๑ บ ท เ รี ย น แบบเรียนขั้นพื้นฐาน ภาษาค าเมืองล้านนา ส าหรับผู้เรียนที่มีพื้นฐานอ่านเขียนภาษาไทยกลางได้แล้วทุกระดับ และเพื่อ เสริมทักษะให้เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วโดยเทคนิคคอมพิวเตอร์ จัดท าโดย พิภพ เรืองวิทยากูล ส ำนักงำนวัดเทพสุนทรินทร์ อ ำเภอสอง จังหวัดแพร่
๒ คติกลอนสาร โบราณว่าไว้ ตามที่เฮาได้ยินเพิ่นไขจ๋า ไคร่หลวกไคร่ฮู้ หื้หมั่นศึกษา บ่ไช่ฮู้มา จากต๊องแม่ได้หนังสือตั๋วเมือง หนังสือตั๋วใต้ เฮียนเต๊อะก าไร ชีวิต ฝรั่งกูลา ยังมาค้นคิด สนใจ๋อ่านอู้ก าเมือง เฮา ล้านนาแต๊อู้ได้ไปเปื๋อง ตั๋วหนังสือเมือง ป๊อยอ่านบ่ได้ของเก่าของ หลัง แต่เดิมแต๊ไส้ สังบ่อาลัย อ่วงไว้เถิงว่าตางก๋าร บ่กิ๋นบ่ไจ๊ก็ขอ อย่าได้สืมลา ทีตั๋วอังกฤษ ฝรั่งภาษา สูท่านยังปา กั๋นเฮียนว่าโก้ อะ อาอิอี อุอูเอ้โอ้ ว่าไอด้อนท์โน มืดตึ๊ก ฯลฯ ลุงน้อยสิงห์แก้ว มโนเพชร
๓ แบบเรียนขั้นพื้นฐำน ภำษำค ำเมือง ล้ำนนำ ส าหรับผู้เรียนที่มีพื้นฐานอ่านเขียนภาษาไทยกลางได้แล้วทุกระดับ และเพื่อ เสริมทักษะให้เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วโดยเทคนิคคอมพิวเตอร์ จัดท าโดย พิภพ เรืองวิทยากูล ส ำนักงำนวัดเทพสุนทรินทร์อ ำเภอสอง จังหวัดแพร่
๔ คำ ชี แ้จง - “ตั๋วเมือง “คือภาษาไทยล้านนา เป็นภาษาของชาวไทยล้านนาที่ ก าเนิดขึ้นจากความเจริญรุ่งเรืองของอารยธรรมในดินแดนทางภาคเหนือของประเทศ ไทย และเป็นภาษาที่ใช้บันทึกหลักธรรมค าสอนในพระพุทธศาสนาซึ่งมีมาก่อนการ รวมตัวเป็นอาณาจักรล้านนา ชาวล้านนาให้ความส าคัญแก่ภาษาล้านนาว่า เป็น “ตั๋วในธรรม” ด้วยความภาคภูมิในในภาษาของตนเอง - ในบรรดาภาษาท้องถิ่นที่มีอยู่ในประเทศไทยทั้งหมดนั้น มีภาษาไทย ล้านนาเพียงภาษาเดียวที่มีทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน บางภูมิภาคแม้ว่าจะมี ภาษาพูดของตนเองแต่ก็ไม่มีภาษาเขียน ต้องไปอาศัยอักษรในภาษาอื่นเพื่อมาเขียน ภาษาของตนเอง จึงนับเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจยิ่งของชาวล้านนาเป็นล าดับต่อมา - ภาษาไทยล้านนาใช้กันแพร่หลายในยุคอดีตที่ยาวนาน ตั้งแต่สิบสอง ปันนา ลงมาทางใต้จนถึงภาคเหนือตอนล่างของไทยแสดงถึงความเป็น พี่น้อง ที่มี สายสัมพันธ์ต่อกันมาอย่างยาวนาน ภาษาไทยล้านนาจึงเป็นภาษาที่ท าให้รู้สึกผูกพัน มีคุณค่าในทางจิตใจมากกว่าคุณค่าในตัวภาษาเองที่เป็นเพียงตัวอักษร เท่านั้น - ความเป็นภาษาที่มีความสละสลวย มีความละเอียดอ่อน ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน รวมทั้งมีอักขรวิธีที่เป็นลักษณะเฉพาะของตนเอง มีความล ้าลึกยิ่ง กว่าภาษาอื่นใดในโลก มีรูปแบบการเขียนและก าหนดตัวเลขเพื่อบอกจ านวนที่ แตกต่าง แต่ก็สามารเข้ากับระบบสากลได้อย่างลงตัว ไม่ด้อยกว่าชาติใดในโลกนี้เลย - สมควรที่พวกเราในฐานะอนุชนรุ่นหลัง จะได้ช่วยกันสืบสานและ อนุรักษ์ภาษาของ บรรพชนไว้ไม่ให้สูญหาย ตราบนานเท่านาน - ผู้จัดท าเอกสารนี้เป็นผู้เก็บรวบรวมจากเอกสารอื่นหลายฉบับตามที่ เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อการสอนของตนเองเท่านั้นและไม่ได้จัดท าเพื่อจ าหน่ายแต่ อย่างใด ต้องกราบขออภัยที่ไม่ได้อ้างอิงแหล่งที่มานั้น
๕ วัตถุประสงค์ การสร้างสื่อการเรียนการสอน “ แบบเรียนภาษาไทยล้านนา “ ฉบับนี้ เพื่อ ๑. ให้ผู้เรียนซึ่งอ่านออกเขียนได้แล้วสามารถเรียนรู้ภาษาไทยล้านนา ตามล าดับและตามความจ าเป็น โดยไม่ต้องเสียเวลาศึกษาในส่วนที่ยังไม่จ าเป็น ๒. เมื่อผู้เรียนศึกษาตามล าดับขั้นตอนดังกล่าวแล้ว จะเกิดความเข้าใจ และเกิดการเรียนรู้โดยไม่ต้องใช้เวลายาวนานเกินไป ๓. ผู้เรียนสามารถอ่านออก เขียนได้ และพิมพ์ได้บนคอมพิวเตอร์ใน เวลาอันสั้น
๖ สำรบัญ ค าชี้แจง หน้า ๓ วัตถุประสงค์ หน้า ๕ เริ่มต้นศึกษาอักขรภาษาล้านนากันเลย หน้า ๗ หมวดที่ ๑ พยัญชนะหลัก หน้า ๘ หมวดที่ ๒ สระ หน้า ๑๑ หมวดที่ ๓ พยัญชนะ ผสมกับ สระ คือ “ตั๋ว” ผสมกับ “ไม้” หน้า ๑๒ หมวดที่ ๔ วรรณยุกต์ หรือไม้ เพื่อบังคับเสียง หน้า ๑๓ หมวดที่ ๕ พยัญชนะต้นสองรูป หน้า ๑๔ หมวดที่ ๖ ค ามีตัวสะกด หน้า ๑๗ หมวดที่ ๗ หางหรือตั๋วเฟื้องของพยัญชนะตัวสะกด หน้า ๒๐ หมวดที่ ๘ โครงสร้างค าในภาษาบาลี หน้า ๒๑ - สระลอย หน้า ๒๓ - การใช้ไม้กั๋งไหล หน้า ๒๔ หมวดที่ ๙ การพิมพ์ภาษาค าเมืองโดยใช้คอมพิวเตอร์ หน้า ๒๕
๗ เร ิ่มต ้ นศ ึ กษำอักขรภำษำล้ำนนำกันเลย ภาษาล้านนามีลักษณะเฉพาะ มีระเบียบวิธีสร้างค าของตัวเอง แต่ก็มี อักขรวิธีท านองเดียวกันกับภาษาไทยกลาง คือมี ๑. มีพยัญชนะหลัก ๒. มีสระ ๓. มีตัวสะกด และ ๔. มีตัวบังคับเสียงซึ่งเรียกว่าวรรณยุกต์ เพื่อให้การศึกษาภาษาลาน นามีความ สะดวก และเกิดภาพที่ชัดเจนขึ้น จึงแบ่งบทเรียนออกเป็นหมวดๆ เพื่อให้ผู้เรียนค่อยๆ สร้างความเข้าใจ เกิดการเรียนรู้สามารถจ าและน าไปใช้ได้ ทีละขั้น ดังนี้ ๑. ศึกษารูปแบบพยัญชนะหลัก เทียบกับภาษาไทยกลาง ทีละ พยัญชนะ ๒. เปิดคอมพิวเเตอร์ เลือกใช้โปรแกรม Word / เลือกภาษาไทย/ และ ใช้ฟ้อนท์CR- Insom Lanna/ ขนาดอักษรตามใจชอบ แล้วลองพิมพ์พยัญชนะ ภาษาไทย จะปรากฏพยัญชนะภาษาไทยล้านนา ให้สังเกตรูปแบบ และลอง พิมพ์บ่อยๆ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถจดจ าได้อย่างรวดเร็ว ๓. ควรพิมพ์ทุกๆพยัญชนะตั้งแต่ ก-ฮ และพิมพ์บ่อยๆ ๔. เมื่อคุ้นเคยกับรูปแบบพยัญชนะทั้งไทยกลางและไทยล้านนาแล้ว ลองพิมพ์พยัญชนะผสมสระเดี่ยวทั้งหมด เพื่อสร้างค าง่ายๆ สังเกตรูปแบบเหมือนข้อ ๒. ควรพิมพ์บ่อยๆ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถจดจ าได้อย่างรวดเร็ว ๕. ลองพิมพ์ค าที่ประกอบด้วยพยัญชนะต้น + สระ + ตัวสะกด สังเกตต าแหน่งและลักษณะตัวสะกดที่เปลี่ยนไป
๘ หมวดท ี่๑ พยัญชนะหลัก - คล้ายกับภาษาไทยกลาง คือมีตัวอักษรครบทุกตัวเช่นเดียวกับ ภาษาไทยกลาง บางทีเรียกว่า “ต๋ัวเมือง” หรือ “ต๋ัวในธรรม” เพราะใช้ จ๋าร หรือ จารึก ค าสอนในพระพุทธศาสนาลงบนใบลานซึ่งเรียกว่า “ธรรม” - เพียงแต่รูปลักษณะของพยัญชนะและการออกเสียงแตกต่างกัน - พยัญชนะในภาษาล้านนาเรียกว่า “ต๋ัว” ทุก “ต๋ัว” อ่านออกเสียง เหมือนมีสระ “อะ” แทนสระ “ออ” ทุกพยัญชนะในภาษาไทยกลาง ต่อไปนี้เป็ นการเปรียบเทียบอักษรภาษาไทยกลาง การออกเสียง และ รูปลักษณะ “ตั๋ว”ของภาษาล้านนา ขอให้ผู้เรียนใช้การสังเกตและค่อยๆจดจ า ทั้งรูปลักษณะและการออกเสียง อย่ำลืม ! ศึกษาไปทีละขั้น / จากหน้าเอกสารบทเรียน / เปิดคอมพิวเตอร์แล้ว ปฏิบัติการพิมพ์ได้เลย ไทย กลาง ออก เสียง ตั๋ว เมือง ออก เสียง ไทย กลาง ออก เสียง ตั๋ว เมือง ออก เสียง ก กอ ก กะ ข ขอ ข ขะ ฃ ขอ ฃ ขะ ค คอ ค ก๊ะ ฅ คอ ฅ ค๊ะ ฆ คอ ฆ ค๊ะ ง งอ ง งะ จ จอ จ จะ ฉ ฉอ ฉ สะ ช ชอ ช จ๊ะ ซ ซอ ซ ซ๊ะ ฌ ชอ ฌ ชะ
๙ ญ ยอ ญ ยะ ฎ ดอ ฎ ระดะฏ ตอ ฏ ระตะ ฐ ถอ ฐ ระถะฑ ทอ ฑ ดะ ฒ ทอ ฒ ระทะณ นอ ณ ระนะ ด ดอ ฎ ดะต ตอ ต ตะ ถ ถอ ถ ถะท ทอ ท ต๊ะ ธ ทอ ธ ทะน นอ น นะ บ บอ บ บะป ปอ ป ปะ ผ ผอ ผ ผะฝ ฝอ ฝ ฝะ พ พอ พ ป๊ ะฟ ฟอ ฟ ฟะ ภ พอ ภ พะม มอ ม มะ ย ยอ ย ยะร รอ ร ระ ล ลอ ล ละว วอ ว วะ ศ สอ ศ สะษ สอ ษ สะ ส สอ ส สะห หอ ห หะ ฬ รอ ฬ ระอ ออ อ อะ ฮ ฮอ ฮ ฮะ
๑๐ ตั๋ว คือพยัญชนะภาษาค าเมืองเมื่อน ามาจัดเป็นวรรคและแยกตามฐานเสียง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ วรรค กะ ก ก ข ข ฃ ฃ ค ค ฅ ฅ ฆ ฆ ง ง วรรค จะ จ จ ฉ ฉ ช ช ซซ ฌ ฯฌ ญ ญ ว ร ร ค ระฏะ ฎ ฎ ฏ ฏ ฏพฯ ฐ ฑ ฑ ฒ ฒ ณ ณ ว ร ร ค ตะ ด ด ต ต ถ ถ ท ท ธ ธ น น ว ร ร ค ปะ บ บ ป ป ผ ผ ฝ ฝ พ พ ฟ ฟ ภ ภ ม ม ค าแนะน า *** ควรฝึกออกเสียงไปด้วย / เทียบเสียงพยัญชนะทุกวรรคช่อง ๑ และ ๒ มีระดับ เสียงเท่ากัน / ช่อง ๓, ๔ และ ๕ มีระดับเสียงเท่ากัน และแตกต่าง ช่อง ๑และ ๒ เศษวรรค = พยัญชนะที่จัดเข้าวรรคไม่ได้ ย ย ล ล ร ร ว ว ศ ศ ษ ษ ส ส ห ห ฬ ฬ อ อ ฮ ฮ ให้สังเกต : เสียงของพยัญชนะเศษวรรคบางตัวระดับเสียงเท่ากับ ช่อง ๑ และ ๒ บาง ตัวระดับเสียงเท่ากับ ช่อง ๓ ,๔ และ ๕
๑๑ หมวดท ี่๒ สระ ภาษาค าเมืองลานนาเรียก “สระ” ว่า ” ไม้“ เช่น -ะ เรียกว่า ไม้ก๋ะ -า เรียกว่า “ ไม้ก๋า “ สระอื่นๆก็เช่นเดียวกัน จะเรียกชื่อโดยมีค าว่า “ ไม้ “ ทุกตัว ไม้ ชื่อเรียก ไม้ ชื่อเรียก ไม้ ชื่อเรียก - ะ ไม้กะ แ- ไม้แก๋ เ - ะ ไม้เกอะ - า ไม้ก๋า เ-ะ ไม้โกะ เ - อ ไม้เก๋อ - ไม้กิ เ- ไม้โก๋ ไ- ไม้ไก๋ - ไม้กี๋ โ- อะ ไม้เกาะ ไ - ย ไม้ไก๋ย - ไม้กึ - อํ ไม้ก๋อ เ-ยฺย ไม้ไก๋ยย - ไม้กื๋ - ฺวะ ไม้กั๋วะ เ- า ไม้เก๋า - ไม้กุ - วฺ ไม้กั๋ว - า ไม้ก ๋า - ไม้กู๋ เ- ฺย ะ ไม้เกียะ - ไม้กั๋ง เ-ะ ไม้เกะ เ- ยฺ ไม้เกี๋ย - ไม้กิ๋ง เ- ไม้เก๋ เ - อืะ ไม้เกือะ แ-ะ ไม้แกะ เ - อือ ไม้เกื๋อ
๑๒ การพิมพ์ค าที่เกิดจากพยัญชนะ + สระ ให้พิมพ์ปกติเหมือนการพิมพ์ ภาษาไทย กลาง โปรดศึกษาและลองพิมพ์ หมวดท ี่๓ พยัญชนะ ผสมกับ สระ คือ “ต๋ัว” ผสมกับ “ไม้” ค าในภาษาล้านนาก็ท านองเดียวกับค าในภาษาไทยกลาง มักเป็นค า โดดที่เกิดจากการผสมรวมกันระหว่าง ตั๋ว และไม้ แค่นี้ก็เกิดค ามากมาย เช่น ค าเมือง กา ขา ปา จา ฝา ค ตา ท มา อา อ่านว่า ก๋า ขา ป๋ า จ๋า ฝา กา ต๋า ตา มา อา ค าเมือง ฎ ม ป ต ผ ช ว ส ฝี จ อ่านว่า ดี มี ปี๋ ตี๋ ผี จี วี สี ฝี จี๋ ท านองเดียวกันเมื่อผสมกับไม้อื่นๆก็เกิดค าขึ้นมากมาย เช่น ค าเมือง ห ป ฎถ ช ฮูปาธ ท ส ถ ผ อ่านว่า หู ปู๋ ดิถี จีฮู ป๋ าทู ตาสี ถืผี และทุก ตั๋ว ออกเสียง อะจึงออกเสียงตัวเองได้โดยไม่ต้องผสมไม้ กะ เช่น ค าเมือง ปต มณ หรือ มรณ อ่านว่า ปะตู๋ มรณ หรือ มะระณะ ต ๋ วัน ผสมกับไม้ก๋า -า จะนิยมใชร ้ ู ป น แทน ร ู ป นา ซึ่ง เป็ นลกัษณะเฉพาะทต ี่อ ้ งจา ***** ภาษาค าเมืองมีรูปแบบการจัดวาง “ไม้” รอบ “ตั๋ว” คือพยัญชนะต้น คล้ายกับภาษาไทยกลาง ดังนี้
๑๓ - - - - เ แ โ ไ ะ า - - - อ - ฺ ว หมวดท ี่๔ วรรณยุกต์ หรือไม ้ เพอ ื่บงัคับเส ี ยง ๑. วรรณยุกต์ภาษาค าเมืองล้านนา ในภาษาค าเมือง บางวรรคของพยัญชนะออกเสียงเหมือนมีวรรณยุกต์ก ากับอยู่ แล้ว โดยเฉพาะเสียงตรีและเสียงจัตวา ดังนั้นความจ าเป็นต้องใช้วรรณยุกต์ ตรี และจัตวาจะไม่มีความจ าเป็น และหากต้องการผันให้ครบเสียงวรรณยุกต์ก็ สามารถท าได้โดยพยัญชนะวรรคเดียวกัน แต่คนละกลุ่มที่มีเสียงพยัญชนะต้น คล้าย กัน เช่น ค ก่า ก ้ า ค้ กา หรือ พา ป่า ป้ า พ ้ า ปา เป็นต้น ๒. เครื่องหมายบังคับเสียง วรรณยุกต์ภาษาไทยกลาง ่่ ่้ ่๊ ่๋ เรียกว่า ไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จัตวา วรรณยุกต์ภาษาล้านนา - ่ - ้ - - เรียกว่า ไม้เหยาะ ไม้ซัด - - พยัญชนะต้น
๑๔ ภาษาไทย ่ั ่็ ่่ ่์ -ๆ - เรียกว่า ไม้หัน อากาศ ไม้ ไต่คู้ ไม้เอกซ้อนไม้ หันอากาศ ไม้โทซ้อนไม้ หันอากาศ ไม้ การันต์ ไม้ซ ้าค า/ ไม้ยมก เค รื่อ ง หม า ยค า เมืองล้านนา - - ้ -่ -้ - -ๆ - ฺ เรียกว่า ไม้ซัด ไม้ ซัด ไม้เหยาะซ้อน ไม้ซัด ไม้ซัดซ้อนไม้ ซัด ระห้าม ไม้ซ ้า/ เลขสอง ไม้ ก๋ง ตัวบังคับเสียงในภาษาไทยล้านนามักจะเรียกว่า “ไม้” น าหน้า และตามด้วยชื่อของตัว บังคับเสียงนั้นๆ มักมีต าแหน่งอยู่เหนือ “ตั๋ว” ที่ใช้บังคับ เช่น - เรียกว่า “ไม้เหยาะ” เทียบเท่ากับ”ไม้เอก”ในภาษาไทยกลาง - เรียกว่า “ไม้ซัด” เทียบเท่ากับ “ไม้โท” ในภาษาไทยกลาง ภาษาค าเมืองมีวรรณยุกต์อยู่เพียง ๒ ตัว แต่ใช้ร่วมกันได้ เช่น “เหยาะซ้อนซัด” คือ ไม้เอกซ้อนไม้หันอากาศ หรือ “ซัดซ้อนซัด” คือ ไม้โทซ้อนไม้หันอากาศ เหมือน ภาษาไทยกลาง ต่างกันเพียงภาษาค าเมืองมีไม้ซัดท าหน้าที่เป็นไม้หันอากาศก็ได้ หมวดท ี่๕ พยัญชนะต ้ นสองร ู ป ภาษาค าเมืองมีการน าพยัญชนะสองตัวมาควบกล ้า ใช้เป็นพยัญชนะ ต้นท านองเดียวกันกับการใช้พยัญชนะตัวเดียว เมื่อผสมกับสระแล้วท าให้ออกเสียง เฉพาะได้มากขึ้นกว่าเดิม เป็นการใช้เทคนิควิธีเพิ่มค าในภาษาค าเมืองเพื่อให้ออก เสียงได้ตรงกับธรรมชาติของภาษาพูดในท้องถิ่นได้ พยัญชนะสองตัวหรือสามตัวที่มาควบกล ้า มีทั้งที่ออกเสียงเดี่ยว เสียงคู่ หรือเสียงควบ ดังต่อไปนี้ ๑. พยัญชนะสองตัวมาควบกล ้า –ออกเสียงเดี่ยว ( การพิมพ์ต้องพิมพ์พยัญชนะต้น + พินธุ +ตัวควบกล ้า )
๑๕ รูป พยัญชนะ ก า ร อ อ ก เสียง ตรงกับ ไทยกลาง รูป พยัญชนะ การออก เสียง ตรงกับ ไทยกลาง ห ล หล๋ะ หล กฺก ข๋ะ กร ห หน๋ะ หน กฺข ข๋ะ ขร ห หม๋ะ หม กฺร คร๊ะ คร หย หญ๋ะ หย กฺร ผ๋ะ ปร ห ว หว๋ะ หว กฺพ พะ พร ห หง๋ะ หง กฺห หะ หร ๒. พยัญชนะสองตัวมาควบกล ้า –ออกเสียงคู่ รูป พยัญชนะ การออก เสียง ตรงกับ ไทยกลาง รูป พยัญชนะ การออก เสียง ตรงกับ ไทยกลาง กวฯ กว๋ะ กว ฅ วฯ คว๊ะ ฅว ขว ขว๋ะ ขว งฺว งว๊ะ งว ฃว ฃว๋ะ ฃว จ ว จว๋ะ จว ช ว ชว๋ะ ชว อยฺว อยว๊ะ อยว ซฺ ว ซว๋ะ ซว ร ว รว๊ะ รว ต ว ตว๋ะ ตว ลฺ ว ลว๊ะ ลว ถ ว ถว๋ะ ถว ส ว สว๋ะ สว
๑๖ นว นว๊ะ นว อ ว อว๋ะ อว ร ว กว๊ะ คว ๒. พยัญชนะสามตัวมาควบกล ้า – ออกเสียงควบ (การพิมพ์ พยัญชนะต้น+ พินทุ+ตัวที่๒+พินทุ+ตัวที่ ๓) รูป พยัญชนะ การออก เสียง ตรงกับ ไทยกลาง รูป พยัญชนะ การออก เสียง ตรงกับ ไทยกลาง ห ว หงว๋ะ หงว ห ล ว หลว๋ะ หลว ค าเมืองที่เกิดจากการใช้พยัญชนะต้นสองรูปหรือสามรูป หรือตัวควบ กล ้านั้นมีใช้หลากหลาย การอ่านคงใช้วิธีแยกค าเพื่อให้รู้ว่าส่วนใดคือพยัฐชนะต้น หรือ ตั๋ว และส่วนใดคือสระ หรือ ไม้ เช่น หู แยกค าแล้วมีห เป็นพยัญชนะต้น คือ หน๋ะ มี - เป็นสระ คือ ไม้กู๋ค า เมืองนี้ หู จึงอ่านว่า หนู ห า แยกค าแล้วมี หมฯ เป็นพยัญชนะต้น คือ หม๋ะ มี -า เป็นสระ คือ ไม้ก๋ำ ค าเมืองนี้ ห า จึงอ่านว่า หมำ ขวาย แยกค าแล้วมี ขวเป็นพยัญชนะต้น คือ ขว๋ะ มี -า เป็นสระ คือ ไม้ ก๋ำ มีหำงยะ คือ -ย เป็นตัวสะกด ค าเมืองนี้ ขว าย จึงอ่านว่า ขวำย ก่ว า แยกค าแล้วมี กวฯ เป็นพยัญชนะต้น คือ กว๋ะ มี -า เป็นสระ คือ ไม้ก๋ำ มี - คือ ไม้เหยำะเป็น ไม้เอก และมี - เป็นตัวสะกด ค าเมืองนี้ ก่ว า จึงอ่านว่า กว่ำง
๑๗ ห าวบ แยกค าแล้วมี ห วเป็นพยัญชนะต้น คือ หงว๋ะ มี -า เป็นสระ คือ ไม้ก๋ำ มี หำงบะ คือ -บฯ เป็นตัวสะกด ค าเมืองนี้ ห าวบ จึงอ่านว่า หงวำบ เช่น ห าห าวบน่องฺ อ่านว่า หมำหงวำบน่อง หมวดท ี่๖ ค ำมีตัวสะกด (ตัวสะกดค าเมืองปกติ อยู่ข้างล่าง และบางตัว เปลี่ยนรูปร่างเรียกว่า หาง หรือตั๋วเฟื้อง) ภาษาค าเมืองลานนาใช้มาตราแม่ กะ ก๋า เป็นแม่บทในการแจกลูก โดยใช้ ก เป็นตัวแจก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ กะ กา ก ก ก ก ก ก เก แก โก ไก เกา ก า ก ก ก ผู้เรียนสามารถฝึกหัดแจกลูกตามแบบแม่ กะ ก๋า โดยเปลี่ยนพยัญชนะ อื่นๆ แทน พยัญชนะ ก ตามล าดับสระ และแจกลูกตามมาตราการสะกด ๘ แม่ ดังต่อไปนี้ ๑. แม่กัก - ก กก ก ก กา ก ก ก ก ก ก ก ก ก ก ก ก ก เก ก แก ก โก กฺกอก ก ว ก กยก เก ก เกอ งก ๒. แม่กั๋ง - ก ฺก กา ก ก ก ก ก งฺ ก งงฺ เก แก
๑๘ โก ฺกองฺ กวงงฺ ก ยงงฺ เก เกอ งงฺ ๓. แม่กัด - ด ก ด ฺ ก ด กา ด ก ด ก ด ก ด ก ด ก ฎ ก ฎ เก ด แก ด โก ด ฺ ก ด อ ก วฎ กยฎ เก ด เก องฎ ๔. แม่กั๋น -นฯ ก ฺ ก กา ก ก ก ก ก ร ก ร เก แก โก ฺ กอร ก วร กยร เก เกอ ร ๕. แม่กับ -บ ก ฺบ ก บ กาบ ก บ ก บ ก บ ก บ ก ร ก ร เกบ แกบ โก ฺบ กฺอร ก ว ร กยร เก บ เกอ อบ ๖. แม่กั๋ม - ก ฺก กา ม ก ก ก ก ก งม ก งม เก แก โก ฺ กองม กวงม ก ยงม เก เกอ ม ๗. แม่ไก๋ย -ย
๑๙ เก ย กาย กา ว ก ว ก ว ก ว ก ว กย กยู เก ว แก ว โก ฺย กอ ก วย ก ยงว ๘. แม่ก๋าว -วฯ กา ว ก ว ก ว ก ก เก ว ก ยงว แก ว ะ แก ว เก ว ะ เก ว จากตัวอย่างการแจกด้วยมาตราตัวสะกด ผู้เรียนคงจะสังเกตเห็นว่า ๑. ตัวสะกดในภาษาค าเมืองลานนาอยู่ใต้พยัญชนะที่เป็นตัวแจก ยกเว้นตัวแจกที่ ประสมด้วยสระต่อไปนี้คือ - - โ-อ ะ - อ -ยะ -ย เ- อ ะ เ- ออ - วฺะ - ฺ ว คงมีเหตุผลสืบเนื่องมาจากต าแหน่งดังกล่าวมีสระครอบครองพื้นที่อยู่ ถ้าเขียน ซ้อนกันจะท าให้ไม่เป็นระเบียบ ๒. ตัวสะกดบางตัวมีการเปลี่ยนรูปร่าง เช่น แม่กั๋น ใช้ น เป็นตัวสะกด แต่จะ เห็นว่าเปลี่ยนไปเป็น - และท านองเดียวกัน แม่กั๋ม จะใช้ -มฯ เป็นตัวสะกดแทน ม เป็นต้น การเปลี่ยนรูปพยัญชนะขณะท าหน้าที่เป็นตัวสะกด นั้น ก็เพื่อให้มี ความกระชับ ไม่รุ่มร่ามเนื่องจากการใช้พยัญชนะซ้อนกันหลายตัว พยัญชนะที่ เปลี่ยนรูปแล้วเรียกว่า หาง หรือเชิง ส าหรับพยัญชนะบางตัวที่เป็นตัวสะกดจะมี การเปลี่ยนรูปซึ่งแสดงเอาไว้ในตารางถัดไป หมวดท ี่๗ หำงหรือต๋ัวเฟื้องของพยัญชนะตัวสะกด -ฐ หางระฐะ แทน ฐ เช่น รัฐบาล - รฏฺฐบ ล สัณฐาน - สณฐา
๒๐ - หางนะ แทน น เช่น กิ๋นมัน - ก ม วันนั้น - วน ้ น -บฯ หางบะ หรือ หางปะ แทน บ หรือ ป เช่น หม่าจั๋บ - ห่ าจบ ลาบดิบ ลฺาบฎบ - พ หางพะ แทน พ เช่น สัพพโรค - สพฺพโรคฺ บุพพกรรม - ร พฺพกม - หางมะ แทน ม เช่น นางงาม – น งฺา ม จ๋ามไอ - จาไ ม อ - ย หางยะ แทน ยฺ เช่น ขายอ้อย - ขายอ ้ อ เส้นสาย - เส ้ ส าย กฺ ระวง หรือ ระโฮง แทน ร เช่น กระดาษ - กฺกฎาส สระน ้า - กฺสน ้ -ฯล ละห้อย แทน ลฺ เช่น กุศล - ก สลฺ ผลบุญ - ผฺลร - ล ละหน้อย แทน ลฺ เช่น ว่ากล่าว - ว่ก่ล าฯ ว ภาคกลาง -ภาก ค ล า - สฯ สะเสียบ แทน ส เช่น โอกาส - โอกาสฯ ประภาส - กฺรกาส - ษฯ สะเสียบ แทน ษ เช่น ศึกษา - ศ กษา รักษา - ร กษา -ฯา ไม้ก๋าหลวง หรือ ไม้ก๋าโว้ง แทน -า ใช้เขียนเมื่อต่อท้ายพยัญชนะ ร ท ธ ร ว เพื่อป้องกันการผิดพลาดในการอ่าน เพราะจะดู คล้ายกับพยัญชนะตัวอื่น เช่น ค ท ธ ว จะดูคล้ายกับ ต และ บ จะดูคล้ายกับ ห เมื่อเขียนชิดกันมาก อนึ่งนิยมใช้ เขียนกับค าศัพท์ภาษาบาลีเช่น มร ค ฯาฯ ทยฺ กา กฺร บ -฿ ไม้ก๋ง ใช้แทน โ-ะ ( ลดรูป ) เช่น ตกลง - ต กฺลฺ ฺ นกกก - นก กฺกฺ
๒๑ - ฯ ไม้กั๋งไหล ใช้แทน - งฺ เช่น ทังหลาย - ทหฯล ห าย สังฆะ - สงฺ ห - ไม้กั๋งมน เครื่องหมายที่ออกเสียง “อัง” ใช้ในภาษาบาลี เช่น พุทธ – พ ท ธัมม - ธม - ไม้ระห้าม ใช้เขียนเพื่อไม่ให้ออกเสียงพยัญชนะนั้นๆ ตรงกับ เครื่องหมาย ่์ หรือทัณฑฆาต - ไม้เก๋าห่อหนึ้งใช้เขียนในกรณีสุดท้ายบรรทัดมีพื้นที่ไม่พอในการ เขียนสระ เ- า เต็มรูป -ๆ ไม้สองหน้อย มีวิธีใช้ดังนี้ ๑. เขียนท้ายค าเพื่อให้อ่านซ ้า ๒ ครั้ง เหมือนไม้ซ ้าค า เช่น ต่างๆ - ต่าๆ นาๆ - น ๆ ๒. เขียนเพื่อบังคับให้ออกเสียงพยัญชนะตัวนั้นๆ เช่น สๆ า - สะหน า ฎ ๆฯล - ดีหลี ๓. เขียนบนพยัญชนะเพื่อบังคับให้ออกเสียงสองพยางค์แบบ อักษรน า เช่น แสๆวงงฺ – แสวง ขๆ า - ขนาน สๆ า ม- สนาม หมวดท ี่๘ โครงสร้ำงค ำในภำษำบำลี ภาษาบาลีที่ปรากฏในค าภีร์ใบลาน เป็นภาษาที่ถ่ายทอดหลักธรรมใน พระพุทธศาสนา ตั้งแต่ยุคโบราณที่พระพุทธ ศาสนาเผยแผ่เข้ามาสู่แผ่นดินล้านนา จึง เขียนโดยใช้อักขระภาษาล้านนา และเรียกอักขระภาษาล้านนาว่าเป็น “ตั๋วในธรรม” หรือ “อักขรธมม์ล้านนา”
๒๒ มีวิธีสังเกตค าที่เป็ นภาษาบาลีง่ายๆจากโครงสร้างของค าซึ่งมักมี ลักษณะของการเขียนที่แตกต่างจากค าโดยทั่วไปคือ ๑. ตัวสะกดไม่ได้อยู่ใต้พยัญชนะหลัก โดยเขียนอยู่ในแนวบรรทัด เดียวกัน เรียกตัวสะกดในภาษาบาลีว่า “ ต๋ัวข่ม” เช่น อต า (อัตต๋า) อ = พยัญชนะต้น ต = ตั๋วข่ม ๒. มีตัวตำมอยู่ใต้ตัวสะกด โดยตัวตำมนี้ไม่ได้ท ำหน้ำที่เป็ น ตัวสะกดเหมือนคำ โดยท่ัวไป เรียกตัวตามในภาษาบาลีว่า “ต๋ัวซ้อน” เช่น อต า (อัตต๋า) ต ตัวบน = ตั๋วข่ม ต ตัวล่าง = ตั๋วซ้อน ๓. การอ่านค าในภาษาบาลี ให้อ่านพยางค์แรกจากพยัญชนะต้น + สระ ที่ก ากับพยัญชนะต้น + ตั๋วข่ม เป็นตัวสะกด เช่น อต า ตามข้อ ๑. ๔. อ่านพยางค์ถัดไปโดยใช้ ตั๋วซ้อน ท าหน้าที่เสมือนเป็นพยัญชนะต้น + สระที่อยู่โดยรอบ ตั๋วข่มที่ ๑ + และหากมีตั๋วข่มที่ ๒ ให้ใช้ตั๋วข่มที่ ๒ เป็นตัวสะกด เช่น อต า ตามข้อ ๒. ๕. ค าบาลีอาจมีหลายพยางค์ ให้อ่านโดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับตั๋ว ข่มและตั๋วซ้อนตามข้อ ๓.-๔. ของพยางค์ถัดๆไปตามล าดับ เช่น สมบต สมฺพ เท า (ผูส้อนอธิบายแยกคา ) ๖. ตั๋วข่มไม่ต้องเปลี่ยนไปใช้หาง แม้ว่าจะท าหน้าที่ตัวสะกด แต่ ตั๋วซ้อน ให้เปลี่ยนไปใช้หางตามรูปแบบของพยัญชนะที่มีหาง เช่น สมา (สัมมา) ๗. อักขระล้านนาทุกตัวอ่านได้โดยออกเสียง อะ อยู่แล้ว หากไม่มีสระ และตัวสะกด ก็ให้อ่านออกเสียงตามอักขระนั้นๆ เช่น สภาว (สะภาวะ) ๘. อักขระล้านนาทุกตัวอ่านได้โดยออกเสียง อะ อยู่แล้ว หากไม่มีสระ แต่มีตัวสะกดให้ออกเสียงเหมือนกับมีไม้หันอากาศ เช่น สมฺพน (สัมพันธะ)
๒๓ ๙. ใช้ไม้โก๋บาลี (เ-า) แทน ไม้โก๋ทั่วไป (โ-) ๑๐. ใช้ ร (ปะป้อม) แทน ป ๑๑. กรณี ตั๋ว ส ซ้อน ส ให้ใช้ สฺส (สะสองห้อง) ๑๒. กรณี ตั๋ว ซ้อน หรือ ซ้อน ณ ให้ใช้ ญฺญ ตัวอย่างค าในภาษาบาลีที่เขียนด้วยอักขรธมม์ล้านนา สก วต ถ ภเน จก ก ส ทส ท ชมฺพ พ ท พ เท า วงฺ สา นก ต อุรบชฌา ร ญฺญเก ต สมฺพ ทสฺส เวสฺสนร สพฺพญฺญ ก มณ ภด สระลอย คือสระที่ออกเสียงเฉพาะได้โดยไม่ต้องอาศัยพยัญชะใดๆมาผสม และเป็นค าๆ หนึ่งที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง เมื่อสระลอยท าหน้าที่จะวางอยู่ในต าแหน่งหน้า พยัญชนะอื่นเสมอและจะเป็นพยางค์แรกของค า สระลอยใช้ผสมคำ ทมี่ำจำกภำษำบำลีไม่นิยมผสมคำ ท่ัวไป ภาษาล้านนาเรียกพยัญชนะว่า “ตั๋ว” และเรียกสระว่า “ไม้”แต่จะเรียกสระลอย ว่า “ตั๋ว” เช่นเดียวกับพยัญชนะ สระลอยมีทั้งหมด ๘ ตัว คือ อ ตั๋วอะ อา ตั๋วอา อิฯ ตั๋วอิ อี ตั๋วอี อุฯ ตั๋วอุ อูฯ ตั๋วอู เอฯ ตั๋วเอ โอ ตั๋วโอ ตัวอย่ำงค ำที่มีสระลอย (สระลอย : พิมพ์ตามค าในภาษาไทยกลาง เครื่องจะ เปลี่ยนส่วนที่เป็นสระลอยให้เอง) อ ตั๋วอะ เช่น อยํ (อะยัง) อหํ (อะห ) อรหํ (อรห ) อา ตั๋วอา เช่น อาฅ (อา ฺ ฅ/่๊/ม) อาหาร(อาหาร) อารจ ย (อาจริย) อิ ตั๋วอิ เช่น อิม น (อิมินา) อิมาน (อิมานิ) อิตถ (อิต/่ /ถี)
๒๔ อี ตั๋วอี เช่น อีสา (อีสา) อีสา (อีสาน) อีโส (อีโส) อุ ตั๋วอุ เช่น อุต ม (อุต/่ /ตม) อุร (อุร ) อุเภา (อุโภ) อู ตั๋วอู เช่น อูต (อูติ) อูกา (อูก๋า) อูร (อูรุ) เอ ตั๋วเอ เช่น เอกา (เอก๋า) เอสาห (เอสาห ) เอว (เอว ) โอ ตั๋วโอ เช่น โอกาส (โอกาสะ) โอภาส (โอภาส) โอสถ (โอสะถ ) ตัวอย่ำงกำรเขยีนคำ สระลอยทไี่ม่ใช้ผสมคำ ท่ัวไป เช่น ม (มิ) ไม่นิยมเขียนเป็น มอิ มะอิ ฎ (ดี) ไม่นิยมเขียนเป็น ฎอี ดะอี ส (สุ) ไม่นิยมเขียนเป็น สอุ สะอุ เม (เม) ไม่นิยมเขียนเป็น เอม เอมะ กำรใช้ไม้ก๋ังไหล ( - ฯ ) ไม้กั๋งไหล ( - ฯ ) เทียบได้กับ “ ่ั ง “ ของภาษาไทยกลาง ท าหน้าที่เป็นตัวสะกด ออกเสียง “ อัง โดยเขียนไว้ด้านบนของพยัญชนะตัวที่ตามหลังพยัญชนะต้นซึ่ง “ไม้กั๋ง ไหล” สะกด ด้วยเหตุที่เขียนไว้บนพยัญชนะตัวถัดไปแต่ไหลมาสะกดกับพยัญชนะตัวที่อ ยู่ ด้านหน้า จึงได้ชื่อว่า ไม้กั๋งไหล เช่น สงฺ ห สก ห า อร ห า ร มร ห ลฺ
๒๕ หมวดท ี่๙ กำรพิมพ์ภำษำค ำเมืองโดยใช้คอมพิวเตอร์ - ปัจจุบันมีผู้พัฒนาฟ้อนท์ภาษาค าเมืองหลายแบบ เช่น LN TILOK , LN Mon Saen เป็นต้น - แต่ละฟ้อนท์มีขั้นตอนวิธีพิมพ์ไม่เหมือนกัน - บทเรียนนี้ก าหนดวิธีพิมพ์ตามฟอนท์ CR- Insom Lanna เพราะมี ขั้นตอนที่ไม่ยากเกินไป - เมื่อดาวน์โหลดและลงฟ้อนท์CR- Insom Lanna บนคอมพิวเตอร์ แล้ว ก็ใช้งานได้ทันที - ต้องพิมพ์ในโหมดภาษาไทยและเลือกฟ้อนท์ CR- Insom Lanna เลือกแป้นพิมพ์ภาษาไทย ตั้งค่าขนาดตัวอักษรเล็กใหญ่ตามความ พอใจ - การพิมพ์ส่วนใหญ่เพิมพ์เหมือนพิมพ์ภาษาไทยกลาง เมื่อพิมพ์เสร็จ เครื่องจะเปลี่ยนเป็นอักษรภาษาค าเมืองให้เอง - มีบางค าที่มีลักษณะไม่เป็นตามเงื่อนไข ต้องท าตามวิธีการของ ผู้พัฒนาฟ้อนท์นี้ ซึ่งมีไม่มาก
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
๓๐
๓๑
๓๒
๓๓
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
๔๐
๔๑
๔๒
๔๓
๔๔