรองในอดีตและมขี นบประเพณที ีส่ ืบทอดกันมาในวิถชี ีวติ ของชาวเมืองสอง แตไ่ มเ่ คย
มใี ครศึกษารวบรวมข้อมูลในทุกๆแง่มุมเหล่าน้ันมานาเสนอในรูปของประวัติศาสตร์ สภา
วัฒนธรรมอาเภอสองจึง กาหนดเป็นแผนง านเพ่ือศึกษา รวบรวมข้อมูลและเขียนเป็น
ประวัตศิ าสตร์เมอื งสองข้ึนมา โดยได้อาราธนาพระครูไพโรจน์พัฒนโกศล เจ้าอาวาสวัดพระ
ธาตุพระลอเป็นประธานคณะทางาน มีคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมอาเภอสองเป็น
คณะทางาน

การดาเนินงานอาจมีอุปสรรคอยู่บ้าง เพราะคณ ะกรรมการทุกคนไม่ได้มี
พ้นื ฐานในด้านการเขยี นประวัติศาสตร์ แต่ด้วยความตงั้ ใจอย่างแนว่ แน่จึงทาการศึกษาวิธีการ
ทางประวัติศาสตร์ ควบคไู่ ปกบั การสืบค้นหาข้อมูลตา่ งๆ และนับเป็นความโชคดีที่ได้รับการ
สนับสนุนเอ้ือเฟื้อขอมูลจากหลายๆฝ่าย ทางคณะทางานต้องขอขอบพระคุณผู้ท่ีให้การ
สนับสนนุ ดังกล่าวด้วย แต่บางคร้ังข้อมูลท่ีได้รับอาจไม่มีความชัดเจน เป็นหลักฐานที่ยัง
เช่ือถือไม่ได้ รวมทั้งความจาเป็นในการวิเคราะห์ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลตาม
กระบวนการ ทางคณะกรรมการจงึ กาหนดใหไ้ ปศกึ ษาบางข้อมลู เพม่ิ เติมโดยตรงจากหลายๆ
พืน้ ท่ี เพื่อพิสูจนข์ ้อเทจ็ จรงิ

การไปศึกษาเพอ่ื หาขอ้ มลู เพิม่ เติมท่ีบ้านเวียงสอง ตาบลและ อาเภอทุ่งช้าง
จงั หวัดนา่ นกม็ เี หตุผลเดียวกนั ทางคณะทางานไดป้ ระสานงานไปยงั องคก์ ารบริหารส่วนตาบล
และ อาเภอทุ่งช้าง จงั หวัดน่าน และขอความรว่ มมือให้ทาง อบต.และ ช่วยจัดเตรียมบุคลากร
ผู้ทรงคุณวุฒิในตาบลที่คาดวา่ จะสามารถให้ขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ ประโยชน์และเชื่อถือได้ตามกาหนด
นัดหมายด้วยซง่ึ ก็ได้รบั ความรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดี

เม่อื กลับจากการไปศึกษาดูงานแล้วจึงนาข้อมูลที่ได้รับทั้งหมดมาร่วมกัน
วิเคราะห์ และไดข้ อ้ สรุปตามบนั ทกึ ที่ได้จัดทาและนาเสนอในเอกสารน้ี

ลาดับแนวความคดิ

๑. เอกสารข้อมูลภาษาลา้ นนา
๒. เอกสารขอ้ มูลภาษาล้านนาปรวิ ตั รเปน็ ภาษาไทยกลาง
๓. บันทึกการไปศกึ ษาเพ่อื หาข้อมูลเพมิ่ เติม งานเขียนประวตั ศิ าสตร์เมืองสอง
ครัง้ ท่ี ๒ วันที่ ๒๘ ธันวาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ ณ บ้านเวยี งสอง ตาบลและ อาเภอท่งุ ช้าง จ.นา่ น
๔. ข้อมูลภาพการไปศึกษาเพอ่ื สืบค้นหาข้อมลู ทางประวัตศิ าสตรเ์ มอื งสอง ณ บ้านเวียงสอง
ตาบลและ อาเภอทงุ่ ชา้ ง จ.น่าน

เอกสารข้อมลู ภาษาลา้ นนา จากบันทึกของพระมนตรี ธมเฺ มธี (พระครูวิฑติ พฒั นาภรณ์ จร.ชอ.เจา้ อาวาส
วดั พระธาตุสโุ ทนมงคลครี ี หมู่ที่ ๙ ตาบลเดน่ ชัย อาเภอเด่นชัย จงั หวัดแพร่ ๕๔๑๑๐ เป็นเรอ่ื งราวที่
เก่ียวขอ้ งกับเมอื งสองในอดีต

(อาเภอสอง)

พงศาวดารลา้ นนา กล่าวถึงเมืองสองว่า จลุ ศกั ราช ๙๑๔ ปกี ดไจ้ เดือน ๙ ข้นึ
๑๐ คา่ เจา้ ฟ้าเมอื งนายกบั เจ้าฟา้ เชยี งทอง สองพ่ีนอ้ ง ยกรีพ้ ลมาตีหัวเมือง ลา้ นนา
มีเมือง เชียงแสน เมืองภูยาว || ลุถงึ เดือน ๑๑ ขึ้น ๒ คา่ ปีเดยี วกนั เจ้าฟ้าสองพีน่ ้อง
ยกทพั เข้าตเี มอื งสะเอียบ ป่าเลา เมืองสอง ป่าเสย้ี ว พุทธศักราชได้ ๑๓๗๙ ขนุ หลวง
พลพาครอบครัวไพรไ่ ตจากเชยี งแสนไชยบรุ ี ไพรไ่ ตบางพวกกไ็ ดม้ าเผ้ยี วถางท่ีอยู่ท่ี
กนิ อาศัยอยวู่ งั ดิน ลับแล คมุ้ ใหญ่ สนั กลาง ลางพวกกอ็ พยพล่องลงไปทางใต้ ตาม
ขุนหลวงพล(พญาพละ) || พงศาวดารเมอื งน่าน กลา่ วถงึ เมอื งสองวา่ พุทธศกั ราชได้
๒๐๗๐ พญานา่ นช่ืออนุ่ เฮอื น ไดย้ กเอาพลเขา้ ตเี มืองเทงิ เมืองสอง ได้ชัยชนะจงึ
กวาดตอ้ นเอาผูค้ นไปเปน็ จา่ นวนมาก ||ในปพี ุทธศกั ราช ๒๐๗๔ พญาพลไดย้ กทัพ
ไปตีเมอื งสองคนื จาก พญาน่านแลว้ เลยไปตีเมืองน่าน แตไ่ ม่สามารถตหี กั เอาเมอื ง
นา่ นไดจ้ ึงยกทัพกลับ||พทุ ธศักราชพญาสรอ้ ยสุรยิ ะเจ้าเมอื งแพร่ไดย้ กทพั ขน้ึ ไปตีเมือง
สองได้แลว้ ได้สร้างคมุ้ อยู่แขวงนาหนนุ ๒ คน สร้างคุ้มอยู่ดงกลาง ๑ คน ||ปี
พุทธศักราช๒๔๔๐ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าโผดหื้อจดั การปกครองหวั เมืองฝ่ายเหนอื
ใหม่(มลฑลเทศาภิบาล) เมอื งสองจึงถูกลดลงเปน็ อ่าเภอเรียกว่าอา่ เภอยมเหนือ|| ป๋ี
พุทธศักราช ๒๔๔๕ กองโจรเงย้ี วเข้าปล้นเมืองแพร่ได้จึงส่งกองก่าลังเขา้ ควบคมุ
เมืองสองไว้ ขุนมหาดไทย นายแขวงอ่าเภอยมเหนอื

เอกสารขอ้ มูลภาษาลา้ นนา จากบนั ทกึ ของพระมนตรี ธมเฺ มธี (พระครูวิฑติ พัฒนาภรณ์ จร.ชอ.เจ้าอาวาสวัด
พระธาตุสุโทนมงคลคีรี เมื่อปรวิ ตั รเป็นภาษาไทยกลางแล้ว

บันทึกการไปศกึ ษาเพื่อหาข้อมูลเพม่ิ เติม งานเขียนประวตั ิศาสตรเ์ มอื งสอง
ครง้ั ท่ี ๒ วนั ที่ ๒๘ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑
ณ บา้ นเวยี งสอง ตาบลและ อาเภอทุง่ ช้าง จ.นา่ น

การเขียนประวตั ิศาสตรเ์ มืองสองที่ผ่านมาจาเป็นต้องใช้หลักฐานข้อมูลเพ่ิมเติมเพ่ือ
ยนื ยันถึงความถูกต้องในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเดิมท่ีได้สืบค้นมาวา่ มีขอ้ เทจ็ จริงอย่างไร เชื่อถือได้
มากนอ้ ยแค่ไหน และบางครง้ั ข้อมลู ที่มอี ยู่กไ็ ม่ไดเ้ ล่าเรอ่ื งราวท้งั หมด แตอ่ าศัยเงอื่ นปมบางอย่าง
ให้เรานามาตงั้ เปน็ สมมตุ ิฐานเพ่ือใหเ้ ราสามารถสืบค้นข้อมลู เพ่มิ ข้ึนไดต้ ่อไป

จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ท่ีปรากฏในพงศาวดารเมืองน่านซึ่งมีข้อความว่า “จุลศักราช
๘๘๙ ตรงกบั พ.ศ. ๒๐๗๐ พญานา่ น ตนชื่อ อนุ่ เฮือน ไดย้ กไพร่พลทหารลงมาตีเมืองเทิง เมือง
สอง ได้ชัยชนะจงึ กวาดตอ้ นผู้คนไปเป็นจ่านวนมาก จุลศักราช ๘๙๓ ตรงกับ พ.ศ. ๒๐๗๔
พญาแพรไ่ ด้รวบรวมไพรพ่ ลยกขน้ึ ไปตีเมืองคนื จาก พญานา่ น แต่ไม่สามารถตีหักเอาเมืองน่าน
ไดจ้ งึ ยกทัพกลบั แตเ่ จ้าเมอื งแพร่ไดแ้ ต่งตั้งตวั แทน ใหไ้ ปปกครองเมอื งสองสบื ทอดกันมาหลายช่ัว
อายคุ น1”คณะกรรมการมคี วามเห็นตรงกันวา่

๑. เมืองสองโบราณ (จ.ศ.๘๘๙) ถูกกวาดต้อนผู้คนไปเป็นจานวนมาก แสดงว่ามี
เหตกุ ารณส์ ู้รบ โดยกองทัพพญานา่ นเปน็ ฝ่ายชนะสงคราม

๒. กองทัพของพญานา่ นตนช่ืออุ่นเฮือนเปน็ ผู้มากวาดต้อน ปลายทางน่าจะเป็นเมือง
น่าน

๓. ทาใหเ้ มอื งสอง(เวยี งสอง)ลม่ สลายลงกลายเป็นเมืองรา้ งตั้งแตบ่ ัดนน้ั
๔. ชาวเวยี งสองทถ่ี ูกกวาดตอ้ นไปน้ันคงตอ้ งกลายเป็นเชลยศึกอยทู่ ่ีเมืองน่าน คือจังหวัด

นา่ นในปัจจบุ นั
ตอ่ มาคณะกรรมการเขยี นประวัตศิ าสตรเ์ มอื งสองได้รับข้อมูลเพิ่มเติมอีกว่า มีหมู่บ้าน
แห่งหนง่ึ ชื่อหม่บู า้ นเวียงสอง ตงั้ อยูท่ ีต่ ่าบลและ อ่าเภอทุ่งช้าง จงั หวดั น่าน”ทาใหเ้ รานาข้อมูลท้ัง
สองชดุ มาประกอบกนั และต้ังเปน็ ข้อสงั เกตว่า
๑. ทาไมหมบู่ ้านดงั กล่าวจึงมีช่อื วา่ บ้านเวยี งสอง

1 ยอดขวัญ บุญซอ้ น ศกึ ษานิเทศก์ ๘ เมืองสอง ๒๕๓๗,๑๙

๒. มีแรงบันดาลใจอะไร หรือมตี านานใดหรือหลักฐานใดบอกกลา่ ว จนทาให้มกี ารต้ังช่ือ
หมู่บ้านแห่งนัน้ วา่ บา้ นเวยี งสอง

๓. มีหลกั ฐานอะไรทอี่ าจใชย้ นื ยันถงึ ความเชือ่ มโยงระหวา่ ง เวียงสอง จังหวัดแพร่ กับ
เวียงสองจังหวดั น่านบา้ ง

๔. และหากมีสง่ิ ยนื ยันท่ีเช่ือถือได้ สมมุติฐานที่เช่ือว่าหมู่บ้านเวียงสองจังหวัดน่าน
เกิดขน้ึ จากการกวาดต้อนผคู้ นจากเวยี งสอง จ.แพร่ โดยพญาน่านตามพงศาวดาร
เมืองน่าน ตอ้ งเปน็ จรงิ

ขอ้ มลู ดังกล่าวจุดประกายให้คณะกรรมการเขยี นประวัตศิ าสตร์เมืองสองสนใจและให้

ความสาคญั จึงประสานงานไปยงั องค์การบริหารสว่ นตาบลและ อ.ทุ่งช้าง จังหวัดน่านและได้
กาหนดนดั หมายเพ่ือไปตรวจสอบขอ้ เท็จจริงดังกล่าว โดยกาหนดเดินทางในวันที่ ๒๘ ธันวาคม
๒๕๖๑ และมผี ู้ทร่ี ว่ มเดินทางดังนี้

๑. พระครูไพโรจน์พัฒนโกศล เจ้าอาวาสวดั พระธาตุพระลอ
๒. นายสวสั ด์ิ ใจเอ้อื ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอสอง
๓. นายประทปี แสนแก้วทอง รองประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอสอง
๔. นางสุนีย์ ใจเออ้ื เลขานกุ ารสภาวัฒนธรรมอาเภอสอง

๕. นายพิภพ เรอื งวทิ ยากลู กรรมการสภาวัฒนธรรมอาเภอสอง

๖. นายยอดขวญั บุญซอ้ น กรรมการสภาวัฒนธรรมอาเภอสอง

นอกจากนั้นยังมีผู้ตดิ ตามเพอื่ ศกึ ษาดงู านอีก ๓ คนคอื

๑. นายธีรพงษ์ พวงดอกไม้

๒. น.ส.สุพรรณี โยธาศรี
๓. นางจนิ ทอง เรืองวทิ ยากูล
เริ่มออกเดนิ ทางจากอาเภอสอง โดยมจี ุดนดั พบ ณ บา้ น อ.สวสั ด์ิ ใจเออ้ื เวลาประมาณ

๐๕.๓๐ น แวะรับ อ.ยอดขวัญ บญุ ซอ้ นท่ตี ลาดสดบ้านศรมี ูลเรอื ง ในช่วงที่มีการสรา้ งทางจาก

อ.ร้องกวางถึง อ.เวยี งสา จังหวดั น่าน รถไปไดค้ อ่ นข้างชา้ กวา่ ปกติ และคงมีสาเหตจุ ากวนั ท่ี ๒๘

ธนั วาคม ๒๕๖๑ เปน็ วนั ศุกรส์ ุดท้ายของปี และเป็นชว่ งท่มี วี นั หยดุ ค่อนขา้ งยาว จึงมกี าร

เดนิ ทางกลบั ภูมิลาเนาของคนทไ่ี ปทางานต่างจังหวดั จานวนมาก แตร่ ถของเรากเ็ คลือ่ นไปได้

อย่างตอ่ เนอ่ื ง แวะพักรับประทานโจก้ เปน็ อาหารมื้อเช้าท่ีร้านโจ้กเมืองสอง ใกล้ตลาดสดใน

อาเภอเมือง จังหวดั นา่ น โดยมีคุณเพชร ดมี เี ปน็ ผอู้ นเุ คราะหช์ ว่ ยจดั เตรียมให้

ส่งิ ทคี่ าดหวังในการไปสบื ค้นหาขอ้ มลู ทางประวัตศิ าสตร์เพิ่มเติม ณ หมู่บ้านเวียงสอง

ต.และ อ.ทุ่งช้างในคร้ังนี้คอื

๑. ไปศกึ ษาภูมิวฒั นธรรมและนิเวศน์วัฒนธรรมของบ้านเวียงสอง เพื่อให้ได้ข้อมูล

เบอ้ื งตน้ เกีย่ วกับวถิ ีชีวิตในปัจจุบัน การมาต้ังถ่ินฐานในพ้ืนท่ีแห่งนี้ ชาติพันธุ์ที่

เก่ยี วขอ้ ง ระยะเวลาทเ่ี กยี่ วข้อง ตลอดจนวัตถปุ ลกู สรา้ งในอดีต

๒. อาจมีโบราณสถานหรือโบราณวัตถุ อาจมเี ร่ืองราวจากนิทานพ้ืนบ้านหรือตานานที่

บอกกลา่ วสืบทอดกนั มา

๓. มีจารตี ประเพณหี รือวัฒนธรรมทเี่ คยปฏิบัตกิ นั มาตั้งแต่อดีต

๔. วถิ ีชีวติ ท่ีเคยปฏิบัตกิ ันมาแตด่ งั้ เดิม และอน่ื ๆทอี่ าจค้นพบ

๕. สิ่งที่คาดหวงั เหล่านีท้ างคณะกรรมการเขียนประวตั ศิ าสตร์เมืองสองทุกคน ไม่เคยมี

พื้นฐานข้อมูล และไมเ่ คยมายงั พ้ืนท่แี ห่งนีม้ าก่อน

เมอื่ เดนิ ทางถึงองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลและ ซงึ่ ตั้งอย่ตู ิดกับโรงเรียนบ้านเวียงสอง ต.

และ อ.ทุ่งชา้ ง มบี คุ คลทเ่ี ราประสานงานล่วงหน้าและคนทีท่ าง อบต.เชิญมาเป็นผู้ให้ข้อมูลรอ

อยู่กอ่ นแลว้ ซ่ึงประกอบดว้ ย

๑. นายจิตร เสียงกอง นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลและ

๒. นายนายสุรินทร์ สะสม ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนตาบลและ

๓. นายสมคิด เสียงกอง กานนั ตาบลและ

๔. นาย ผใู้ หญ่บ้าน บา้ นเวียงสอง หมูท่ ี่ ๔ ตาบลและ

๕. นายศริ ิทัศน์ รตั นวงศ์ ขา้ ราชการบานาญ อดีตผอ.โรงเรยี นบา้ นเวยี งสอง

๖. นายสมั ฤทธิ์ แกว้ ใส ข้าราชการบานาญ อดตี พฒั นาชมุ ชน

๗. นายเมือง วดั คา ชาวบ้านบ้านเวยี งสอง

๘. นายอินทร์ ไชยและ ชาวบา้ นบา้ นเวยี งสอง

๙. นายวิชติ โทบรุ ินทร์ ชาวบา้ นบ้านเวียงสอง

หลังจากกลา่ วตอ้ นรับ นายสรุ นิ ทร์ สะสม ปลัดอ.บ.ต.และ ได้เป็นผู้นาเสนอประวัติความ
เป็นมาของหมบู่ ้านเวียงสอง โดยให้ผูท้ รงคุณวุฒิของหมบู่ า้ นเวียงสอง ตาบลและเป็นผู้ให้
รายละเอียดในเรอ่ื งทเี่ กย่ี วข้องเพ่มิ เตมิ เพื่อยนื ยันข้อเท็จจรงิ ซ่ึงมีใจความสาคัญพอสรุปได้
ดังนี้

๑. บา้ นเวียงสอง ตงั้ อยหู่ มู่ท่ี ๔ ตาบลและ อาเภอทุง่ ชา้ ง จงั หวัดน่าน เป็นหมู่บ้านท่ี
ต้ังอยบู่ นเนินสงู ซึง่ มีลักษณะเป็นทร่ี าบไหลเ่ ขา มีเทอื กเขาสงู ก้นั ชายแดนไทย-ลาว
อีกฟากหนึง่ ของเทือกเขาเป็นเขตไซบรุ ีของประเทศลาว อยู่ใกล้กบั เมืองสาตัญคือ
หลวงพระบาง มีแมน่ า้่ สองอยู่ทิศตะวันออกของหมู่บ้าน มีแม่น้่าน่าน และแม่น่้า
สอดไหลผ่าน

๒. ช่อื เดมิ ของหมบู่ ้านคอื บา้ นปา่ แหว หมายถึงบ้านท่ีมตี ้นไม้ชนิดหนง่ึ ซงึ่ ทางท้องถิ่น
เรยี กว่า ตน้ แหว มีการเปล่ยี นช่อื เปน็ บ้านเวียงสองหลงั จากมีการสร้างทางหลวง
ผ่านหมูบ่ ้าน ชว่ งเกดิ ความขัดแย้งจนเกิดสมรภูมิทงุ่ ชา้ ง

๓. สาเหตขุ องการเปลย่ี นชือ่ มาจากป้ายชอื่ เดิมมักจะมีการเปรอะเป้ือนหรือเลอะ
เลือนจากการกอ่ สร้างทางหลวง หรืออาจเกิดจากเจตนาของคนบางคนที่คึก
คะนอง เจตนาทาใหส้ ระ แ เปลย่ี นเป็นสระ เ แล้วยังแกล้งเติมวรรณยุกต์เอก
เพ่ิมขึ้น บา้ นป่าแหว จงึ กลายเป็น บา้ นป่าเห่ว (มีความหมายว่าบ้านป่าช้า : ภาษาไทย
ล้านนา)
นอกจากนนั้ คาว่าป่าแหว ยงั สามารถอ่านเปน็ ปา่ แหว๋ ได้อีกด้วย หากอ่านแบบ
ตวั ควบกล้า จงึ ทาใหส้ ่อื ความหมายผดิ ไป

๔. มีพระเถระรูปหน่ึงนาม พระคมฺภีรปญฺโญซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของ
ชาวบา้ นเหน็ วา่ ชื่อของหมู่บ้านไม่เป็นมงคลจึงแนะนาให้เปล่ยี น โดยใช้ชื่อ
บ้านเวยี งสองแทนช่ือเดิมโดยอ้างองิ เอาแม่นา้ สองซ่ึงเปน็ แมน่ า้ สายหน่ึงที่ไหล
ผ่านหม่บู ้านเป็นสาคัญจึงใช้ช่ือนมี้ าจนถงึ ปจั จุบัน

๕. ชาวบา้ นท่ีอาศยั อยใู่ นหมูบ่ า้ นแหง่ น้ีเปน็ คนเมืองประมาณ ๘๐% นอกน้ันมี
ไทยล้ือ ขมุ ขน่ิ และอื่นๆ

ในหมู่บา้ นมพี ้นื ท่ีท่ีเป็นรอ่ งลึกซง่ึ ชาวบา้ นเรียกวา่ คอื (หมายถงึ คนู า้ : ล้านนา)กว้าง

ประมาณ ๖ เมตร ลอ้ มรอบพ้นื ทแี่ ห่งหนง่ึ เป็นบริเวณค่อนข้างกว้าง สอบถามจาก

การนาเสนอวา่ มีพืน้ ทป่ี ระมาณ ๕๐ ไร่ มเี นนิ ดินกองอยู่

๖. โดยรอบคล้ายกาแพงดนิ มีช่องประตูท่ีชาวบ้านมีประเพณีไหว้ผี เรียกว่า
ประตูหัวหมู

๗. จากการสอบถามของ อ.ประทปี แสนแก้วทอง ซงึ่ เป็นหน่ึงในคณะผู้ไปสืบค้นข้อมูล
วา่ เปน็ พ้นื ทท่ี ท่ี หารขุดข้นึ เพือ่ เปน็ ทก่ี าบังในช่วงเกิดเหตุการณส์ มรภมู ิทุ่งช้างหรือไม่
ได้รับการยนื ยนั วา่ คอื และกาแพงดังกล่าวมอี ยแู่ ลว้ ก่อนเกิดเหตุการณ์สู้รบ
และพนื้ ทส่ี ู้รบอยู่ห่างออกจากพื้นท่ีนีไ้ ปค่อนข้างไกล

๘. จากการสอบถามถึงจารตี ประเพณซี ึง่ เกยี่ วข้องกบั การนบั ถอื ผีบรรพบุรษุ ของพระครู
ไพโรจน์พฒั นโกศล ไดร้ ับคาตอบจากชาวบา้ นตรงกนั วา่ ชาวบ้านมีผีบรรพบุรุษช่ือ
พญาคาแดง พญาคาลอื และพญาภูคา และยังมีการนับถือ ท้าวพญาเมือง
เวียงสอง

๙. ชาวบา้ นมคี วามเชื่อเกยี่ วกับเรอ่ื งสิ่งศกั สิทธ์ิท่ีคมุ้ ครองปกปักรักษาหมบู่ ้านโดยบอก
วา่ ในพ้นื ทป่ี ่าชาวบา้ นมกั จะไดย้ นิ เสียงดงั เหมอื นเสยี งฆ้อง ดังก้องออกมาจากป่า
(ชาวล้านนาถอื เป็นมงคลเม่อื ได้ยินเสยี งฆ้องใหญ่) มีผูอ้ ธบิ ายเหตุผลของการเกิดเสยี งว่าอาจ
เกดิ จากฤดนู า้ มากเมอื่ ตกผ่านโตรกผาจะมเี สียงดงั กอ้ งเหมอื นเสยี งฆ้องหลวง(ใหญ่
มาก)

๑๐. มีผู้อธิบายถงึ เร่อื งคือรอบหมู่บ้านว่า ในสมัยโบราณ ชาวบ้านคงสร้างเอาไว้
ปอ้ งกนั ไมใ่ หว้ วั กระทงิ ซง่ึ ชุกชุมในพื้นทีน่ ้นั มารบกวนและทาร้าย โดยเฉพาะอย่าง
ย่ิงลอบเข้ามาผสมพันธกุ์ บั ฝูงวัวทีช่ าวบา้ นเล้ยี งเอาไว้ แต่เม่อื สอบถามว่าหมบู่ า้ น

อ่นื ในพ้นื ท่ใี กล้เคียงมกี ารขดุ คือ ในลักษณะนี้หรือไม่ ได้รบั การยืนยันจาก
ชาวบา้ นว่ามีท่นี ี่เพยี งแหง่ เดยี ว
๑๑. ปลัด อบต.ได้พูดถึงชาวบ้าน บ้านเวียงสองว่าเดิมมีไม่มากนัก ส่วนใหญ่
เคลื่อนย้ายมาจากบา้ นดอนชัยซึ่งอย่ใู กล้กนั เข้ามาอาศัยอยู่มากขึ้นจนกลายเป็น
หมู่บ้านเกิดใหม่ขึน้ มา ในตาบลและมีจานวนหมบู่ ้านมากถึง ๑๔ หมู่บ้าน แต่การท่ี
หมบู่ ้าน บา้ นเวียงสองเป็นหม่ทู ่ี ๔ น้ันไม่ใชเ่ ป็นหมู่บ้านที่เกดิ ขน้ึ ลาดับต้นๆ แต่หาก
เกดิ มาจากการนาเสนอของอดีตกานันท่านหนึ่งเพ่ือปรับเปล่ียนให้ลาดับของ
หม่บู า้ นเรียงจากหวั ถงึ ท้ายบ้านจากทาเลท่ตี ง้ั ตามทิศทางการไหลของแม่น้าน่าน
บา้ นเวยี งสองจงึ เรียงตอ่ เปน็ อนั ดับท่ี ๔

๑๒. พนื้ ท่ใี กลค้ ยี งกับบ้านเวียงสอง ในตาบลและมชี อ่ื บา้ นดอนชัย วัดดอนชัย
ซงึ่ เปน็ ชือ่ ทป่ี รากฏใน ต.สะเอียบ อ.สอง จ.แพรเ่ ช่นเดยี วกัน

๑๓. เคยมีการคน้ พบซากโบราณวตั ถุ เชน่ ดาบโบราณท่เี ป็นสนิม กล้องสูบยาดิน
เผามลี วดลายจากการปัน้ และเคยมีการค้นพบซากโบราณสถานเป็นกองอฐิ ที่กอง
อยู่โดยไม่ทราบว่าเป็นอะไร เนื่องจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ผู้ที่พบไม่ได้ให้
ความสาคัญและไม่ได้เก็บรักษาหลักฐานนี้ไว้ ส่วนซากโบราณสถานได้ถูก
ชาวบ้านไถทง้ิ เพือ่ ใชท้ ด่ี ินผืนดงั กลา่ วทานา

หลังจากรบั ประทานอาหารกลางวันแล้ว ทางอบต.ไดใ้ หก้ านนั สมคดิ เสยี งกอง คุณศิริ
ทศั น์ รตั นวงศ์ และคุณสัมฤทธิ์ แก้วใส พาคณะของเราเข้าไปดูพ้ืนที่ในบ้านเวียงสอง
โดยเฉพาะอย่างย่งิ คอื กาแพงดิน และประตหู ัวหมูซึ่งมีสิง่ ที่เราพบว่าแตกต่างไปจากการ
นาเสนอขอ้ มลู ท่ี อบต.หลายอยา่ งและเราไดร้ วบรวมขอ้ มลู ไว้ดังน้ี

๑. คือ หรือคู ทีก่ ล่าวถงึ มีความกวา้ งและความลึกค่อนข้างมาก โดยประเมินจาก
สะพานคอนกรีตนา่ จะมากกว่า ๖ เมตร

๒. กาแพงดนิ กองบนฝัง่ ดา้ นในของพนื้ ที่ เปน็ กองดินที่สงู สภาพโดนกัดเซาะซึ่ง
อาจผ่านกาลเวลามาค่อนข้างยาวนาน

๓. พ้นื ทดี่ ้านในของคอื น่าจะมากกวา่ ๕๐ ไร่
๔. ประตูหวั หมูไมช่ ัดเจนว่าเป็นประตู เป็นเพียงช่องมีถนนผ่าน และบริเวณท่ี

ชาวบ้านประกอบพธิ กี รรมเพื่อไหว้ผอี ยูด่ า้ นบนกาแพงดนิ
คณะของเราไดร้ วบรวมข้อมลู ดงั กล่าวไปร่วมกันวิเคราะห์ แล้วสรุปเป็นข้อคิดเห็น
เอาไว้หลายประเด็นดังตอ่ ไปน้ี
๑. ช่อื บา้ นนามเมอื งมักจะต้ังจากจุดสาคัญที่ชาวบ้านมีความเห็นร่วมว่าใช่ หรือ

เกย่ี วข้อง เชน่ ยึดเอาทาเลท่ตี ้ัง มแี ม่น้า มภี เู ขาสาคัญ มีต้นไม้สาคัญ หรือเพื่อให้
ราลึกถงึ เร่อื งราวที่สอดคลอ้ งกบั ความเปน็ มาของหมู่บ้าน เป็นต้น คณะของเรา
เหน็ ด้วยกับพระเถระท่เี สนอใหเ้ ปลีย่ นชื่อหมู่บ้านเพื่อความเป็นศิริมงคล ความ
เป็นพระภกิ ษุที่ชาวบา้ นให้ความเคารพนบั ถือน้นั ชาวบ้านยอมรับได้ง่ายกว่าการ
เสนอโดยบุคคลอนื่

๒. พระเถระนาม คมภฺ รี ปํฺโญ ท่านอาจยึดเอาแมน่ า่้ สองซึง่ เปน็ แมน่ ่้าส่าคญั ที่หล่อ
เลีย้ งชวี ติ ของชาวบา้ นป่าแหวเป็นจุดสา่ คัญในการต้ังช่ือหมู่บ้าน แต่ก็มีส่ิงที่น่า
คดิ ตอ่ ไปว่า ทาไมท่านไม่ยึดเอาแมน่ า้ นา่ น หรือแม่น้าสอด มาเป็นจุดสาคัญใน
การตงั้ ช่ือ ทานองเดียวกนั กบั เวียงสองโบราณทอ่ี าเภอสองจังหวัดแพร่ ก็ได้รับ
ประโยชน์จากท้ังแม่นา้ ยมและแมน่ ้าสอง แตก่ ลับเลือกต้งั ชือ่ สอดคล้องกบั แม่น้า
สองเปน็ ตน้

๓. ในอดีตพระเถระ คมภฺ ีรปญฺโญ ท่านอาจเคยได้รบั การบอกเล่าท่ีเล่าต่อๆกันมา
หรือตานานของพนื้ ที่เหล่านี้ในอดีตและตอ้ งการต้ังชื่อน้ใี หส้ อดคล้องกับเร่ืองราว
ในอดีตหรอื ไม่ ประเด็นนอี้ าจตอ้ งตดั ทงิ้ เพราะความลับดงั กล่าวหมดไปพร้อมกับ
สังขารที่ละไปของพระเถระอนั เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านและไมม่ ีส่ิงยนื ยัน

๔. การทีช่ าวบา้ นเป็นคนพ้ืนเมืองประมาณ ๘๐% เป็นสง่ิ หน่ึงที่ทาให้เราต้องนามา
พิจารณาว่า พ้ืนท่หี ลายหม่บู า้ นโดยรอบบ้านเวียงสองมหี ลายชาติพันธ์ุ และมัก
อยู่รวมกนั เป็นกลมุ่ ใหญ่ มจี ารตี ประเพณีของตัวเอง การท่ีชาวบ้านเวียงสองมา
อยู่ในท่ามกลางจงึ เปน็ ประเดน็ ใหเ้ ราสนใจว่าอะไรเป็นสาเหตุให้คนเหล่านี้ซ่ึง
เปน็ คนเมืองมาตงั้ ถิ่นฐานอยู่ในท่ามกลางกลุม่ ชาติพนั ธุ์อื่น และมีความเป็นมา
อยา่ งไร

ชาวบ้านมีการไหว้ผบี รรพบุรุษ ซง่ึ จากการสอบถามทราบวา่ มีหลายผี เช่น พญาคาแดง

พญาคาลือ พญาภคู า นอกจากนั้นยงั พบหอ (ศาล) เจา้ พ่อพญาเมืองเวยี งสองอยู่

ด้านหลังที่ทาการ อบต.และ ด้วย การที่ชาวบา้ นเวียงสองมีผบี รรพบุรษุ มากมายเช่นน้หี าก

วเิ คราะห์ตามช่ือ จะเหน็ วา่ พญาคาแดง พญาคาลอื คงเป็นผบี รรพบุรษุ ท่ีนับถอื สบื ทอดกนั

มาต้ังแตย่ ุคเชียงแสน (เชน่ เดียวกบั คนเวียงสองทอี่ าเภอสอง จงั หวัดแพร่) และคนในหลาย

จงั หวดั ทางภาคเหนอื ส่วนพญาภคู าเปน็ ปฐมท้าวพญาผคู้ รองเมืองน่าน เปน็ ทเ่ี คารพนับถอื

ของชาวนา่ นมาจนถงึ ปจั จุบนั ส่วน ท้าวพญา(น.พระเจ้าแผ่นดิน, ราชวงศ์ชนั้ สงู ผทู้ าหนา้ ท่ี

กษตั ริย์ แตย่ งั ไม่ได้รบั การอภเิ ษก,บคุ คลช้นั สูงในราชวงศ์)2 เมอื งเวียงสองนนั้ คาดวา่ คง

เป็นทา้ วพญาเวียงสองทถ่ี กู กวาดตอ้ นมาตามพงศาวดารนา่ น เมอื่ พิราไลยจากไปนนั้ คงจะ

ยังเป็น

2 ศาสตราจารย์ ดร.อดุ ม รงุ่ เรอื งศรีพจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง,เชยี งใหม่ โรงพิมพม์ ิง่ เมอื งฉบบั ปรบั ปรุงครัง้ ท๑่ี ,
๒๕๔๗, ๓๒๘

๕. ทเี่ คารพนบั ถือของชาวเวียงสองและอาลยั ในการจากไปของทา่ นยิง่ นัก เพอื่ ไมใ่ ห้ลืม
เลอื นจงึ มีการตงั้ ศาลเพือ่ แสดงความกตัญญูรู้คุณ หรือคุณงามความดีของท่าน
เชน่ เดียวกนั มีสงิ่ ที่น่าสงั เกตวา่ ช่ือของศาลดังกลา่ วคือ ทา้ วพญาเมืองเวียงสอง
มคี วามหมายวา่ ท้าวพญาแหง่ เมอื งช่ือวา่ เวยี งสอง ไม่ไดเ้ ขียนวา่ ท้าวพญาเวยี งสอง

๖. จากการพิจารณาลักษณะของ คือ หรือคูทกี่ วา้ งและลึกรอบพ้ืนท่ีอันกว้างใหญ่ใน
หมบู่ า้ นเวียงสอง พบว่าเปน็ คนู ้าทอ่ี ยูร่ อบพน้ื ทค่ี ่อนขา้ งกวา้ งใหญ่ และมีสันกาแพง
ดนิ อยูข่ อบด้านใน ทกุ คนลงความเหน็ วา่ เป็นการเกดิ ขึ้นโดยคนขุดอย่างแน่นอน แต่
หากขุดไว้เพื่อปอ้ งกันสัตว์พวกวัวกระทิงเข้าไปสร้างความเดือดร้อนแก่ชาวบ้าน
ตามทม่ี กี ารนาเสนอท่ี อบต.นน้ั ดจู ะไม่สมเหตผุ ล เพราะคดู ังกลา่ วทง้ั กว้างและลึก มี
ความยาวโดยรอบมากกวา่ ๒ กิโลเมตร (ประเมินจากแผนที่ดาวเทียมใน Google )
หากคนจานวนน้อยและเกิดจากความต้อง การของ ชาวบ้านเองนั้น คงไม่ทา
มากมายกว้างใหญ่ถึงเพียงนี้ คณะของเราร่วมกับคณะของ อบต.และมี
ความเห็นตรงกันวา่ น่าจะเปน็ คูเมืองมากกว่า และอกี เหตผุ ลหนึ่งท่ีเชื่อเช่นนี้ก็
คือพน้ื ท่ีในหมู่บา้ นอื่นไม่มีคนู า้ ทัง้ ๆทเี่ ป็นเขตป่าคล้ายกัน นา่ จะได้รับผลกระทบ
และสร้างส่งิ ป้องกนั ในลักษณะเดยี วกัน

๗. ชาวบา้ น บา้ นเวียงสองตามท่ีปลดั อบต.นาเสนอว่าเคล่ือนย้านเข้ามาครอบครอง
พืน้ ที่แหง่ นี้ซึ่งมีคูล้อมรอบตามขอ้ ๖. เพราะเปน็ ที่รกร้างไม่มีผู้คนอยู่อาศัย และให้
ชอื่ ว่า บ้านป่าแหว สอบถามจากชาวบา้ นวา่ ได้ขุดคูในยุคสมัยที่เป็นบ้านป่าแหว
หรือไม่ กไ็ ด้รับคา่ ตอบว่า ไม่ และมีมาแต่ดั้งเดมิ แลว้

๘. จากคาถามท่ีคาดว่าคูนอ้ี าจเปน็ การขดุ เพือ่ เปน็ ท่ีก่าบงั หรอื หลบภัยในยุคที่มีการสู้
รบในสมรภมู ิทุ่งชา้ งหรือไม่ ก็ไดร้ บั คา่ ตอบว่า เปน็ คทู ี่มมี ากอ่ นเกดิ การสรู้ บ

๙. ซากโบราณวัตถุท่ีชาวบา้ นเคยขดุ พบและเคยเหน็ เปน็ ตน้ ว่า ดาบโบราณที่เป็นสนิม
กล้องยาสบู ดนิ เผา หรอื กองอิฐท่คี าดว่าเคยเปน็ โบราณสถาน อาจบ่งบอกถึงความ
เปน็ มาในอดีตของพื้นที่แหง่ นี้ แต่เสียดายที่ ผู้ท่ีขุดพบไม่ได้เก็บรักษาเอาไว้และ
รีบดว่ นจัดการกับซากอิฐโบราณโดยนาเอารถไถไปร้ือท้ิง เพ่ือใช้พ้ืนที่ในการทา
เกษตรกรรม ประเด็นนี้ตอ้ งถกู ตดั ทง้ิ เพราะเปน็ เพียงคาบอกเลา่ ท่ไี มม่ พี ยานวัตถุ

๑๐. หากสรา้ งจินตนาการเชิงวิเคราะห์ โดยอาศัยเหตุการณ์ที่ถูกบันทึกเอาไว้ใน
พงศาวดารเมืองน่าน ผนวกกับลักษณะภูมิประเทศในปัจจุบันมาเป็นกรอบ
ความคดิ จะเห็นว่า
- ผชู้ นะศกึ สงครามสามารถกวาดต้อนผู้คนไปเป็นจานวนมากเอาไปควบคุมใน
ฐานะเชลยศึก แสดงว่าฝา่ ยท่ถี ูกกวาดต้อนยอมแพ้ แล้วสวามิภักดิ์และทา
ตามเงอื่ นไขของฝ่ายทชี่ นะ เพอื่ แลกกับชีวติ ของตนเองรวมท้ังคนในปกครอง
- ผู้ชนะยอ่ มควบคุมไมใ่ ห้เชลยศกึ แขง็ ข้อก่อการกบฏ หรือหลบหนี การควบคุม
เชลยใหอ้ ยู่ ณ อ.ท่งุ ช้างซ่งึ อยู่ตอนเหนือสุดของจังหวัดน่าน ทาให้พญาน่าน
สามารถควบคุมได้ โดยกองทพั ของพญานา่ นอยู่ระหว่างตาแน่งของฝ่ายเชลย
คอื ทงุ่ ชา้ ง และบา้ นเมอื งเดมิ ของเชลยคอื เวียงสอง เมอื งแพร่ ทาใหก้ ารหลบหนี
เพ่อื กลบั คนื สูบ่ า้ นเมืองเดิมดังกล่าวทาได้ยาก
- เชลยต้องถูกบงั คับให้สวามิภักดแ์ิ ละตอ้ งยอมเขา้ กบั ฝา่ ยกองทพั พญานา่ น และ
ถูกกาหนดให้เชลยกลุม่ นท้ี าหน้าที่ดูแลเส้นทางเข้าสู่เมืองน่าน ดังจะเห็นว่า
ทาเลทตี่ ง้ั ของหม่บู า้ นเวียงสองในปัจจบุ ันตั้งอยบู่ นท่รี าบเชงิ เขา ลาดเอียงลงสู่
แม่นา้ นา่ นซ่ึงเปน็ แมน่ ้าทไี่ หลผ่านตวั เมืองน่านนนั่ เอง (หากอยู่ด้านบนของบ้าน
เวยี งสองจะเหน็ ลานา้ นา่ น) ลกั ษณะดังกลา่ วทาให้กองกาลังของเชลยกลุ่มน้ี
เหน็ ความเคลื่อนไหวของฝา่ ยท่จี ะเคล่อื นพลเขา้ ไปส่เู มอื งน่านอย่างชัดเจน (อ.
ทงุ่ ช้างอยู่ตอนเหนือสดุ ของจังหวัดน่าน พืน้ ท่ีติดดับชายแดนลาว มีเทือกเขาสูง
กัน้ อย่อู กี ด้านหนึ่งของเทอื กเขาคือแขวงไซบุรีของลาว การเดินทางจาก ศรีศต
นาคนหุต เขา้ มาสูเ่ มอื งน่านตามพงศาวดาร คงต้องใช้เส้นทางเดินตามลาน้า
น่าน) จงึ เป็นไปไดท้ ฝ่ี ่ายเชลยศกึ ของพญานา่ นถูกกาหนดใหท้ าหน้าท่เี ชน่ นี้
- ฝา่ ยเชลยต้องสวามิภกั ดิ์และเขา้ กับกองทัพของพญาน่าน ดังจะเห็นจากการ
ยอมรับกราบไหว้ผีบรรพบรุ ษุ คอื พญาภคู า แตข่ ณะเดียวกันก็ยังไม่ทิ้งผีบรรพ
บุรษุ ของตนเองคอื พญาคาแดงและพญาคาลือ สว่ นตอ่ มาเมอื่ เจ้าเมอื งของฝ่าย
เชลย คือทา้ วพญาเวยี งสองถึงแก่อนจิ กรรมจึงมีการเพิ่มการกราบไหว้บูชาผี
บรรพบรุ ุษของตนเอง ดังปรากฏคาบอกเลา่ ถงึ จารีตการนับถือผีของชาวบ้ าน
เวียงสอง

- ใกลก้ บั บ้านเวยี งสองมีหมบู่ า้ นแหง่ หนง่ึ ชื่อบ้านดอนชยั ชื่อนน้ั สอดคล้องกับบ้าน
ดอนชยั ต.สะเอยี บ ในอาเภอสอง จังหวัดแพร่ อดีต ต.สะเอียบเป็นเขตการ
ปกครองของเมืองนา่ น การควบคมุ เพ่ือดูแลความเคลื่อนไหวของเชลย พญา
น่านจึงตอ้ งใชค้ นทอี่ ยูใ่ นความปกครองของตนเอง และ ถือโอกาสใชก้ องกาลังซ่ึง
มาจากบ้านดอนชยั ทาหน้าทีค่ วบคมุ เชลยศึกอีกชัน้ หน่งึ น่ันเอง สังเกตจากบ้าน
ดอนชยั ต.และ อ.ทุง่ ชา้ ง อยู่ตอนใตข้ อง บ้านเวียงสอง
ทั้งหมดนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นที่ยังคงต้องการหาหลักฐานอื่นมา

ประกอบเพ่อื ยนื ยันขอ้ เทจ็ จรงิ ต่อไป จึงยังไม่อาจสรุปหรือชี้ชัดว่า ประวัติศาสตร์เมืองสองมี
รอ่ งรอยหรอื ความเปน็ มาอยา่ งนี้

อย่างไรกต็ ามขอ้ มลู ท่ีไดถ้ อื วา่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การศึกษาประวัติศาสตร์ของท้ัง
บ้านเวียงสอง ต.และ อ.ทุง่ ช้าง จ.นา่ น รวมทง้ั ของ อ.สอง จ.แพร่ ไม่มากก็น้อย

พิภพ เรอื งวิทยากูล
บนั ทึก ข้อมลู การไปศึกษาเพอ่ื หาขอ้ มูลเพ่มิ เติม และการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ของ บ้านเวียงสอง ตาบลและ อาเภอทงุ่ ช้าง จ.นา่ น

ข้อมลู ภาพการไปศึกษาเพอ่ื สืบคน้ หาข้อมูลทางประวัตศิ าสตรเ์ มอื งสอง

ภาพ ๑ อบต.และ อ.ทงุ่ ช้าง ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ปราชญ์ ภาพ ๒ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ติ า่ งเลา่ เรื่องราวและตอบคาถามที่
ชาวบ้าน ผ้สู งู อายุ ผ้มู ปี ระสบการณ์ ให้การต้อนรับและ คณะของเราพยายามถามสภาพของหมบู่ ้านและวิถีชีวติ
นาเสนอข้อมลู หมบู่ ้านเวยี งสอง ต.และ อ.ทงุ่ ช้าง ของชาวบ้านบ้านเวียงสอง

ภาพ ๓ ผ้นู าและผ้ทู รงคณุ วฒุ ขิ องหมบู่ ้านเวยี งสองพา ภาพ ๔ หากประเมนิ ความกว้างของ คือ เมอ่ื เทียบกบั
เราไปชมสถานทท่ี เ่ี รียกวา่ คือ หรือคนู า้ และร่วมกนั ความยาวของสะพาน จะเห็นวา่ เป็นคนู า้ ที่กว้างมาก
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั คือ วา่ คงขดุ ขนึ ้ ล้อมเมือง ทีเดียว

ภาพ ๕ ความลกึ ของ คอื นนั้ ถือวา่ ลกึ มากพอสมควร ภาพ ๖ เม่ือพบศาล ท้าวพระยาเมืองเวียงสองทาให้เรา
เม่อื เทียบกบั ตวั คนทลี่ งไปอยกู่ ้นคือ เราลงความเหน็ วา่ มองเห็นภาพของความผกู พนั ทเี่ ช่ือมโยงบรรพบรุ ุษของคน
คงใช้ปอ้ งกนั คนทีบ่ กุ รุกมากกวา่ ปอ้ งกนั สตั ว์ร้าย บ้านเวียงสองได้อยา่ งชดั เจน


Click to View FlipBook Version