The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supat moolmuang, 2019-06-06 03:48:35

หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1

ความสาคัญและประเภทของการผลติ กล้วยไม้เพ่ือการค้า

นางสุพตั รAมstลู raเมctอื ง
รายวชิ าการผลิตกล้วยไม้เพ่อื การคา้ (3502-2203)

หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูง

ใบความรู้ท่ี 1 หน่วยที่ 1
สอนคร้ังที่ 1
วชิ า การผลิตกลว้ ยไมเ้ พื่อการคา้ (3502 – 2302) รวม 2 ชว่ั โมง
ชื่อหน่วย ความสาคญั และประเภทของการผลิตกลว้ ยไมเ้ พือ่
การคา้ จานวน 4 ชวั่ โมง
ชื่อเร่ือง ความสาคญั และประเภทของการผลิตกลว้ ยไมเ้ พ่ือการคา้

หัวข้อเร่ือง
1. ความสาคญั ของกลว้ ยไม้
2. ประเภทของการผลิตกลว้ ยไมเ้ พือ่ การคา้

เนื้อหาสาระ

ศาสตราจารยร์ ะพี สาคริก ผทู้ ่ีไดร้ ับยกยอ่ งวา่ เป็นบิดาแห่งวงการกลว้ ยไมไ้ ทย เป็นผบู้ ุกเบิกกลว้ ยไมไ้ ทย
ให้ทวั่ โลกไดร้ ู้จกั เพาะพนั ธุ์ได้ และเป็ นผูเ้ ขียนตารากลว้ ยไมเ้ ล่มแรก เรื่อง หลกั การ ใช้ป๋ ุยสาหรับกลว้ ยไม้
เพราะท่านศึกษาคน้ ควา้ และฝึ กอบรมสอนวชิ ากลว้ ยไมข้ องมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์เป็ นคร้ังแรกของประเทศ
ไทย ปี 2490 มีการส่งดอกกลว้ ยไมไ้ ปต่างประเทศประมาณ 1 ลา้ นช่อ และพ้ืนท่ีการปลูกขยายเป็ นการคา้ มาก
ข้ึน เพิ่มมากข้ึนจนถึงปัจจุบนั และมีการจดั ทามาตรฐานกลว้ ยไมข้ องประเทศไทย สกุลสาคญั ท่ีมีการส่งออกอยู่
เสมอ ไดแ้ ก่ หวาย มอ็ คคารา อแรนดา้ แวนดา้ และออนซีเดียม เพอื่ ช่วยใหก้ ารศึกษากลว้ ยไมม้ ีมาตรฐานยง่ิ ข้ึน

รูปท่ี 1 ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก ผไู้ ดร้ ับยกยอ่ งวา่ เป็ นบิดาแห่งกลว้ ยไมไ้ ทย

และก่อนท่ีจะเรียนรู้ถึงประเภทและสกลุ กลว้ ยไมท้ ี่นิยมปลูกเป็นการคา้ ควรเรียนรู้เก่ียวความสาคญั ของ
กลว้ ยไมด้ งั น้ี

กล้วยไม้ไทยสกลุ ต่าง ๆ มีคณุ คา่ หลายประการด้วยกัน ดงั น้ี
1. ด้านการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมประเพณี คนไทยมักนิยมใช้กล้วยไม้ในการประดับตกแตง่ ท่ีพักอาศัย วดั วา
อาราม โดยผูกมัดต้นที่มีดอกไว้ตามจุดต่าง ๆ ของบ้าน ปะรา หรือเพิงพัก รวมท้ังประดับตกแต่งตามต้นไม้ใหญ่
บริเวณที่พัก เช่น กล้วยไม้สกุลช้าง และสกุลกุหลาบ ซึ่งเสน่ห์ของกล้วยไม้สกุลกุหลาบอยู่ตรงที่ออกดอกเป็นพวง
ห้อยระย้า และบางชนิดยังมีกล่ินหอมอีกด้วย ลักษณะช่อดอกเป็นพวงน้ันมองดูคล้ายกับพวงมาลัยดอกไม้สด
ต่างกันตรงท่ีพวงมาลัยเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น แต่ช่อดอกกล้วยไม้เป็นการสร้างสรรค์ของธรรมชาติ ด้วยความ
สวยงามอันโดดเด่นจงึ มีผู้นาดอกกล้วยไม้สกุลกุหลาบไปผสมพนั ธ์แุ ละเพาะเล้ยี ง รวมทง้ั ตงั้ ชอ่ื เพอื่ เป็นที่ระลึกถึงผู้ท่ี
ตนรกั หรอื เคารพนบั ถอื เปน็ พิเศษ เชน่ กุหลาบผุสดี กหุ ลาบจาปาทอง เป็นต้น
สาหรับดอกกล้วยไม้สกุลช้างน้ัน สมาคมกล้วยไม้เชียงใหม่ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้เคยจัดสวนกล้วยไม้
ประกอบด้วยกล้วยไม้ช้างแดง ช้างเผือก และช้างกระ จานวนนับร้อย ๆ ต้น รับเสด็จพระราชอาคันตุกะ เพ่ือเป็น
การถวายความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ กับเป็นการแสดงถึง
วฒั นธรรมท่ีดขี องไทยให้ชาวตา่ งประเทศได้เห็น ณ อาคารสนั ทนาการ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
นอกจากนี้แลว้ ในงานเทศกาลประเพณีต่าง ๆ จะพบว่ามผี ู้นาเอาดอกกล้วยไม้ไปใชเ้ ปน็ เครือ่ งประดับตาม
รา่ งกาย เชน่ ผม เสอ้ื ผ้า หรือนาไปถวายเปน็ พทุ ธบูชา เป็นของเยยี่ มคารวะแด่ผอู้ าวุโสและผู้ทีเ่ คารพนบั ถือ

รูปที่ 2 การใชก้ ล้วยไมป้ ระดับโต๊ะหมูบ่ ูชา และมอบเป็นของท่ีระลึก
ถ่ายภาพโดย: ดิษฐ์ ช่งั หิน, 2555

2. ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ กล้วยไม้มีแหล่งกาเนิดในป่า ต้นไม้ใหญ่ในป่าเป็นที่เกาะ
อาศัยของกล้วยไม้นานาพันธ์ุ ถ้ามองเข้าไปในป่าจะพบว่ามีกล้วยไม้มากมายหลายชนิด ทั้งมีดอกขนาดเล็ก ดอก
ขนาดใหญ่ สวยมาก สวยน้อย มกี ล่นิ หอม ไมม่ ีกล่นิ หอม ตวั อย่างเชน่ กล้วยไมส้ กุลกุหลาบ จะมีเสนห่ ด์ ึงดูดใจผู้พบ
เหน็ เปน็ พิเศษ ดว้ ยขนาดค่อนข้างใหญ่ ออกดอกเป็นช่อห้อยระยา้ อยู่ตามก่ิง ตามคบไม้ เหมอื นประติมากร บรรจง
แต่งไว้ นอกจากนอ้ี ีกหลายชนิดยงั มีกลิน่ หอมรัญจวนใจอีกดว้ ย

กล้วยไม้สกุลช้าง มีเสน่ห์ดึงดูดใจผู้พบเห็นด้วยลักษณะดอกท่ีเป็นช่อ บางชนิดห้อยย้อย บางชนิดชูต้ัง มี
สสี ันสวยงาม เกาะอยตู่ ามก่งิ ตามคบไมบ้ างชนิดมีกลนิ่ หอมอีกดว้ ย

กล้วยไม้สกุลเข็ม ลักษณะใบเขียวสดเรียงซ้อนทับกัน ดอกเป็นช่อชูตั้ง รูปทรงกระบอก สีสันสดใสต้นละ
หลายช่อ ช่อละหลายดอก เกาะอยู่ตามกิ่งตามคบไม้ ก็เป็นเสน่ห์ดึงดูดใจอกี แบบหนึ่ง

ความสวยงามอย่างหลากหลายของกล้วยไม้นานาพันธ์ุเหล่านี้ ช่วยเพ่ิมเสน่ห์และสีสันให้แก่ป่าเป็นอย่าง
มาก ดังนั้น ป่าไม้นอกจากเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าย่ิงของประเทศแล้ว ยังมีความงดงามของพืชพันธ์ุไม้
นานาชนิด รวมทัง้ กล้วยไม้ดว้ ย เราจงึ ตอ้ งรว่ มมอื กันปกป้องพิทักษ์ป่าใหค้ งอยู่ กลว้ ยไมท้ มี่ ีแหล่งกาเนิดอยู่ตามป่าก็
จะเจริญงอกงามอย่ไู ด้ การตดั ไม้ทาลายป่า การเผาป่า การเกบ็ กลว้ ยไมอ้ อกจากป่าจานวนมาก ๆ นอกจากเป็นการ
ทาลายทรัพยากรธรรมชาตทิ ม่ี คี ุณค่ายิ่งแล้ว ยงั รวมถึงการทาลายพชื พันธ์ไุ มต้ า่ ง ๆ ในปา่ รวมทงั้ กลว้ ยไมด้ ้วย

นอกจากนี้แล้ว แมว้ า่ ในปจั จุบนั เราจะสามารถผสมพันธุ์กล้วยไม้ได้ต่างไปจากพันธุ์แท้มากเพยี งใดก็ตาม ก็
ยังจาเปน็ ตอ้ งสงวนพันธแ์ุ ทไ้ ว้ให้มีโอกาสเจริญงอกงามตามธรรมชาติได้อย่างเหมาะ สม เพ่อื เป็นแหลง่ ศึกษาค้นคว้า
และผสมพันธ์ุแปลก ๆ ใหม่ ๆ ต่อไปด้วย เช่นนี้จึงเป็นอุบายที่ทาให้รู้จักรักษา และใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติใหเ้ กิดความยั่งยืนได้

รปู ท่ี 3 กลว้ ยไมช้ า้ งกระทีเ่ กดิ เองตามธรรมชาตบิ นตน้ ไม้ในวดั ป่ามัญจาคีรี อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแกน่
ถา่ ยภาพโดย : ดิษฐ์ ช่ังหิน, 2552

3. ด้านการพัฒนาตนเองและสังคม การสร้างความนิยมในการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สกุลต่าง ๆ เช่น สกุล
ช้าง กุหลาบ สิงห์โตกลอกตา และเข็ม ฯลฯ ให้เกิดข้ึนในหมู่คนไทย จะนาไปสู่การปรับปรุงพันธ์ุ การคัดเลือกพันธ์ุ
ตลอดจนการผสมพันธ์ใุ หม่ ๆ ท่ที าใหม้ คี วามสวยสดงดงามมากข้ึน ตัวอยา่ ง เช่น

ศาสตราจารย์ระพี สาคริก ผู้ผสมพันธ์ุกล้วยไม้สกุลช้าง คือ ช้างแดง ได้เป็นผลสาเร็จ สร้างช่ือเสียงเกียรติ
คุณให้แก่ประเทศไทยสู่วงการกล้วยไม้ทั่วโลกเป็นอย่างมาก ซ่ึงนอกจากกล้วยไม้สกุลช้างพันธ์ุแท้แล้ว กล้วยไม้
ลูกผสมสกุลช้างอีกหลายชนิดก็มีชื่อเสียงไปทั่วเช่นกัน กล้วยไม้รุ่นใหม่ ๆ จะมีความสวยงามกว่าบรรพบุรุษ
ก่อให้เกิดความรักความหวงแหน และความภาคภูมิใจในกล้วยไม้ไทยข้ึนในจิตสานึก นักกล้วยไม้ในประเทศไทยจะ
มกี ารแลกเปลีย่ นความรู้ซงึ่ กันและกันเกี่ยวกับกลว้ ยไม้ หากผ้ใู ดมกี ล้วยไม้ออกดอกสวย ๆ แปลก ๆ ปลูกในภาชนะ
ท่ีเคล่ือนย้ายได้ ก็มักจะนามาอวดประกวดกัน สร้างความสนิทสนมและความสนุกสนานเพลิดเพลิน การปลูกเลี้ยง
กล้วยไม้ด้วยใจรัก ด้วยการศึกษาหาความรู้ และนามาใช้อย่างพอเหมาะพอสม ไม่ลุ่มหลงในการสร้างมูลค่าของ
กล้วยไม้ ไม่
ปิดบังความรู้ท่ีได้มาจากการศึกษาค้นคว้าของตนนี้เองท่ีทาให้เกิดความเชื่อม่ันในตนเอง ในแง่น้ีกล้วยไม้จึงเป็นสื่อ
ในการพฒั นาท้งั ตนเอง และสังคมไปพรอ้ มกัน

รูปท่ี 4 กลว้ ยไม้ชา้ งลกู ผสมพันธใุ์ หมๆ่
ถ่ายภาพโดย : สพุ ตั ร มลู เมอื ง , 2555

4. ด้านเศรษฐกิจ กล้วยไม้เป็นไม้ดอกไม้ประดับท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนับแต่ปี
พ.ศ. 2509 ทเ่ี ริม่ มกี ารปลูกเลีย้ งกล้วยไม้ตดั ดอกเพ่ือการค้าและส่งออกอย่างจรงิ จงั เป็นครง้ั แรก จวบจนถึงปจั จุบัน
ประเทศไทยคือผู้ผลิต ผู้ใช้ และผู้ส่งออกกล้วยไม้เมืองร้อนเป็นอันดับ 1 ของโลก (วรรณภา, 2552) กล้วยไม้เป็น
สินค้าไม้ดอกไม้ประดับท่ีไดร้ ับความนิยมสูงในตลาดโลก เนอื่ งจากมีความสวยงามโดดเด่น มมี ลู คา่ จึงจัดเปน็ สินค้า

ประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) โดยอุตสาหกรรมกล้วยไม้ของไทยสามารถทารายได้ให้กับ
ประเทศไมต่ ่ากว่า 2,000 ลา้ นบาทในแต่ละปี

รูปที่ 5 กลว้ ยไมจ้ ดั เป็นสินคา้ ประเภทเศรษฐกจิ สร้างสรรค์
ถา่ ยภาพโดย : สพุ ตั ร มูลเมอื ง , 2552

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์และการจาแนก
1.1 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
กล้วยไม้จดั เป็ นกลุ่มของพืชอยู่ในวงศ์กล้วยไม้ (Family Orchidaceae) เป็ นพืชใบเล้ียงเดี่ยว

เช่นเดียวกบั พชื วงศห์ ญา้ ขิง ข่า ตน้ และใบของกลว้ ยไมส้ ่วนใหญ่มีลกั ษณะอวบน้า ไมม่ ีเน้ือไม้ กลว้ ยไมเ้ ป็นพืช
ที่มีขนาดแตกต่างกนั ต้งั แต่ขนาดเล็กหรือเล็กมาก บางชนิดเป็ นพืชล้มลุก บางชนิดมีลาตน้ เป็ นเหง้าหรือหัว
สะสมอาหารใตด้ ิน สร้างใบและดอกเพ่ือการแพร่พนั ธุ์ในฤดูกาลที่เหมาะสม ก่อนยบุ ตวั หรือลงหวั เพื่อพกั ตวั ใน
ฤดูแล้ง บางชนิดมีการเจริญเติบโตไปเร่ือย ๆ อาจเจริญทางด้านยอดหรือแตกตาขา้ ง จึงอาจเรียกว่าเป็ นไม้
เน้ือออ่ นอายยุ นื พชื วงศก์ ลว้ ยไมล้ กั ษณะที่แตกตา่ งจากพชื ใบเล้ียงเดี่ยว คือ

- เรณูเกาะกนั เป็นกอ้ นขนาดใหญไ่ มเ่ ป็นละออง
- ดอกมีกอ้ นเรณูดา้ นตรงขา้ มกบั ปาก กา้ นเดียวเท่าน้นั และปากอยูด่ า้ นท่ีติดกบั กา้ นช่อ แต่กา้ นช่อ
มกั บิดหรือโคง้ ใหป้ ากกลบั มาอยดู่ า้ นล่างเมื่อดอกบาน
- เกสรตวั เมียและเรณูติดอยูบ่ นเส้าเกสร ซ่ึงเป็ นกา้ นชูเกสรตวั เมีย เช่ือมรวมกบั กา้ นชูเรณู โดยการ
เช่ือมน้ีอาจเกิดเพยี งบางส่วนก็ได้

กลว้ ยไมม้ ีลกั ษณะโครงสร้างทางสัณฐานวิทยาท่ีประกอบดว้ ย ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล หรือฝัก
(เมล็ด) กลว้ ยไมม้ ีระบบรากหลายแบบท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั ชนิดพนั ธุ์และถ่ินท่ีอยูอ่ าศยั เช่น มีระบบรากอากาศ ก่ึง
อากาศ ก่ึงดิน และรากดิน กลว้ ยไมท้ ่ีมีระบบรากก่ึงอากาศจะมีลาตน้ โผล่พน้ เครื่องปลูก สามารถแยกไดเ้ ป็ น 2

ประเภท คือ พวกที่มีลาตน้ แทจ้ ริง จะมีขอ้ ปลอ้ งเหมือนพืชทวั่ ไป บริเวณขอ้ จะมีตาซ่ึงสามารถพฒั นาเจริญเป็ น
หน่อใหม่หรือช่อดอกได้ ไดแ้ ก่ กลว้ ยไมส้ กุลแวนดา้ แมลงปอ ส่วนอีกพวกหน่ึงเป็ นชนิดที่มีลาตน้ เทียม ที่
เรียกว่า ลาลูกกล้วย (pseudobulbs) ทาหน้าท่ีสะสมอาหาร ส่วนของตาท่ีอยู่ตามข้อบน ๆ ของลาลูกกล้วย
สามารถแตกเป็นหน่อหรือช่อดอกได้ ลาตน้ ท่ีแทจ้ ริงของกลว้ ยไมป้ ระเภทน้ีคือ เหงา้ (rhizome) ซ่ึงจะมีการเจริญ
เป็ นไปในแนวนอนตามผิวเครื่องปลูก ลกั ษณะของเหงา้ จะมีข้อและปลอ้ งถ่ี กลว้ ยไมใ้ นกลุ่มน้ีไดแ้ ก่ กลว้ ยไม้
สกุลหวาย สกุลแคทลียา สกุลซิมบีเดียม สกุลดอไรตีส และสกุลสเปรตโตรกลอตตีส (Spathoglotis) เป็ นตน้
สาหรับใบกลว้ ยไมม้ ีหลายลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ใบแบน ใบกลม ใบร่อง และมีหลายขนาด คือ ใบใหญ่ ใบเล็ก ใบส้นั
ใบยาว เป็นตน้ ส่วนของดอกประกอบดว้ ยกลีบดอก 6 กลีบ โดยแบ่งเป็นกลีบดอกช้นั นอก (sepal) 3 กลีบ กลีบ
ดอกช้นั ใน (petal) 3 กลีบ กลีบดอกช้นั นอก 2 กลีบ จะอยตู่ าแหน่งดา้ นขา้ งหรือกา้ นล่างจะมีลกั ษณะเหมือนกนั
อีกหน่ึงกลีบอยดู่ า้ นบนและอาจมีลกั ษณะท่ีแตกต่างกนั ออกไป ส่วนกลีบดอกช้นั ในท่ีอยูด่ า้ นขา้ ง 2 กลีบ จะมี
ลกั ษณะเหมือนกนั อีกหน่ึงกลีบที่อยดู่ า้ นล่างจะมีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไป เรียกวา่ ปากหรือกระเป๋ า (lip) ซ่ึงมี
ประโยชน์สาหรับใชล้ ่อแมลงเพื่อช่วยผสมเกสร ดอกกลว้ ยไมเ้ ป็ นดอกสมบูรณ์เพศ มีส่วนประกอบของก้าน
เกสรตวั ผู้ (stipe) กา้ นและยอดเกสรตวั เมียรวมเป็ นอวยั วะเดียวกนั เรียกวา่ เส้าเกสร (column) โดยอบั ละออง
เกสรตวั ผูเ้ รียกว่า เรณู (pollen) เกาะติดกนั เป็ นกอ้ น ซ่ึงเรียกวา่ กอ้ นเรณู (pollinia) อยู่ส่วนปลายเส้าเกสร และ
ยอดเกสรตวั เมีย (stigma) อยูใ่ ตอ้ บั เรณูมีลกั ษณะเป็ นแอ่งต้ืน ๆ ภายในมีเมือกเหนียวเพ่ือช่วยในการผสมพนั ธุ์
สาหรับรังไข่ (ovary) ของดอกกลว้ ยไมจ้ ะอยูต่ รงส่วนกา้ นดอกโดยฝังรังไข่อยูใ่ นส่วนกา้ นดอก (interior ovary)
ภายในรังไข่จะมีไขอ่ อ่ น (ovule) ซ่ึงแต่ละส่วนของกลว้ ยไมส้ ามารถจาแนกตามลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ไดด้ งั น้ี

1. ราก (root) กลว้ ยไมท้ วั่ ไปมีระบบรากแบบรากฝอย (fibrous root system) ขนาดของรากจะมีความ
แตกต่างกันตามชนิดของกล้วยไม้ ได้แก่ กล้วยไม้รากดิน (terrestrial orchids) กล้วยไม้รากก่ึงดิน (semi
terrestrial orchids) กลว้ ยไมร้ ากก่ึงอากาศ (semi epiphytic orchids) และกลว้ ยไมร้ ากอากาศ (epiphytic orchids)
สาหรับกล้วยไม้รากดินส่วนมากจะมีขนาดเล็กกว่ากล้วยไมร้ ากอากาศ ลักษณะรากโดยทวั่ ไปรอบนอกมี
ลกั ษณะคลา้ ยฟองน้าท่ีสามารถดูดความช้ืนจากอากาศ ธาตุอาหาร สะสมอาหาร และทาหนา้ ท่ีเกาะยดึ รากเส้น
หน่ึง ๆ จะมีขนาดแตกต่างกนั ที่ส่วนโคน ส่วนกลาง และส่วนปลายรากเท่าน้นั ส่วนปลายรากท่ีช้ีออกไปใน
อากาศจะมีลกั ษณะกลมแบบทรงกระบอก แตถ่ า้ รากไปเกาะยดึ กบั ส่ิงใดส่ิงหน่ึง ดา้ นที่สัมผสั กบั สิ่งเกาะยดึ จะมี
ลกั ษณะแบน ส่วนดา้ นตรงขา้ มจะโคง้ นูน และส่วนปลายรากท่ีไดร้ ับ แสงจะมีคลอโรฟิ ลล์ทาหนา้ ท่ีปรุงอาหาร
ได้ และนอกจากน้ียงั พบวา่ กลว้ ยไมท้ ่ีมีการเจริญเติบโตแบบซิมโพเดียม มีความสามารถทนทาน ต่อสภาวะ
ขาดน้ามากกวา่ กลว้ ยไมช้ นิดโมโนโพเดียม ท้งั น้ีเน่ืองจากลาตน้ ของกลว้ ยไมช้ นิด ซิมโพเดียมมีลาลูกกลว้ ย
หรือหวั เทียมสะสมน้าและอาหารอยมู่ าก

รูปท่ี 2 กลว้ ยไมร้ ากก่ึงดิน (semi terrestrial orchids) ไดแ้ ก่ รองเทา้ นารี

รูปท่ี 3 กลว้ ยไมร้ ากก่ึงอากาศ (semi epiphytic orchids)

รูปท่ี 4 กลว้ ยไมร้ ากก่ึงอากาศ (epiphyte orchids) และส่วนปลายรากท่ีเกิดใหม่จะมีคลอโรฟิ ลล์
2. ลาต้น (stem) กลว้ ยไมห้ ลายชนิดมีขอ้ ปลอ้ งเหมือนเหมือนกบั พืชใบเล้ียงเด่ียวชนิดอ่ืนโดยทวั่ ไป
บริเวณขอ้ ของลาตน้ จะมีท้งั ตาดอกและตาใบที่สามารถแตกเป็ นตน้ ใหม่ได้ กลว้ ยไม้ บางชนิดมีลกั ษณะลาตน้
เปลี่ยนเป็นหวั สะสมอาหารฝังอยใู่ ตด้ ินหรือมีลกั ษณะเป็นลาลูกกลว้ ย เพอ่ื เก็บกกั น้า และควบคุมระดบั การใชน้ ้า
เพือ่ การปรับตวั ใหส้ ามารถดารงชีวติ อยไู่ ดภ้ ายในสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมไดใ้ นแตล่ ะสภาพถ่ินที่แตกต่างกนั

ลาตน้ กลว้ ยไมส้ ามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภท คือ
(1) ลาต้นชนิดเหง้า (rhizome) เป็ นลาตน้ ท่ีทอดอยูใ่ นแนวระนาบ บนหรือในเคร่ืองปลูก โดย
กลว้ ยไมป้ ระเภทแตกกอน้นั เหงา้ เป็ นส่วนโคนของยอดที่ข้ึนต่อเนื่องกนั เนื่องจากปลอ้ งแรก ๆ ของกลว้ ยไม้
ประเภทน้ีเจริญในแนวระนาบก่อนท่ียอดจะเจริญข้ึนในแนวดิ่ง ซ่ึงขอ้ ของปลอ้ งที่อยู่ในส่วนที่เป็ นเหงา้ น้ี มีตา
ขา้ งที่พฒั นาอยา่ งสมบูรณ์ พร้อมจะเติบโตเป็ นยอดใหม่หรือช่อดอกได้ เช่น ในกลว้ ยไมส้ กลุ หวาย แคทลียา และ
รองเทา้ นารี
(2) ลาต้นชนิดคอร์ม (corm) เป็ นลาตน้ ใตด้ ินหรือมีหัวอยู่ใตด้ ินเป็ นท่ีเก็บสะสมอาหาร มี
ลกั ษณะบวมพองมากเป็ นพิเศษ มีการพกั ตวั ในบางฤดูกาล คงเหลือแต่เฉพาะหัวที่อยูใ่ ตด้ ินเท่าน้นั ซ่ึงพบใน
กลว้ ยไมท้ ี่มีรากดินเทา่ น้นั เช่น สกุลสเปรตโตรกลอตตีส (Spathoglottis bletia) และ Eulophia spp.
(3) ลาต้นชนิดลูกกล้วย (pseudobulb) เป็ นลาตน้ ท่ีเจริญข้ึนในแนวด่ิงของกล้วยไมป้ ระเภท
แตกกอท่ีมีรากอากาศ ลาลูกกลว้ ยมีอาหารสะสมอยูภ่ ายในทาให้บวมพองออก อาจพบในกลว้ ยไมส้ กุลหวาย
และแคทลียา

รูปที่ 5 กลว้ ยไมห้ วายท่ีมีระบบรากก่ึงอากาศ มีลาลูกกลว้ ยสะสมอาหาร

(4) ลาต้น (stem) เป็ นลาตน้ ที่เจริญข้ึนในแนวด่ิง แต่ไม่มีการสะสมอาหารอยู่ภายใน อาหาร
สะสมอยูใ่ นส่วนอ่ืน เช่น ใบหรือรากของกลว้ ยไมป้ ระเภทยอดเดี่ยว ซ่ึงมีรากอากาศที่มกั มีขนาดใหญ่และใบ
ค่อนขา้ งอวบหนา

รูปท่ี 6 กลว้ ยไมป้ ระเภทยอดเด่ียว มีระบบรากก่ึงอากาศ
3. ใบ (leaf) ลกั ษณะเป็ นใบเด่ียว ไม่มีใบย่อย มีหลายลกั ษณะข้ึนอยู่กบั แต่ละสกุล ลกั ษณะใบของ
กลว้ ยไมม้ ีความแตกต่างกนั หลายรูปแบบ มีท้งั ใบกลม ใบร่อง ใบแบน ใบจีบ ใบเรียบ มีท้งั ชนิดใบหนาและใบ
บาง นอกจากน้ีแลว้ ใบกลว้ ยไมย้ งั มีขนาดเล็กมาก จนกระทงั่ มีใบใหญ่หรือไม่มีใบติดอยเู่ ลย กลว้ ยไมส้ ่วนมาก
จะมีใบสีเขียวติดอยกู่ บั ตน้ ตลอดท้งั ปี แตอ่ าจมีกลว้ ยไมบ้ างชนิดจะทิง้ ใบไดใ้ นบางฤดู เพอ่ื ปรับตวั ในการใชน้ ้าท่ี
มีอยคู่ ่อนขา้ งจากดั ใหส้ ามารถดารงชีวติ อยไู่ ดภ้ ายใตส้ ภาวะขาดน้าตอ่ เนื่องเป็นระยะเวลายาวนานได้

รูปที่ 7 ลกั ษณะตน้ กลว้ ยไมท้ ี่มีการเจริญเติบโตแบบแตกกอ และมีระบบรากแบบก่ึงอากาศ

รูปที่ 8 ลกั ษณะตน้ กลว้ ยไมท้ ่ีมีการเจริญเติบโตแบบลาตน้ เดี่ยว รูปแบบใบกลม
และมีระบบรากก่ึงอากาศ

4. ดอก (flower) กลว้ ยไมเ้ ป็นพชื สมบูรณ์เพศ (hermaphrodite) มีท้งั เกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมียอยูใ่ น
ดอกเดียวกัน ลักษณะดอกกล้วยไม้ เป็ นส่วนประกอบสาคัญที่สุดท่ีใช้ในการจาแนกหรื อตรวจหาช่ือ
วทิ ยาศาสตร์ของกลว้ ยไมแ้ ต่ละชนิด ถึงแมว้ า่ จะมีความหลากหลายท้งั ในดา้ นสีสัน รูปร่าง ขนาด และกล่ิน ฯลฯ
แตโ่ ครงสร้างท่ีเป็นส่วนประกอบหลกั ของดอกกลว้ ยไมจ้ ะคลา้ ยคลึงกนั

กลว้ ยไมส้ ่วนใหญ่มีแมลงเฉพาะชนิดเป็ นพาหะในการถ่ายละอองเรณูและผสมเกสร มีท้งั ผ้ึง
ผเี ส้ือกลางวนั ผเี ส้ือกลางคืน แมลงปี กแขง็ และยงุ ฯลฯ จึงมีการปรับตวั เพอื่ ใหพ้ าหะเหล่าน้นั เขา้ มาผสมเกสรได้
โดยง่าย นอกจากลกั ษณะโดยทวั่ ไปแลว้ รูปร่าง สี กลิ่น และการสร้างน้าหวานในดอก ตลอดจนการปรับองศา
ของดอกใหต้ ้งั ในระดบั ตา่ ง ๆ ลว้ นเป็นววิ ฒั นาการอยา่ งสูงของกลว้ ยไม้ เพื่อใหแ้ มลงเฉพาะชนิดมาผสมเกสรได้
อยา่ งเหมาะสม กลว้ ยไมท้ ุกชนิดมีกลีบเล้ียงหรือกลีบนอก (sepal) 3 กลีบ แตใ่ นกลว้ ยไมบ้ างชนิดกลีบนอกน้ีอาจ
เช่ือมติดกนั หรือลดรูปลดจานวนลง เช่น ในสกุลรองเทา้ นารี (รูปที่ 10) ส่วนกลีบดอกหรือกลีบใน (petal) มี 3
กลีบ โดยท่ีกลีบหน่ึงแปลงรูปไปเป็นกลีบปากหรือกลีบกระเป๋ า (lip or labellum) กา้ นเกสรท้งั เพศผแู้ ละเพศเมีย
รวมเป็นอนั เดียวกนั อยกู่ ลางดอก เรียกวา่ เส้าเกสร (column) ดอกกลว้ ยไมอ้ าจไม่มีกล่ินหรือมีกล่ินหอมฉุนหรือ
เหม็นก็ได้ โดยอาจจะมีกลิ่นเป็ นบางเวลาหรือตลอดเวลากไ็ ดเ้ ช่นกนั ดอกกลว้ ยไมจ้ ดั เป็ นดอกสมบูรณ์เพศ คือ
มีท้งั ดอกเพศผูแ้ ละดอกเพศเมียอยู่ในดอกเดียวกนั ดอกกลว้ ยไมป้ ระกอบดว้ ย กลีบดอก 6 กลีบ แบ่งออกเป็ น
กลีบดอกช้นั นอก กลีบดอกช้นั ในมีเส้าเกสร และรังไข่ ซ่ึงแต่ละส่วนมีลกั ษณะดงั น้ี

กลีบดอก กลีบเล้ียง
Petal Sepal
กลุ่มเรณู
Pollinium เส้าเกสร
Column
จงอยยเวา้ กลีบปาก
Rosellum Lip
กลีบเล้ียง
เส้าเกสร Sepal
Column
กลีบปาก กลีบเล้ียง
Lip Sepal
กลีบดอก
Petal
รังไข่
Ovary
กลีบเล้ียง
Sepal

รูปที่ 9 ส่วนประกอบของดอกกลว้ ยไม้

(1) กลีบดอกช้ันนอก (sepals) มีกลีบดอก 3 กลีบ โดยมีกลีบนอกดา้ นบน (dorsal sepal) 1
กลีบ และมีกลีบดอกดา้ นขา้ ง (lateral sepal) อยู่ 2 กลีบ ซ่ึงกลีบดอกคู่น้ีจะมีสีสัน รูปทรง และขนาดเหมือนกนั
เท่ากนั ทุกประการ ส่วนกลีบดอกดา้ นบนอาจมีลกั ษณะเหมือนกนั หรือต่างไปจาก 2 กลีบดา้ นขา้ ง

(2) กลีบดอกช้ันใน (petals) มีกลีบดอก 3 กลีบ โดยกลีบในคู่บนมีสีสัน รูปทรง และขนาด
เหมือนกนั ทุกประการ ส่วนกลีบในอนั ล่างมีลกั ษณะผดิ แปลกออกไปในเร่ืองสีสัน หรือรูปทรง หรือขนาด หรือ
ผดิ แปลกไปทุกอยา่ ง กลีบในอนั ล่างน้ีจะมีช่ือเรียกเฉพาะวา่ ปาก หรือ กระเป๋ า (lip or labellum)

(3) เส้ าเกสร (column) เป็ นก้านท่ีย่ืนออกมาจากจุดรวมของกลีบดอก มีละอองเกสรเพศผู้
เรียกวา่ เรณู (pollen) เกาะติดกนั เป็ นกอ้ น ซ่ึงเรียกวา่ กอ้ นเรณู (pollinia) อยสู่ ่วนปลายสุดของกา้ นชูเกสร โดยมี
เยอ่ื หุม้ เป็ นกระเปาะหุ้มปิ ดอยู่ และเมื่อสุกแก่เตม็ ท่ีแลว้ จะแตกออกมาเอง แต่ในกลว้ ยไมบ้ างชนิดกระเปาะที่
ห่อหุม้ ปิ ดอยู่ อาจไม่แตกออกมาก็เป็นไป ส่วนเกสรเพศเมีย (stigma) จะอยใู่ นตาแหน่งท่ีต่าลงมาไมม่ าก และมกั
อยใู่ นหลืบเป็นแอง่ เวา้ เขา้ ไปในกา้ นชูเกสรอนั เดียวกนั และมีน้าเมือกเหนียวคลา้ ยครีม ซ่ึงสามารถรับละอองเรณู
ไดด้ ี

รูปที่ 10 กอ้ นเรณูอยสู่ ่วนปลายสุดของกา้ นชูเกสร โดยมีเย่อื หุม้ เป็ นกระเปาะหุม้ ปิ ดอยู่
ท่ีมา : Dressler Robert L., (1981)

(4) รังไข่ (ovary) อยใู่ นตาแหน่งใตฐ้ านกลีบดอกลงมา (รูปที่ 13) โดยฝังรังไข่อยใู่ นกา้ นดอก
(interior ovary) ภายในรังไขจ่ ะมีไข่ออ่ น (ovule)

รูปที่ 11 รังไข่ (ovary) ดอกกลว้ ยไมว้ า่ นเพชรหึง Grammatophyllum speciosum Blume
5. ช่อดอก (flower) อาจออกดอกเป็ นช่อเดียว ซ่ึงมีต้งั แต่ 1 ดอกข้ึนไป หรืออาจเป็ นช่อที่มีแขนง โดย
ช่อดอกน้ีเกิดจากส่วนหน่ึงส่วนใดของต้น บนช่อดอกอาจมีใบประดับขนาดต่าง ๆ ซ่ึงอาจมีสีสันสะดุดตา
สวยงามกวา่ ดอกก็ได้

รูปท่ี 12 ลกั ษณะช่อดอก (flower) กลว้ ยไมส้ กุลแคทลียา
6. ฝัก (pod) ฝักกลว้ ยไมจ้ ะขยายขนาดเด่นชดั มากหลงั จากการถ่ายเกสร รังไข่อยู่ระหวา่ งกา้ นดอก
และดอกจะบวมพองขยายออกเป็ นผลหรือฝัก ภายในมีเมล็ดอ่อน ฝักของกล้วยไมจ้ ะใช้เวลาในการพฒั นา
ต่างกนั ต้งั แต่ไม่กี่สัปดาห์จนถึงเกิน 1 ปี ซ่ึงเม่ือแก่เต็มที่แลว้ จะแตกออกตามยาว เพื่อปลดปล่อยเมล็ดออกมา
ปลิวกระจายไปทว่ั บริเวณ ฝักกลว้ ยไมจ้ ดั เป็ นผลชนิดแห้ง รูปทรงยาวรี หรือกลมป้อม ส่วนหวั ฝักและโคนฝักมี

ลกั ษณะเรียวแหลมตรงกลางป่ อง และมีลกั ษณะเป็ นกลีบหรือพู เม่ือสุกแก่เต็มที่แลว้ ฝักจะแตกออกทางตะเขบ็
ของกลีบหรือพูดา้ นขา้ งฝัก ขนาดของฝักข้ึนอยกู่ บั สกลุ และชนิดของกลว้ ยไม้

รูปที่ 13 ฝักกลว้ ยไมม้ ีลกั ษณะเป็นกลีบหรือพู

รูปที่ 14 ลกั ษณะฝักกลว้ ยไมส้ กลุ หวาย (เอ้ืองเงินหลวง)
7. เมล็ด (seed) มีขนาดเล็กมาก ลกั ษณะเป็ นผงละเอียดคลา้ ยละอองฝ่ ุน ฝักอ่อนจะมีสีเขียว เม่ือฝักแก่
ผวิ ฝักจะมีสีเหลืองแลว้ เปลี่ยนเป็ นสีน้าตาล เมื่อฝักแตกเมล็ดจะร่วงออกจากฝัก สามารถกระจายพนั ธุ์ไปไดไ้ กล
ๆ ท้งั น้ีเน่ืองจากมีน้าหนกั เบาทาใหป้ ลิวไปตามลมไดด้ ี ฝักหน่ึง ๆ มีเมล็ดจานวนมาก แต่พบวา่ ภายในเมล็ดไม่
มีอาหารสารองสะสมเพ่ือใชเ้ ล้ียงตน้ อ่อนที่เพง่ิ งอก ดงั น้นั ดว้ ยเหตุน้ีทาใหเ้ มล็ดกลว้ ยไมส้ ามารถงอกข้ึนมาเป็ น
ตน้ ไดน้ อ้ ยมาก เมลด็ กลว้ ยไมแ้ ต่ละชนิดจะมีขนาด รูปร่าง และสี แตกต่างกนั

รูปท่ี 15 ฝักและเมลด็ กลว้ ยไม้

2. การจาแนกประเภทของกล้วยไม้
2.1 การจาแนกทางอนุกรมวธิ าน
กล้วยไมท้ ้งั หมดในโลกน้ีจดั รวมอยู่ในวงศ์เดียวกนั คือ วงศ์กล้วยไม้ (Family Orchidaceae)

Dressler Robert L., (1981) แบ่งกลว้ ยไมอ้ อกเป็นวงศย์ อ่ ย (subfamily) ได้ 6 วงศย์ อ่ ยคือ
1. Subfamily Apostasioidaea
2. Subfamily Cypripedioidaea
3. Subfamily Spiranthoideae
4. Subfamily Orchidoideae
5. Subfamily Epidendroideae
6. Subfamily Vandoideae

การเขียนชื่อทางพฤกษศาสตร์ หรือช่ือวิทยาศาสตร์ (scientific name) ของกล้วยไม้ จะต้อง
ข้ึนตน้ ดว้ ยชื่อสกุล (genus) และตามดว้ ยชื่อชนิด (species) ชื่อสกุลเขียนชื่อข้ึนตน้ ด้วยอกั ษรตวั ใหญ่ ชื่อชนิด
เขียนช่ือข้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั เล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์น้ี การเรียงพิมพใ์ ห้กาหนดใชต้ วั เอน ถา้ เขียนใหข้ ีดเส้นใต้ ให้
ใชก้ ฎเกณฑน์ ้ีเป็ นมาตรฐานสากลสาหรับพืชทวั่ ไป โดยเฉพาะกลว้ ยไมจ้ ะใชก้ บั กลว้ ยไมพ้ นั ธุ์แท้ ส่วนกลว้ ยไม้
พนั ธุ์ลูกผสมจะไมม้ ีช่ือชนิด (specific name) แต่จะเขียนเป็ นช่ือลูกผสม (grex name) แทน และใหเ้ ขียนข้ึนตน้
ดว้ ยตวั ใหญ่ เช่นเดียวกบั ชื่อสกุล และไม่ตอ้ งขีดเส้นใตห้ รือตวั เอน เช่น

Vanda Rothschidiana (ลูกผสมระหวา่ ง Vanda sanderana x vandal coerulea)
Vanda Rose Davis (ลูกผสมระหวา่ ง Vanda Rothschidiana x vandal coerulea)

Ascocentrum Sagarik Gold (ลูกผสมระหว่าง เข็มแสด Ascocentrum miniatum x เข็มแดง
Ascocentrum curvifolium)

การเขียนช่ือพอ่ -แม่ ใหเ้ ขียนชื่อแม่ (ตน้ ที่ถือฝัก) ไวห้ นา้ ตามทา้ ยดว้ ยช่ือพอ่ (ตน้ ที่เอากอ้ นเรณู
มาผสม) สาหรับการต้งั ชื่อกลว้ ยไมล้ ูกผสมจะตอ้ งยนื่ เร่ืองขอจดทะเบียนชื่อที่ต้งั ข้ึนใหม่ที่ราชสมาคมพืชสวน
(THE ROYAL HORTICULTURAL SOCIETY) ณ ประเทศองั กฤษ ซ่ึงเป็ นสถาบนั สากลท่ีรับจดทะเบียนต้งั ช่ือ
กลว้ ยไมล้ ูกผสมทว่ั โลก สาหรับในประเทศไทยอาจขอให้สมาคมกลว้ ยไมต้ ่าง ๆ หรือสมาคมพฤกษชาติแห่ง
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ ช่วยส่งไปจดทะเบียนใหไ้ ด้ โดยมีกฎเกณฑว์ า่ กลว้ ยไมท้ ่ีจะขอจดทะเบียนต้งั
ช่ือน้นั จะตอ้ ง

- รู้ชื่อพอ่ -แมท่ ่ีแน่นอน
- ถา้ พ่อหรือแม่หรือท้งั สองฝ่ าย เป็ นพนั ธุ์ผสม จะตอ้ งมีชื่อที่จดทะเบียนแลว้ จึงจะขอจดทะเบียนชื่อ

ลูกได้
- จะตอ้ งเป็นคูผ่ สมท่ีไม่เคยมีใครขอจดทะเบียนมาก่อน
- กลว้ ยไมล้ ูกผสมท่ีขอจดทะเบียนต้งั ช่ือไดน้ ้นั จะตอ้ งปลูกเล้ียงจนออกดอกแลว้
- ผผู้ สมพนั ธุ์เป็นผขู้ อจดทะเบียน แตถ่ า้ ผอู้ ื่นขอจะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากผผู้ สมพนั ธุ์ก่อน

2.2 การจาแนกทางพนั ธ์ุศาสตร์
2.2.1 กล้วยไม้พนั ธ์ุแท้ หมายถึง กลว้ ยไมท้ ่ีมีความผนั แปรทางพนั ธุกรรมนอ้ ยมาก ส่วนใหญ่จะ
พบในกลว้ ยไมป้ ่ าเกือบท้งั หมด และเมื่อผสมพนั ธุ์กนั ภายในชนิดเดียวกนั ลูกที่ไดจ้ ะมีความผนั แปรทางพนั ธุกรรม
ในขอบเขตจากดั เช่น เขม็ แสด ผสมกบั เขม็ แสด ลูกท่ีไดย้ งั คงเป็นเขม็ แสดและเป็นพนั ธุ์แท้
2.2.2 กล้วยไม้พนั ธ์ุลูกผสม หมายถึง กลว้ ยไมท้ ี่เกิดจากการผสมพนั ธุ์ต่างชนิดกนั แลว้ ลูกท่ี
ไดจ้ ะมีความผนั แปรทางพนั ธุกรรมในขอบเขตที่กวา้ ง เช่น เข็มแสด ผสมกบั เขม็ แดง ลูกท่ีไดเ้ ป็ นพนั ธุ์ลูกผสม
ท่ีมีช่ือจดทะเบียนว่า เข็มสาคริกโกลด์ Ascocentrum Sagarik Gold และรวมไปถึงกลว้ ยไมพ้ นั ธุ์ลูกผสมชนิด
เดียวกนั ผสมพนั ธุ์กนั ลูกที่ไดก้ ็ยงั คงเป็นพนั ธุ์ลูกผสม

2.3 การจาแนกโดยอาศัยการเจริญเติบโตและลกั ษณะรูปทรง
2.3.1 โมโนโพเดียม (monopodium growth) กลว้ ยไมท้ ี่มีรูปแบบการเจริญเติบโตและพฒั นาการที่
เป็ นไปในทางส่วนสูง (รูปท่ี 16) ท้งั น้ีเน่ืองจากตายอดมีการเจริญเติบโตอยา่ งต่อเน่ืองในลกั ษณะท่ีตาขา้ งไม่มี
การพฒั นาหรือพฒั นานอ้ ยมาก ใชเ้ รียกแบบการเจริญเติบโตของกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา ฟาแลนอปซิส เป็นตน้

รูปท่ี 16 กลว้ ยไมท้ ี่มีรูปแบบการเจริญเติบโตพฒั นาการทางส่วนสูง (monopodium growth)
2.3.2 ซิมโพเดียม (sympodium growth) หมายถึง กลว้ ยไมท้ ี่มีรูปแบบการเจริญเติบโตแตกออก
ทางดา้ นขา้ ง เช่นเดียวกบั พชื ท่ีแตกกอทว่ั ไป (รูปที่ 17) เนื่องจากตายอดหยดุ การเจริญเติบโต อาจเนื่องมาจากการ
ฝ่ อหรือพฒั นาไปเป็ นตาดอกหรือช่อดอก ส่วนของตาขา้ งมีการเจริญเติบโตแตกกิ่งกา้ นสาขาออกมาจานวนมาก
เช่น กลว้ ยไมส้ กุลแคทลียา ซิมบีดียม เดน็ โดรเบียม เป็นตน้

รูปท่ี 17 กลว้ ยไมท้ ่ีมีรูปแบบการเจริญเติบโตแตกกอออกทางดา้ นขา้ ง (sympodium growth)
2.4 จาแนกตามลกั ษณะลาต้น
สาหรับตน้ กลว้ ยไมท้ ่ีโผล่พน้ จากเคร่ืองปลูกสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
2.4.1 ลาต้นแท้ คือ จะมีขอ้ ปลอ้ งเหมือนกบั ลาตน้ ของพืชใบเล้ียงเดียวทว่ั ๆ ไป ส่วนที่อยเู่ หนือ
บริเวณขอ้ จะมีตาที่สามารถเจริญเติบโตเป็ นหน่อใหม่และพฒั นาเป็ นช่อดอกได้ ลาตน้ ประเภทน้ีจะเจริญเติบโต
ออกไปทางส่วนยอด ไดแ้ ก่ กลว้ ยไมส้ กุลแวนดา้ แมลงปอ และรองเทา้ นารี

รูปที่ 18 ลกั ษณะลาตน้ แทข้ องกลว้ ยไมส้ กุลชา้ ง เหนือบริเวณขอ้ จะมีตาท่ีสามารถเจริญเติบโต
เป็นหน่อใหมแ่ ละพฒั นาเป็นช่อดอกได้

2.4.2 ลาต้นเทยี ม เรียกกนั โดยทวั่ ไปวา่ ลาลูกกลว้ ย ซ่ึงทาหนา้ ท่ีสะสมอาหาร ตาที่อยเู่ หนือบริเวณ
ขอ้ ส่วนบนหรือยอดของลาลูกกลว้ ยสามารถเจริญเติบโตเป็ นหน่อและพฒั นาเป็ นช่อดอกได้ แต่ลาตน้ ที่แทจ้ ริง
ของกลว้ ยไมป้ ระเภทน้ี คือ เหงา้ (rhizome) จะมีการเจริญไปในแนวนอนราบไปตามผิวของวสั ดุปลูก ลกั ษณะ
ของเหงา้ จะมีขอ้ และปลอ้ งถี่ กลว้ ยไมท้ ่ีมีลาตน้ ลกั ษณะน้ี ไดแ้ ก่ กลว้ ยไมส้ กุลหวาย แคทลียา เอพิเด็นดรัม
และออนซีเดียม เป็นตน้

รูปที่ 19 ลกั ษณะลาตน้ เทียม เรียกกนั โดยทวั่ ไปวา่ ลาลูกกลว้ ย ซ่ึงทาหนา้ ท่ีสะสมอาหาร

2.5 การจาแนกโดยอาศัยระบบราก
เพ่ือสะดวกแก่การเล้ียงดูกล้วยไม้ท่ีมีการเจริญเติบโต และมีระบบรากท่ีแตกต่างกัน เพื่อ

ประโยชน์ในการจดั อุปกรณ์ ภาชนะ เคร่ืองปลูกไดอ้ ย่างเหมาะสมสาหรับการปลูกเล้ียง ซ่ึงจาแนกระบบราก
กลว้ ยไม้ ออกเป็น 4 ประเภท คือ

2.5.1 กล้วยไม้รากอากาศ (epiphytic orchids) ลกั ษณะรากเป็ นเส้นมีขนาดใหญ่ ยาว เย่ือหุ้มราก
เปราะหักง่าย แต่มีความเหนียวมาก เพราะมีส่วนของไส้กลางเป็ นแกน รากกลว้ ยไมช้ นิดน้ีตอ้ งการแสงเตม็ ท่ี
และพ้ืนที่รากบางส่วนมีรงควตั ถุสีเขียว เพ่ือช่วยในการสังเคราะห์แสงอีกด้วย กลว้ ยไมร้ ากอากาศในกลุ่มน้ี
ไดแ้ ก่ สกลุ แวนดา สกลุ เขม็ สกลุ กหุ ลาบ เป็นตน้

รูปที่ 20 กลว้ ยไมท้ ่ีมีระบบรากอากาศ

2.5.2 กล้วยไม้รากกงึ่ อากาศ (semi-epiphytic orchids) ระบบรากอาศยั เกาะอยูต่ ามตน้ ไม้ หรือสิ่งท่ี
สามารถเกาะยดึ ได้ มีลกั ษณะรากเส้นใหญ่ข้ึนและมีจานวนรากลดลง รากเจริญเติบโตไดด้ ีในที่ค่อนขา้ งมืด ไม่
สัมผสั กบั แสงโดยตรง และชอบอากาศค่อนขา้ งโปร่ง มีการระบายอากาศไดด้ ี กลว้ ยไมร้ ากก่ึงอากาศในกลุ่มน้ี
ไดแ้ ก่ สกุลหวาย สกุลแคทลียา สกุลซิมบิเดียม

รูปที่ 21 กลว้ ยไมท้ ี่มีระบบรากก่ึงอากาศ
2.5.3 กล้วยไม้รากกง่ึ ดนิ (semi-terrestrial orchids) เป็นกลว้ ยไมท้ ่ีมีระบบรากหยาบมาก ข้ึนอาศยั
อยูใ่ นซากอินทรียท์ ่ีเป็นวตั ถุปกคลุมบนดิน บางชนิดอาศยั อยตู่ ามซอกหินที่มีเศษซากอินทรียวตั ถุ กลว้ ยไมร้ าก
ก่ึงดินในกลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ สกุลรองเทา้ นารี (บางชนิด)

รูปที่ 22 กลว้ ยไมท้ ี่มีระบบรากก่ึงดิน
2.5.4 กล้วยไม้รากดิน (terrestrial orchid) เป็ นกลว้ ยไมท้ ีม่ีระบบรากอาศยั อยูใ่ ตด้ ินเช่นเดียวกบั
ตน้ ไมโ้ ดยทว่ั ไป ลกั ษณะรากเส้นเลก็ จานวนมาก มีรากฝอยและขนหุม้ รอบราก กลว้ ยไมร้ ากดินในกลุ่มน้ี ไดแ้ ก่
สกุลรองเทา้ นารี (บางชนิด) นางอ้วั ทา้ วคูลู วา่ นจูงนาง เป็นตน้

รูปที่ 23 กลว้ ยไมท้ ่ีมีระบบรากอาศยั อยใู่ นดิน

2.6 การจาแนกโดยอาศัยอณุ หภูมทิ ก่ี ล้วยไม้ต้องการ
2.6.1 กล้วยไม้เมืองร้อน (tropical orchids) เป็ นกลว้ ยไม้ที่มีถ่ินกาเนิดในแถบเอเชียตะวนั ออก

เฉียงใต้ เจริญเติบโตอยไู่ ดใ้ นช่วงอุณหภูมิต้งั แต่ 18 องศาเซลเซียสข้ึนไป เช่น สกุลหวาย สกุลแวนดา สกุลเข็ม
สกลุ กหุ ลาบ สกลุ ชา้ ง สกลุ แมลงปอ

2.6.2 กล้วยไม้กึ่งเมืองร้อน (subtropical orchids) กล้วยไมท้ ่ีเจริญเติบโตอยูไ่ ด้ในช่วงอุณหภูมิ
ระหวา่ ง 18 – 21 องศาเซลเซียส กลว้ ยไมใ้ นกลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ สกลุ แคทลียา สกุลเลเลีย (laelia)

2.6.3 กล้วยไม้กึ่งเมืองหนาว (intermediate orchids) กลว้ ยไมท้ ่ีเจริญเติบโตอยไู่ ดใ้ นช่วงอุณหภูมิ
ระหวา่ ง 13 – 18 องศาเซลเซียส กลว้ ยไมใ้ นกลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ สกลุ ออนซีเดียม

2.6.4 กล้วยไม้เมืองหนาว (cool orchids) กลว้ ยไมท้ ี่เจริญเติบโตอยไู่ ดใ้ นช่วง อุณหภูมิระหวา่ ง 10
– 13 องศาเซลเซียส ถา้ หากอุณหภูมิต่าถึง 5 องศาเซลเซียส จะทาให้กลว้ ยไมช้ ะงกั การเจริญเติบโต และอาจถึง
ตายได้ กลว้ ยไมใ้ นกลุ่มน้ีไดแ้ ก่ สกุลซิมบีเดียม (รูปท่ี 24)

รูปที่ 24 กลว้ ยไมส้ กุลซิมบีเดียม
อยา่ งไรก็ตามพบวา่ กลว้ ยไมท้ ี่อยใู่ นสกุลเดียวกนั แต่ตา่ งชนิด อาจมีความตอ้ งการอุณหภูมิแตกต่าง
กนั เช่น สกุลซิมบิเดียมบางชนิด เช่น กะเรกะร่อน ซ่ึงเป็นกลว้ ยไมเ้ มืองร้อน
2.7 จาแนกตามความนิยมของผ้ปู ลกู เลยี้ ง
2.7.1 กล้วยไม้ทม่ี ีความสาคัญทางพืชสวน (horticultural important orchids) เป็นกลุ่มกลว้ ยไมท้ ่ี
มีสีสัน รูปทรงของดอกสวยงามสะดุดตา มีประโยชน์ และคุณค่าในการปลูกเพื่อจดั ประดบั ตกแต่ง ส่วนมาก
นิยมปลูกเพ่ือเป็ นการคา้ ในรูปของไมต้ ดั ดอก ไมด้ อกกระถาง โดยคานึงถึงความตอ้ งการของตลาด และความ
นิยมของผูป้ ลูกเล้ียง แต่ท้งั น้ีต้องอาศยั อยู่ภายใต้เง่ือนไขที่ว่า เป็ นพนั ธุ์กล้วยไมท้ ี่ปลูกเล้ียงปฏิบตั ิดูแลง่าย
สามารถหาพนั ธุ์ไดไ้ ม่ยากนกั

รูปท่ี 25 กลว้ ยไมส้ กุลแวนดา (ฟ้ามุ่ย)
2.7.2 กล้วยไม้ทม่ี คี วามสาคัญทางพฤกษศาสตร์ (botanical important orchids) เป็นกลุ่มกลว้ ยไม้
ท่ีมีคุณค่าทางพนั ธุกรรมพนั ธุ์พืช อาจเป็นกลว้ ยไมช้ นิดที่หายาก หรืออาจมีลกั ษณะ รูปทรง สีสนั ของลาตน้ และ
ดอกผิดแผกแตกต่างจากที่เคยพบเห็นโดยทวั่ ไป หรืออาจมีความสวยงาม หรือแปลกสะดุดตา จากลกั ษณะ
ดงั กล่าวน้ี อาจกล่าวไดว้ ่าเป็ นกล้วยไมท้ ี่มีประโยชน์ มีความสาคญั และมีคุณค่าอย่างยิ่งควรแก่การอนุรักษ์
พนั ธุกรรมพนั ธุ์พชื ตอ่ ไป

รูปที่ 26 กลว้ ยไมป้ ่ ามีคุณคา่ ควรค่าแก่การอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพนั ธุ์พชื

เอกสารอา้ งองิ

ชลติ พงศ์ศภุ สมิทธ์ิ. 2555. ววิ ฒั นาการกล้วยไม้ไทย. (ออนไลน)์ . สบื คน้ เม่อื วนั ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.
2555. จาก http://www.orchidtropical.com/articleid45.php

ดิษฐ์ ช่งั หิน. 2553. เอกสารประกอบการสอนวิชากล้วยไม.้ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยแี พร่. (อัดสาเนา).
ธนวนั ต์ บตุ รแขก. 2554. รวยด้วยกลว้ ยไม.้ .คู่มอื การปลกู เล้ียงกล้วยไมเ้ ชิงการค้า. กรงุ เทพ. นอี อนบคุ๊ มีเดยี .
ระพี สาคริก. 2549. กลว้ ยไม้สาหรับผู้เรมิ่ ต้น. กรุงเทพ. บรษิ ัท วศิระ จากดั .
วรรณภา เสนาดี, อทิพัฒน์ บุญเพิ่มราศี และ ดวงใจ เข็มแดง. 2552. ตุลาคม. มิติใหม่อุตสาหกรรมกล้วยไม้ไทย

และชอ่ งทางอาชีพ. กรงุ เทพ. เคหการเกษตร. 33(10). หนา้ 83-84
เศรษฐมันตร์ กาญจนสกุล. 2552. กล้วยไม้ไทย. กรงุ เทพ. เศรษฐศลิ ป์.
สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. 2551. คู่มือศึกษากล้วยไม้ป่า เล่ม 1. กรุงเทพ. โรงพิมพ์ชุมชุมสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .
อบฉนั ท์ ไทยทอง. 2551. กลว้ ยไมเ้ มืองไทย. กรงุ เทพ. อมั รินทรพ์ ร้ินตงิ้ แอนดพ์ ับลิชชิ่ง.


Click to View FlipBook Version