The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชุมชน 2564 final

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kimnattapong62, 2022-05-23 04:22:47

รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชุมชน 2564 final

รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชุมชน 2564 final

รายงานสถานการณ์
ของเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

กองจัดการกากของเสียและสารอนั ตราย
กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

คานา

รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ฉบับนี้ กองจัดการกากของเสีย
และสารอันตราย สานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑ – ๑๖ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด
๗๖ จังหวัด และหน่วยงานภาคเอกชนได้บูรณาการการทางานร่วมกันในการผลักดันและขับเคลื่อนให้เกิดการ
ดาเนินงานแก้ไขปัญหาการจัดการของเสียอันตราย ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ
(พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔) ให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และกองจดั การกากของเสยี และสารอันตราย ได้ติดตาม
รวบรวมข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา
อุปสรรคในการดาเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะเพ่ือให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์
ในการวางแผนและดาเนนิ งานในการป้องกนั และแก้ไขปญั หามลพษิ ของประเทศ

ขอขอบคุณหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้องที่ร่วมสนับสนุนข้อมูล รวมท้ัง
ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชุมชน
ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ มคี วามสมบูรณ์ครบถ้วน

กองจดั การกากของเสียและสารอนั ตราย
กรมควบคุมมลพิษ
มนี าคม ๒๕๖๕

สารบัญ หนา้

ส่วนท่ี ๑ บทนา
ส่วนที่ ๒ สถานการณ์ของเสยี อันตรายจากชุมชน ๓

๑. สถานการณ์ของเสยี อนั ตรายจากชุมชนของประเทศไทย ๑๓
๒. การดาเนนิ งานด้านการจดั การของเสียอนั ตรายจากชมุ ชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ๑๔
ส่วนท่ี ๓ สรุปและขอ้ เสนอแนะ
ส่วนท่ี ๔ กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั การจัดการของเสยี อันตราย ๑๗
ภาคผนวก ๒๘
ภาคผนวก ก รายละเอยี ดการดาเนินงานดา้ นการจัดการของเสยี อันตรายจากชุมชนรายจังหวัด ๓๗
ภาคผนวก ข รายช่อื บริษทั ผู้รบั บาบดั /กาจัดของเสียอันตรายจากชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อ
ภาคผนวก ค เอกสารเผยแพรเ่ ก่ยี วกับของเสียอันตรายจากชุมชน

รายงานสถานการณ์ของเสยี อันตรายจากชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑

ส่วนที่ ๑ บทนา

ความเปน็ มา
ปัญหาขยะยังคงเป็นปัญหาท่ีรัฐบาลให้ความสาคัญอย่างต่อเน่ือง โดยคณะรัฐมนตรีในการประชุม

เมือ่ วันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ มีมติเห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๙
– ๒๕๖๔) เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางการดาเนินการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
ของประเทศ โดยการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
ซึ่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง
อุตสาหกรรม จังหวัดทั้ง ๗๖ จังหวัด กรุงเทพมหานคร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ขับเคล่ือนการดาเนินงาน ซ่ึงเป้าหมายการดาเนินงานการจัดการของเสียอันตราย ตามแผนแม่บทการบริหาร
จดั การขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔) มีเป้าหมาย คือ ของเสียอันตรายชุมชนได้รับการรวบรวม
และส่งไปกาจัดถูกต้องตามหลักวิชาการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๒๐ ของปริมาณของเสียอันตรายชุมชนท่ีเกิดขึ้น
ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ร้อยละ ๒๕ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และร้อยละ ๓๐ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

โดยกาหนดมาตรการในการจัดการของเสยี อันตรายจากชุมชน ๓ มาตรการ ดงั น้ี
มาตรการท่ี ๑ มาตรการลดการเกดิ ขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตรายทีแ่ หล่งกาเนดิ

 การลดปรมิ าณขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตราย
๑. สนับสนุนให้ประชาชน สถานศึกษา หน่วยงานราชการ สถานประกอบการ และสถาน

บรกิ ารดาเนนิ การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยและของเสยี อนั ตรายในการนากลับมาใชป้ ระโยชน์
มาตรการท่ี ๒ มาตรการเพ่มิ ศกั ยภาพการจัดการขยะมลู ฝอยและของเสยี อนั ตราย

 เพิม่ ศักยภาพการจัดเก็บและขนสง่ ขยะมลู ฝอยและของเสียอนั ตราย
๑. ประเมินประสิทธิภาพการเก็บรวบรวม และขนส่งขยะมูลฝอย และจัดหาเคร่ืองจักร

อุปกรณ์ ยานพาหนะขนส่งขยะมลู ฝอยและของเสยี อนั ตรายใหเ้ พยี งพอและเหมาะสม
๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการคัดแยก เก็บรวบรวมขยะมูลฝอยและของเสีย

อนั ตรายชุมชนแบบแยกประเภท หรือกาหนดเวลาการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยแต่ละประเภท
๓. จัดให้มีสถานที่รวบรวมขยะมูลฝอยสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีอยู่ห่างไกล

เพ่ือรอการขนสง่ ไปยงั ศนู ย์กาจัดขยะมูลฝอยรวม
๔. จัดให้มีระบบการเรียกคืนซากผลิตภัณฑ์เมื่อหมดอายุการใช้งาน ต้ังแต่การเก็บรวบรวม

การรีไซเคิล และการบาบัดกาจัดอย่างปลอดภัยต่อส่ิงแวดล้อม ตามหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต
(Extended Producer Responsibility : EPR)

 เพม่ิ ศักยภาพการกาจัดและใชป้ ระโยชนข์ ยะมูลฝอยและของเสียอนั ตรายชุมชน
๑. จดั ต้ังสถานท่ีรวบรวมของเสยี อันตรายชุมชนและสง่ ไปกาจดั ในสถานทกี่ าจดั อย่างถูกตอ้ ง

รายงานสถานการณข์ องเสียอันตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒

 กฎหมาย/ระเบยี บ/หลักเกณฑ์
๑. พัฒนากฎหมาย อาทิ ร่างพระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและ

อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
๒. จดั ทาหลักเกณฑ์วิชาการในการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย อาทิ หลักเกณฑ์

ในการคัดเลือกพ้ืนที่ การออกแบบก่อสร้างและจัดการสถานที่กาจัดมูลฝอยชุมชน หลักเกณฑ์การดาเนินงาน
เตาเผามูลฝอยตดิ เชอ้ื หลักเกณฑ์การจดั การของเสียอนั ตรายจากชมุ ชน

มาตรการท่ี ๓ มาตรการสง่ เสริมการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยและของเสยี อนั ตราย

 สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยและของเสียอันตราย
๑. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความตระหนักให้เยาวชน และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

ในการจัดการขยะมูลฝอยต้งั แต่ต้นทาง จนถงึ การกาจดั ข้นั สุดท้าย
๒. สอดแทรกเนอื้ หาการจัดการขยะมูลฝอยในหลักสูตรการเรียนการสอนทุกระดับ เพ่ือสร้าง

ความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับการจดั การมูลฝอยและของเสียอันตราย
๓. พัฒนาระบบฐานข้อมลู และการรายงานด้านการจดั การขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตราย
๔. พัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้มีขีดความสามารถในการจัดการขยะ

มูลฝอยและของเสียอนั ตราย
๕. สร้างเครือข่าย/ศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย

ในครวั เรือน
๖. สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ ในการให้ข้อเสนอแนะ

ร่วมตัดสินใจและร่วมมือในการดาเนินโครงการบริหารจัดการขยะมู ลฝอยและของเสียอันตรายตั้งแต่ต้น
เพือ่ ลดความขัดแย้งและการต่อต้านจากประชาชน

๗. สร้างกลไก และเครือข่ายในการติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังการจัดการขยะมูลฝอย
และของเสียอันตรายโดยการมสี ว่ นร่วมของประชาชน

๘. สนับสนุนการลงทุนก่อสร้างโรงกาจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย โรงงานรีไซเคิล
ของภาคเอกชน เช่น ลดภาษเี ครื่องจกั ร เงนิ กู้ดอกเบี้ยต่า เป็นตน้

๙. การยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ประกอบการ หรือชุมชน หรือผู้บริหารองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถนิ่ ท่ีมีการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยและของเสียอนั ตรายทด่ี ี

รายงานสถานการณข์ องเสียอนั ตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓

สว่ นที่ ๒ สถานการณ์ของเสียอันตรายจากชมุ ชน

๑. สถานการณ์ของเสยี อนั ตรายจากชุมชนของประเทศไทย

ปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนที่เกิดขึ้นของประเทศไทยปี พ.ศ. ๒๕๖๔ เกิดขึ้น ๖๖๙,๕๑๘ ตัน

ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Waste from Electrical and

Electronic Equipment: WEEE) ๔๓๕,๑๘๗ ตัน หรือร้อยละ ๖๕ ในส่วนของของเสียอันตรายจากชุมชน

ประเภทอ่ืน ๆ เช่น แบตเตอร่ี ถ่านไฟฉาย ภาชนะบรรจุสารเคมี กระป๋องสเปรย์ เป็นต้น เกิดข้ึน ๒๓๔,๓๓๑ ตัน

หรอื ร้อยละ ๓๕ เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนที่เกิดข้ึนในปีท่ีผ่านมา พบว่ามีปริมาณ

ท่ีเกิดข้ึนเพ่ิมสูงขึ้น เน่ืองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน มีการจัดให้มีจุดรวบรวมของเสีย

อันตรายชุมชนและซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในชุมชน และห้างสรรพสินค้าเพื่อให้

ประชาชนสะดวกในการนามาท้งิ ส่งผลใหป้ รมิ าณของเสยี อันตรายจากชมุ ชนเพมิ่ สูงขน้ึ

เมื่อพิจารณาภาพรวมการเกิดของเสียอันตรายจากชุมชนในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๔

พบว่าปริมาณการเกิดมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะปริมาณของเสียอันตรายประเภท

ซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีอัตราการเพ่ิมข้ึนทุก ๆ ปี และมีแนวโน้มคงท่ีเฉลี่ย

ร้อยละ ๑.๖๐ ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ ต้นมา อันเป็นผลมาจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส

โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทาให้พฤติกรรมการบริโภคของประชาชนในประเทศเปล่ียนแปลงไปมีความต้องการ

ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพ่ิมมากขึ้น รวมถึงการเปล่ียนเเปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี

ส่งผลให้มีการเปล่ียนอุปกรณ์บ่อยขึ้นเพ่ือให้ทันต่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย การนาเข้าผลิตภัณฑ์บางส่วนท่ีมี

คุณภาพต่าทาให้อายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ฯ ไม่ยาวนานและก่อให้เกิดเป็นของเสียอันตรายจากชุมชน

ดังแสดงในตารางที่ ๑ และรปู ที่ ๑

ตารางที่ ๑ ปริมาณการเกดิ ของเสียอนั ตรายจากชุมชนในระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๔

ปี ปรมิ าณของเสีย อตั ราการเพมิ่ /ลด ปริมาณ WEEE อัตราการเพมิ่ /ลด ปรมิ าณของเสยี อนั ตราย
อันตรายจากชมุ ชน ปรมิ าณของเสยี (ตนั /ปี) ปริมาณ WEEE จากชมุ ชนประเภทอน่ื *
อนั ตรายจากชมุ ชน
(ตัน/ป)ี (ร้อยละ) (ตัน/ป)ี
(ร้อยละ)

๒๕๕๗ ๕๗๖,๓๑๖ + ๒.๔๐ ๓๗๖,๘๐๑ + ๒.๓๐ ๑๙๙,๕๑๕

๒๕๕๘ ๕๙๑,๑๒๗ + ๒.๕๗ ๓๘๔,๒๓๓ + ๑.๙๗ ๒๐๖,๘๙๔

๒๕๕๙ ๖๐๖,๓๑๙ + ๒.๕๗ ๓๙๓,๐๗๐ + ๒.๓๐ ๒๑๓,๒๔๙

๒๕๖๐ ๖๑๘,๗๔๙ + ๒.๐๕ ๔๐๑,๓๘๗ + ๒.๑๑ ๒๑๖,๖๓๙

๒๕๖๑ ๖๓๗,๙๓๐ + ๓.๑๐ ๔๑๔,๖๕๕ + ๓.๓๐ ๒๒๓,๒๗๕

๒๕๖๒ ๖๔๘,๒๐๘ + ๑.๖๑ ๔๒๑,๓๓๕ + ๑.๖๑ ๒๒๖,๘๗๓

๒๕๖๓ ๖๕๘,๖๕๑ + ๑.๖๑ ๔๒๘,๑๑๓ + ๑.๖๐ ๒๓๐,๕๓๘

๒๕๖๔ ๖๖๙,๕๑๘ + ๑.๖๕ ๔๓๕,๑๘๗ +๑.๖๒ ๒๓๔,๓๓๑

หมายเหตุ : * ปริมาณของเสยี อันตรายจากชุมชนประเภทอืน่ อาทิ แบตเตอรี่ ถา่ นไฟฉาย ภาชนะบรรจุสารเคมี

กระปอ๋ งสเปรย์ ทงั้ นี้ ไม่รวมซากผลิตภณั ฑเ์ ครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ (WEEE)

รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๔

ป ิรมาณ (ตัน) 800,000 ปริมาณของเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน
700,000
600,000 ปรมิ าณของเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน
500,000 ประเภทอ่ืน ๆ
400,000
300,000 ปี พ.ศ.
200,000 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ๒๕๖๓ ๒๕๖๔
100,000

0

รปู ที่ ๑ ปรมิ าณการเกิดของเสยี อนั ตรายจากชมุ ชนในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๔

๑.๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จากการรวบรวมข้อมูลมีซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์

อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเกิดขึ้นท้ังหมด แบ่งเป็น ๙ ประเภท ได้แก่ โทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า

คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ พัดลม หมอ้ หงุ ขา้ ว และ ไมโครเวฟ ดังแสดงในตารางท่ี ๒

ตารางที่ ๒ ปริมาณซากผลิตภณั ฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

ประเภทผลติ ภัณฑ์ ปรมิ าณซากผลิตภณั ฑ์ (ตัน/ปี)

๑. โทรทศั น์ ๙๐,๐๑๐.๒๕

๒. เครือ่ งปรบั อากาศ ๗๕,๙๑๘.๔๖

๓. ต้เู ย็น ๓๒,๖๘๑.๕๕

๔. เครอ่ื งซักผ้า ๘๕,๗๑๕.๖๖

๕. คอมพิวเตอร์ ๕๓,๖๒๘.๗๖

๖. โทรศัพท์ ๒๕,๐๒๐.๐๐

๗. พัดลม ๕๙,๙๗๙.๙๖

๘. หมอ้ หุงขา้ ว ๘,๗๔๑.๑๖

๙. ไมโครเวฟ ๓,๔๙๑.๒๐

รวม ๔๓๕,๑๘๗

ท่มี า : - รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการสารวจปรมิ าณและชนิดของซากผลติ ภณั ฑ์เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์
กรมควบคมุ มลพิษ พ.ศ. ๒๕๕๑
- อ้างอิงขอ้ มลู น้าหนกั เฉลยี่ ของซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จาก รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการ
พฒั นาแนวทางการประเมินปริมาณซากผลิตภณั ฑ์เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ กรมควบคุมมลพิษ
- ศนู ย์ขอ้ มลู เชิงลึกอตุ สาหกรรมไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สถาบนั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์
- สานักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ

รายงานสถานการณ์ของเสยี อนั ตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๕

๑.๒ ข้อมลู ปริมาณการรวบรวมและสง่ กาจัดของเสยี อนั ตรายจากชุมชนในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

สืบเน่ืองจากนโยบายภาครัฐสนับสนุนให้มีการวางระบบการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน

โดยถา่ ยโอนอานาจหน้าที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบูรณาการการทางานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึง

ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยจัดตั้งจุดรวบรวมของเสียอันตรายในชุมชนและกาหนดให้มีศูนย์รวบรวม

ในระดับจังหวัด ทาใหข้ องเสยี อันตรายไดร้ บั การจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น มีการคัดแยกและรวบรวมไปกาจัด

๑๔๗,๒๙๓.๙๖ ตัน คิดเป็นร้อยละ ๒๒ ของปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนที่เกิดขึ้นทั้งหมดในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายได้ ๑,๕๑๔.๐๙ ตัน และนาไปกาจัดอย่างถูกต้อง

๖๐๓.๑๒ ตัน ซ่ึงจากข้อมูลปริมาณการคัดแยกและรวบรวมของเสียอันตรายทั้งหมดไปกาจัด ยังต่ากว่าเป้าหมาย

ในแผนแมบ่ ทการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยของประเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔) ที่กาหนดไว้ร้อยละ ๓๐ สาเหตุ

เนอ่ื งจากประชาชนบางส่วนยงั ขาดความตระหนกั รู้เกยี่ วกับพษิ ภยั อนั ตรายจากซากผลิตภัณฑ์ฯ และผลกระทบ

ท่ีมีต่อสุขภาพอนามัยและส่ิงแวดล้อม ทาให้ไม่มีการแยกขยะ โดยทิ้งของเสียอันตรายจากชุนชนปะปนกับ

ขยะทั่วไป การเก็บรวบรวมเพื่อนาไปกาจัดยังระบบท่ีถูกต้องยังคงต้องพึ่งพาสถานท่ีกาจัดของภาคเอกชน

ซึ่งยังมีไม่ท่ัวถึงทุกภูมิภาคทาให้เกิดภาระด้านงบประมาณที่ต้องจ่าย นอกจากน้ี องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ยังไม่มีกฎระเบียบเฉพาะที่ชัดเจนในการบริหารจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน รวมถึงยังไม่มีกฎหมาย

ท่ีจะนามากากับดูแลให้ภาคเอกชนรับผิดชอบในการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์

อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งอาจนาไปสู่ปัญหาสารพิษจากของเสียอันตรายที่กาจัดไม่ถูกต้องตกค้างและปนเปื้อนในแหล่ง

น้าผิวดนิ และนา้ ใตด้ นิ ดงั แสดงในตารางที่ ๓

ตารางท่ี ๓ ปริมาณการรวบรวมและสง่ กาจัดของเสียอันตรายจากชุมชนในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

และภาคเอกชน (ขอ้ มูลระหว่างเดือน ตุลาคม ๒๕๖๓ – กันยายน ๒๕๖๔)

ลาดบั ข้อมูล ปริมาณท่ีเกบ็ รวบรวม (ตนั ) ปริมาณทสี่ ่งกาจดั (ตนั )

๑ โรงงานงานประเภท ๑๐๑ ๑๐๕ และ ๑๐๖ ๑* ๕๓,๑๖๓.๗๔ ๔๕,๔๖๗.๗๕
๒๑,๙๓๑ ๒๑,๙๓๑
๒ รีไซเคลิ แกว้ และพลาสตกิ (สานักงานเศรษฐกิจ แกว้ ๑๙,๑๔๒ ๑๙,๑๔๒
อุตสาหกรรมและสถาบนั พลาสตกิ )๒* ๑,๖๙๗ ๑,๖๙๗
พลาสตกิ

๓ ร้านรับซอ้ื ของเก่า (กรุงเทพมหานคร) ๓* แก้ว

พลาสตกิ ๒,๗๓๒ ๒,๗๓๒

๔ ของเสยี อันตราย (กรุงเทพมหานคร) ๔* อเิ ล็กทรอนิกส์ ๖,๔๒๗ ๖,๔๒๗

๕ โรงงานหลอมตะก่วั จากแบตเตอรีเ่ กา่ ๕* ๙๐๖.๓๘ ๙๐๖.๓๘

๖ ของเสียอนั ตรายจากชมุ ชนรายจงั หวดั ๗* ๔๘,๓๘๗.๗๑ ๔๘,๓๘๗.๗๑

๑,๕๑๔.๐๙ ๖๐๓.๑๒

รวม ๑๕๕,๙๐๐.๙๒ ๑๔๗,๒๙๓.๙๖

หมายเหตุ
๑. ขอ้ มลู จากโรงงานทีม่ กี ารรบั ของเสียอนั ตรายท่ีขึน้ ทะเบยี นประเภท ๑๐๑ ๑๐๕ และ ๑๐๖ ๑*
๒. ข้อมลู สานกั งานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรมและสถาบันพลาสติก ๒*
๓. ขอ้ มูลจากสถานการณ์การจดั การของเสยี อันตรายของกรงุ เทพมหานคร จากสานกั สิง่ แวดล้อม กรงุ เทพมหานคร ๓*
๔. ข้อมูลจากสานกั งานสง่ิ แวดลอ้ ม กรุงเทพมหานคร ๔*
๕. ขอ้ มลู จากรายงานประจาเดอื นของโรงงานหลอมตะก่ัวจากแบตเตอรีเ่ ก่า ๕*
๖. ขอ้ มูลจากองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ สานกั งานส่งิ แวดลอ้ มภาค ๑ – ๑๖ และสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั ๖*

รายงานสถานการณ์ของเสียอนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๖

๒. การดาเนนิ งานด้านการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชนและ

ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้ ๑,๕๑๔.๐๙ ตัน และส่งกาจัดอย่างถูกต้อง
๖๐๓.๑๒ ตัน โดยปริมาณของเสียอันตรายที่รวบรวมและส่งกาจัดส่วนใหญ่เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ บรรจุภัณฑ์
สารเคมี และถ่านไฟฉาย ซึ่งมีจังหวัดท่ีเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน ๗๓ จังหวัด และมีจังหวัดท่ีส่ง
ของเสยี อันตรายจากชมุ ชนไปกาจัด ๕๓ จงั หวัด ดงั แสดงในตารางท่ี ๔ และภาคผนวกที่ ๑

ตารางท่ี ๔ จังหวัดทร่ี วบรวมของเสยี อนั ตรายชุมชนและส่งไปกาจดั ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
(ขอ้ มลู ระหว่างเดือนตลุ าคม ๒๕๖๓ – กันยายน ๒๕๖๔)

ลาดับ จงั หวัด หน่วยงาน ที่ตงั้ ปรมิ าณที่รวบรวม ปรมิ าณท่ีสง่ กาจดั
รับผิดชอบ (ตัน) (ตน้ )
๑ เชียงราย อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง
๒ เชยี งใหม่ อบจ.เชียงราย อปท. เก็บรวบรวมในพ้ืนท่ีของตนเอง ๓๙.๖๙ ๓๙.๖๙
๓ แม่ฮอ่ งสอน อบจ.เชียงใหม่ อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง ๕๑.๐๘ -
๔ ลาพูน อบจ.แมฮ่ อ่ งสอน อปท. เก็บรวบรวมในพนื้ ทข่ี องตนเอง ๓.๙๒
๕ ลาปาง อบจ.ลาพูน อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง ๑๗.๔๙ ๓.๙๒
๖ พะเยา อบจ.ลาปาง อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๒๘.๔๓ ๑๗.๔๙
๗ น่าน อบจ.พะเยา อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๑๒.๑๘ ๒๘.๔๓
๘ แพร่ อบจ.น่าน อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง ๒๕.๙๙ ๑๒.๑๘
๙ พิษณุโลก อบจ.แพร่ อปท. เกบ็ รวบรวมในพ้ืนทข่ี องตนเอง ๑๘.๙๓ ๒๕.๙๙
๑๐ ตาก ทน.พษิ ณโุ ลก อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๑๒.๐๓ ๑๘.๙๓
๑๑ อุตรดิตถ์ อบจ.ตาก อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทขี่ องตนเอง ๑๓.๑๓
๑๒ สโุ ขทัย อบจ.อตุ รดติ ถ์ อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง -
ทม.สุโขทยั ธานี ๑๓.๔๓ -
๑๓ นครสวรรค์ ทม.สวรรคโลก ๑๒.๙๑ ๑๓.๔๓
๑๔ กาแพงเพชร อบจ.นครสวรรค์ ๑๒.๙๑
๑๕ พิจติ ร อบจ.กาแพงเพชร
๑๖ นครปฐม อบจ.พิจติ ร อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ท่ขี องตนเอง ๗.๙๔ ๗.๙๔
๑๗ ชยั นาท อบจ.นครปฐม อปท. เก็บรวบรวมในพนื้ ที่ของตนเอง ๘.๗๔ ๘.๗๔
๑๘ สุพรรณบุรี ทต.โพธพ์ิ ิทกั ษ์ อปท. เก็บรวบรวมในพนื้ ทข่ี องตนเอง ๓.๐๐ ๓.๐๐
๑๙ นครนายก อบจ.สุพรรณบรุ ี อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง ๐.๐๔
๒๐ นนทบรุ ี อบจ.นครนายก อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๐.๘๙ -
ทน.นนทบรุ ี อปท. เกบ็ รวบรวมในพ้ืนทข่ี องตนเอง ๑.๐๗ -
๒๑ ปทุมธานี ทน.ปากเกรด็ อปท. เกบ็ รวบรวมในพ้ืนที่ของตนเอง ๓.๗๔ ๐.๙๓
อบจ.นนทบรุ ี อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๓๑.๖๑ ๓.๗๔
จงั หวดั ปทมุ ธานี ๑๙.๖๕

อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๖๙๘.๓๒ -

รายงานสถานการณ์ของเสียอนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๗

ลาดับ จังหวัด หนว่ ยงาน ทต่ี ง้ั ปรมิ าณที่รวบรวม ปรมิ าณทีส่ ่งกาจัด
รบั ผิดชอบ (ตัน) (ต้น)

๒๒ พระนครศรอี ยุธยา อบจ.พระนครศรอี ยุธยา อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๖.๘๓ -
๑๓.๕๒ ๑๓.๕๒
๒๓ เพชรบรู ณ์ อบจ.เพชรบรู ณ์ อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง ๓๘.๒๘
๒๖.๕๐ -
๒๔ เพชรบุรี อบจ.เพชรบรุ ี อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง ๖.๘๔ ๒๖.๐๐
๐.๘๔
๒๕ ลพบรุ ี อบจ.ลพบุรี อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง ๓.๓๓ -
๒.๘๒ -
๒๖ สมทุ รปราการ จงั หวดั สมทุ รปราการ อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง ๑๒.๔๗ -
๑๐.๐๓ ๓.๐๑
๒๗ สมุทรสงคราม อบจ.สมทุ รสงคราม อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง ๒.๘๗ ๑๒.๔๗
๓.๓๑ ๑๐.๐๓
๒๘ สมทุ รสาคร อบจ.สมุทรสาคร อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง ๑๔.๙๑ -
๙.๓๔ -
๒๙ สิงหบ์ รุ ี อบจ.สงิ หบ์ รุ ี อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๓๐.๐๖ ๔.๖๖
๑.๖๓ ๙.๓๔
๓๐ นครราชสมี า อบจ.นครราชสมี า อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๖.๓๖ ๒๖.๖๘
๙.๑๒ ๑.๖๓
๓๑ สระบรุ ี อบจ.สระบุรี อปท. เก็บรวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๐.๗๖ ๖.๓๖
๔.๔๘ ๑๐.๐๙
๓๒ อ่างทอง ทม.อ่างทอง อปท. เก็บรวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๔.๓๓ ๐.๗๖
๑๔.๗๑ -
๓๓ อุทยั ธานี อบจ.อุทัยธานี อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๔.๗๘ ๔.๐๘
๑๐.๐๐ -
๓๔ ฉะเชิงเทรา อบจ.ฉะเชงิ เทรา อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๓๔.๑๕ ๔.๗๘
๒๔.๖๒ ๑๐.๐๐
๓๕ จันทบุรี อบจ.จันทบรุ ี อปท. เกบ็ รวบรวมในพ้ืนท่ีของตนเอง ๑๖.๘๔ ๓๔.๑๕
๑๘.๕๘ ๙.๗๘
๓๖ ชลบุรี อบจ.ชลบรุ ี อปท. เก็บรวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๘.๕๓ ๑๖.๘๔
๕.๐๐ ๑๘.๕๘
๓๗ ตราด อบจ.ตราด อปท. เก็บรวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๔.๐๐ -
๓๐.๗๒ ๕.๐๐
๓๘ ปราจนี บรุ ี อบจ.ปราจีนบุรี อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๖.๔๗ ๔.๐๐
๘.๔๘ ๓๐.๗๒
๓๙ ระยอง อบจ.ระยอง อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง ๖.๔๗
๔.๒๗
๔๐ สระแก้ว จงั หวดั สระแก้ว อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง

๔๑ ราชบุรี จงั หวดั ราชบุรี อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง

๔๒ กาญจนบุรี อบจ.กาญจนบุรี อปท. เก็บรวบรวมในพื้นที่ของตนเอง

๔๓ เลย อบจ.เลย อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง

๔๔ นครพนม อบจ.นครพนม อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทขี่ องตนเอง

๔๕ กาฬสินธุ์ อบจ.กาฬสินธุ์ อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง

๔๖ ขอนแกน่ อบจ.ขอนแก่น อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง

๔๗ บุรีรมั ย์ อยจ.บรุ รี มั ย์ อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง

๔๘ มหาสารคาม อบจ.มหาสารคาม อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง

๔๙ สุรินทร์ อบจ.สรุ ินทร์ อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง

๕๐ ชยั ภูมิ อบจ.ชัยภมู ิ อปท. เก็บรวบรวมในพ้ืนทข่ี องตนเอง

๕๑ มกุ ดาหาร อบจ.มกุ ดาหาร อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง

๕๒ ยโสธร อบจ.ยโสธร อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง

๕๓ ร้อยเอ็ด อบจ.ร้อยเอด็ อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง

๕๔ หนองคาย อบจ.หนองคาย อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง

๕๕ บึงกาฬ อบจ.บงึ กาฬ อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ทีข่ องตนเอง

รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๘

ลาดับ จงั หวดั หน่วยงาน ท่ีต้งั ปรมิ าณท่ีรวบรวม ปริมาณที่สง่ กาจัด
รบั ผิดชอบ (ตนั ) (ตน้ )
๕๖ สกลนคร อปท. เก็บรวบรวมในพืน้ ที่ของตนเอง ๔.๗๒ ๓.๐๙
ทน.สกลนคร
๕๗ ศรสี ะเกษ ทต.ทา่ แร่ อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๖.๖๑ ๘.๘๖
๕๘ หนองบัวลาภู อบจ.ศรีสะเกษ อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๘.๐๐ ๘.๐๐
๕๙ อุบลราชธานี อบจ.หนองบวั ลาภู อปท. เกบ็ รวบรวมในพื้นท่ขี องตนเอง
๖๐ อานาจเจรญิ อบจ.อุบลราชธานี อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง - -
๖๑ อดุ รธานี อบจ.อานาจเจรญิ อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทขี่ องตนเอง ๖.๔๐ ๖.๔๐
๖๒ ประจวบครี ขี ันธ์ อบจ.อุดรธานี อปท. เกบ็ รวบรวมในพืน้ ที่ของตนเอง ๑๐.๑๖ ๑๐.๑๖
๖๓ ชมุ พร อบจ.ประจวบคีรีขนั ธ์ อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทีข่ องตนเอง ๕.๖๒ ๕.๖๒
๖๔ ตรงั อบจ.ชมุ พร อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ทข่ี องตนเอง ๓.๕๑ ๓.๕๑
๖๕ กระบ่ี ทม.กันตรัง อปท. เกบ็ รวบรวมในพ้นื ที่ของตนเอง ๕.๙๘ ๔.๗๗
๖๖ นครศรธี รรมราช อบจ.กระบ่ี อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๓.๖๖ ๖.๙๔
๖๗ นราธวิ าส อบจ.นครศรธี รรมราช อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๙.๔๕ ๙.๔๕
๖๘ ปัตตานี อบจ.นราธิวาส อปท. เกบ็ รวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง
๖๙ พังงา อบจ.ปัตตานี อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง - -
๗๐ ภเู ก็ต ทม.พงั งา อปท. เก็บรวบรวมในพื้นที่ของตนเอง ๖.๖๕ -
๗๑ ระนอง ทน.ภูเกต็ อปท. เก็บรวบรวมในพนื้ ที่ของตนเอง ๒.๘๖ -
๗๒ พัทลงุ อบจ.ระนอง อปท. เก็บรวบรวมในพ้นื ทีข่ องตนเอง ๘.๙๔ ๘.๙๔
๗๓ สตูล อบจ.พัทลงุ อปท. เกบ็ รวบรวมในพ้นื ที่ของตนเอง ๐.๔๙ -
๗๔ สงขลา อบจ.สตลู อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทข่ี องตนเอง ๑๑.๑๒ ๑๑.๑๒
๗๕ สรุ าษฎรธ์ านี อบจ.สงขลา อปท. เก็บรวบรวมในพื้นทีข่ องตนเอง ๑๔.๒๐ -
๗๖ ยะลา อบจ.สรุ าษฎร์ธานี อปท. เก็บรวบรวมในพน้ื ที่ของตนเอง ๑๔.๘๕ ๑๔.๘๕
อบจ.ยะลา ๑.๐๐ -
๒.๙๒ -
รวม ๑,๕๑๔.๐๙ ๖๐๓.๑๒

รายงานสถานการณ์ของเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๙

จากการติดตาม รวบรวมผลการดาเนินงานในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่งพบว่าปริมาณของเสียอันตราย
จากชุมชนทเี่ ขา้ สูร่ ะบบการรวบรวมและกาจดั อยา่ งถูกต้องเพ่ิมมากขึ้น แต่เม่ือเปรียบเทียบกับปริมาณที่เกิดข้ึน
ในแตล่ ะปแี ล้วยังมีปรมิ าณท่นี อ้ ยมาก เมอื่ วิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานด้านการจัดการ
ของเสียอันตรายจากชุมชนยังมีข้อจากัดในหลาย ๆ ประเด็นที่ส่งผลให้การบริหารจัดการของเสียอันตราย
จากชมุ ชนไม่มปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ ทค่ี วร อาทิ

๑) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีระบบบริหารจัดการที่ดีขึ้นต้ังแต่การคัดแยก เก็บรวบรวมและ
ขนส่งของเสียอันตรายจากชมุ ชน แต่อยา่ งไรกต็ ามยังขาดการประชาสัมพนั ธใ์ ห้ความรู้อย่างต่อเนอ่ื ง จึงส่งผลให้
ประชาชนทิ้งของเสยี อันตรายชมุ ชนปะปนกับขยะมูลฝอยทั่วไป

๒) ประชาชนบางส่วนยังไม่มีความตระหนักในการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชนออกจาก
ขยะมูลฝอยทั่วไป

๓) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางส่วนยังไม่มีความตระหนักเก่ียวกับปัญหาการจัดการของเสีย
อนั ตราย ทาให้การวางแผน รณรงค์ คดั แยกทต่ี น้ ทางมีข้อจากัด

๔) โรงงานกาจัดของเสยี อันตรายมีจานวนไม่เพียงพอ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีภาคกลาง ส่งผลให้
การกาจดั ของเสยี อนั ตรายมีค่าใช้จ่ายคอ่ นข้างสงู

๕) ขาดการประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจท้ังระดับส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถ่ิน ทาให้
ประชาชนไม่มีความตระหนักในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดจากการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน
อย่างไมถ่ กู ตอ้ ง

๖) ของเสียอันตรายจากชุมชน และซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
บางประเภทถกู นาไปรีไซเคลิ ดว้ ยวิธกี ารท่ีไม่ถูกต้องตามหลักวชิ าการ กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม

๗) ระบบฐานข้อมูลในการเก็บรวบรวมและจัดทาข้อมูลปริมาณของเสียอันตราจากชุมชน
และซากผลิตภัณฑ์เคร่อื งใช้ไฟฟ้าและอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ ระหวา่ งสว่ นกลางและส่วนท้องถ่ินยังไม่เป็นระบบ
และเช่ือมโยงกัน ทาให้การบริหารจัดการไม่บรรลุเป้าหมาย ท้ังน้ี ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) หนว่ ยงานสว่ นกลางไดม้ ีการประยุกตใ์ ช้การรายงานข้อมูลผ่านทางรหัสคิวอาร์
(QR Code) เพ่อื ความสะดวกรวดเรว็ ในการดาเนนิ งาน

๘) ข้อจากัดของระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้าง ทาให้การดาเนินงานด้านจัดการ
ของเสียอันตรายจากชมุ ชนยงั ไม่บรรลุเป้าหมาย

รายงานสถานการณ์ของเสยี อนั ตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๐

อย่างไรก็ตามการบริหารจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนและซากผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
และอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ในภาพรวมของประเทศยังไม่ประสบความสาเร็จ และมีประสิทธิภาพเท่าท่ีควร เพื่อให้
การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น ประชาชนไม่มีการท้ิงของเสียอันตรายจากชุนชนปะปนกับ
ขยะทั่วไป และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการเก็บรวบรวมเพื่อนาไปกาจัดอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
ควรดาเนนิ การจดั การตงั้ แต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ดังน้ี (รูปที่ ๒)

๑) รปู แบบการจดั การของเสียอันตรายจากชุมชน ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์
อิเล็กทรอนกิ สท์ เี่ หมาะสมสาหรับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

(๑) การสรา้ งกลไกการคดั แยกของเสียอนั ตรายจากชมุ ชนตง้ั แต่ต้นทาง
โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งควรเลือกรูปแบบและวิธีการแยกทิ้ง ของเสีย

อนั ตรายจากชุมชนที่เหมาะสมในแต่ละพืน้ ที่
(๒) การแยกทิ้งของเสยี อันตรายจากชมุ ชน
โดยแยกท้ิงท่ีต้นทาง ณ บ้านเรือน/อาคาร/สานักงาน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ควรจัดให้มีจุดทิ้งของเสียอันตรายจากชุมชน (จุด drop off) ให้ครอบคลุมในชุมชน ห้างสรรพสินค้า ร้านค้า
สถานท่รี าชการ และทางสาธารณะ

(๓) การเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชมุ ชน
โดยใช้รูปแบบการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชนตามวิธีการแยกทิ้ง ซ่ึงองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิน่ ควรดาเนินการจัดเก็บอย่างนอ้ ย เดือนละ ๑ ครงั้
(๔) การเกบ็ กกั ของเสยี อนั ตรายจากชุมชน
โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ควรสร้างสถานที่เก็บกักของเสียอันตรายจากชุมชน หรือ

อาจพิจารณาปรับปรุงอาคารหรือสถานท่ีที่มีอยู่เดิม สาหรับใช้เก็บกักของเสียอันตรายจากชุมชน เพื่อส่งกาจัด
และจัดเตรยี มภาชนะบรรจุของเสยี อันตรายจากชุมชนแต่ละประเภท

(๕) การขนส่งของเสยี อันตรายจากชมุ ชน
โดยการขนส่งของเสยี อันตรายจากชมุ ชนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไปยังศูนย์รวบรวม

หรือสถานที่ที่จังหวัดกาหนด และการขนส่งของเสียอันตรายจากชุมชนไปบาบัดหรือกาจัดโดยบริษัทเอกชน
ทไ่ี ด้รบั อนุญาต ทัง้ นี้ ต้องเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการทก่ี าหนดไว้ในกฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง

(๖) การรไี ซเคิลของเสยี อนั ตรายจากชุมชน
ของเสียอันตรายจากชุมชนที่สามารถนาไปรีไซเคิลได้ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

สง่ ไปรีไซเคิลยังสถานท่ีรีไซเคิลท่ีได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน รวมทั้งต้องข้ึนทะเบียนเป็นโรงงาน
ประเภท ๑๐๕ และ ๑๐๖

(๗) การบาบัดและกาจัดของเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องส่งของเสียอันตรายจากชุมชนไปบาบัดหรือกาจัด

ณ บริษัทเอกชนท่ีได้รับอนุญาตให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน รวมทั้งต้องขึ้นทะเบียนเป็นโรงงาน
ประเภท ๑๐๑ ๑๐๕ และ ๑๐๖

รายงานสถานการณข์ องเสียอันตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๑

๒) แนวทางการบริหารจัดการในภาพรวมแต่ละจังหวัด
(๑) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก และขนาดกลาง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล

เทศบาลตาบล และเทศบาลเมือง ควรดาเนนิ การตามขน้ั ตอนท่ี (๑) – (๓) หรือ (๑) – (๔) โดยเก็บ ขนของเสีย
อันตรายจากชมุ ชนไปยังศูนย์รวบรวม หรือสถานทท่ี ่ีจังหวดั กาหนด

(๒) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินขนาดใหญ่ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และเทศบาลนคร
ควรดาเนินการตามขน้ั ตอนที่ (๑) – (๗) และ (๓) – (๗) หรอื (๔) – (๗)

(๓) องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ (เทศบาลนคร)
ควรจัดสร้างสถานที่เก็บกักของเสียอันตรายจากชุมชน หรืออาจพิจารณาปรับปรุงอาคารหรือสถานที่ท่ีมีอยู่เดิม
สาหรับใช้เก็บกักของเสียอันตรายจากชุมชน โดยเป็นศูนย์รวบรวมการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นในจังหวัด เพื่อส่งกาจัด และรับผิดชอบค่าขนส่งและค่ากาจัดแทนองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นขนาดเลก็ และขนาดกลาง หรืออาจเรียกเกบ็ เงนิ บางสว่ น (แล้วแต่กรณ)ี

๓) การออกระเบยี บเพ่ือรองรบั การบริหารจดั การในภาพรวม
(๑) ปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้อง เพื่อกาหนดอานาจและหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนจังหวัด

เพ่ือให้สามารถบริหารจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนในภาพรวมแต่ละจังหวัด และดาเนินการในจังหวัด
ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง

(๒) กาหนดระเบยี บขอ้ บงั คับในการใหอ้ งคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดเป็นศูนย์รวบรวมของเสียอันตราย
จากชมุ ชนของจงั หวดั

(๓) สนับสนุนการใช้เงินงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดในการบริหารจัดการ
ของเสียอันตรายจากชุมชนในภาพรวมแต่ละจังหวัด และสามารถสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการกาจัดให้องค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิน่ อืน่ ในจงั หวดั ได้

(๔) กาหนดระเบียบข้อบังคับให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือเทศบาลขนาดใหญ่ สามารถ
จดั เก็บคา่ บรกิ ารจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอ่นื ในจังหวัดได้

(๕) สนบั สนุนใหภ้ าคเอกชนเข้ามาดาเนินการให้บริการเกบ็ รวบรวมและขนสง่ ไปกาจัด

รายงานสถานการณข์ องเสยี อันตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๒

รปู ท่ี ๒ รปู แบบการจัดการของเสยี อนั ตรายจากชุมชน
รูปที่ ๓ ตวั อยา่ งการจดั การของเสียอนั ตรายจากชุมชน

รายงานสถานการณข์ องเสียอันตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๓

สว่ นท่ี ๓ สรปุ และขอ้ เสนอแนะ

เพ่ือสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องสนับสนุนองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ ดงั น้ี

๑) กรมควบคุมมลพิษ ได้ประสานหารือกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ในการพิจารณา
กฎระเบียบที่เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการขยะและของเสียอันตราย เพ่ือปรับปรุงแนวทางการดาเนินงาน
เพอื่ ไม่ใหเ้ ป็นอปุ สรรคในการดาเนินงานขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่

๒) ผลักดันการออกพระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ซ่ึงขณะน้ีอยู่ระหว่างการเสนอคณะกรรมการพัฒนากฎหมายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
และเสนอรฐั มนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เพ่ือพิจารณาเสนอคณะรฐั มนตรตี ่อไป

๓) ควรมีกลไกในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ อย่างเป็นระบบ ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทุกภาคส่วน ประกอบดว้ ย ผผู้ ลติ ผ้นู าเขา้ ผู้จดั จาหนา่ ย ผ้บู รโิ ภค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรบูรณาการ
การดาเนนิ งานร่วมกนั เพื่อใหเ้ กดิ การบรหิ ารจัดการขยะอเิ ล็กทรอนิกสท์ เ่ี ปน็ มติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม

๔) ควรผลักดันให้เกิดกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการดาเนินงานด้านการจัดการ
ของเสียอันตรายจากชุมชนของพื้นที่ร่วมกัน โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพ่ือเป็นการสร้างภาคี
เครอื ขา่ ยของจงั หวดั

๕) หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรสร้างแรงจูงใจให้ภาคประชาชน และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
เพ่ือให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมและลดปรมิ าณการเกดิ ซากผลิตภณั ฑ์ฯ

๖) หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรสนับสนุนให้เกิดการพัฒนานวัตกรรม และงานวิจัยในระดับชุมชน
เพ่ือนามาประยุกต์ใช้ในพื้นท่ี โดยเน้นให้ขยะเกิดมูลค่าและราคาตามกลไกการตลาด เพื่อลดปริมาณขยะ
มลู ฝอยและของเสียอนั ตรายจากชมุ ชนท่ีจะกาจัดใหเ้ หลือน้อยทสี่ ดุ

๗) ควรพิจารณากาหนดกลไกส่งเสริมและสนับสนุนการเพ่ิมศักยภาพในการดาเนินงานของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด โดยการประชาสัมพันธ์และสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการแจ้ง
ข้อมูลข่าวสาร การดาเนินการแก้ไขปัญหา รวมถึงการรายงานข้อมูลการเก็บรวบรวมของเสียอันตราย
จากชุมชนของจงั หวัด ทั้งน้ี เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณป์ ัจจบุ นั ซงึ่ อาจไดร้ ับผลกระทบจากการแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๔

ส่วนท่ี ๔ กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องกับการจดั การของเสียอนั ตราย

๑. กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๑. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒)

พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๔ “มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก

ภาชนะท่ีใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือส่ิงอ่ืนใดท่ีเก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่ีเล้ียงสัตว์ หรือที่อื่น และ
หมายความรวมถึงมูลฝอยตดิ เชอ้ื มูลฝอยท่เี ป็นพษิ หรอื อนั ตรายจากชมุ ชน

มาตรา ๑๘ การเก็บ ขน หรือกาจัดส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอยในเขตราชการส่วนท้องถิ่นใดให้เป็น
อานาจของราชการส่วนทอ้ งถนิ่ น้นั

ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ราชการส่วนท้องถิ่นอาจร่วมกับหน่วยงานของรัฐ หรือราชการ
ส่วนท้องถ่ินอ่ืนดาเนินการภายใต้ข้อตกลงร่วมกันก็ได้ แต่ในกรณีจาเป็นเพ่ือประโยชน์สาธารณะโดยส่วนรวม
รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงโดยคาแนะนาของคณะกรรมการกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ในการดาเนนิ การร่วมกันได้

ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ราชการส่วนท้องถ่ินอาจมอบให้บุคคลใดดาเนินการตามวรรคหน่ึงแทน
ภายใตก้ ารควบคุมดูแลของราชการส่วนท้องถ่ิน หรืออาจอนุญาตให้บุคคลใดเป็นผู้ดาเนินกิจการรับทาการเก็บ
ขน หรือกาจดั สง่ิ ปฏิกลู หรือมลู ฝอยตามมาตรา ๑๙ ก็ได้

บัญญัติตามมาตรานี้ และมาตรา ๑๙ มิให้ใช้บังคับกับการจัดการของเสียอันตรายตามกฎหมายว่าด้วย
โรงงาน แต่ให้ผู้ดาเนินกิจการโรงงานท่ีมีของเสียอันตราย และผู้ดาเนินกิจการรับทาการเก็บ ขน หรือกาจัด
ของเสยี อันตรายดังกล่าว แจง้ การดาเนินกจิ การเปน็ หนังสอื ตอ่ เจา้ พนักงานท้องถ่ิน

มาตรา ๑๙ ห้ามมิใหผ้ ู้ใดดาเนินกิจการรับทาการเก็บ ขน หรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย โดยทาเป็น
ธุรกิจหรือโดยไดร้ ับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคดิ คา่ บรกิ ารเว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจา้ พนกั งานท้องถิ่น

มาตรา ๒๐ เพ่ือประโยชน์ในการรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บ ขน และกาจัด
สิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ให้ราชการสว่ นท้องถิ่นมีอานาจออกขอ้ กาหนดของท้องถน่ิ ดงั ต่อไปน้ี

๑) ห้ามการถ่าย เท ทิ้ง หรือทาให้มีขึ้นในที่หรือทางสาธารณะซึ่งส่ิงปฏิกูล หรือมูลฝอย นอกจาก
ในที่ทรี่ าชการส่วนท้องถ่ินจดั ไวใ้ ห้

๒) กาหนดใหม้ ีท่ีรองรับสิ่งปฏกิ ูลหรอื มูลฝอยตามทีห่ รือทางสาธารณะและสถานทเี่ อกชน
๓) กาหนดวิธีการเก็บ ขน และกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยหรือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร
หรอื สถานทใี่ ด ๆ ปฏบิ ัตใิ ห้ถูกตอ้ งด้วยสุขลกั ษณะตามสภาพหรอื ลักษณะการใชอ้ าคารหรือสถานทนี่ ้นั ๆ
๔) กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการให้บริการของราชการส่วนท้องถ่ิน หรือบุคคลอ่ืนท่ีราชการ
ส่วนท้องถ่ินมอบให้ดาเนินการแทนในการเก็บ ขน หรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ไม่เกินอัตราท่ีกาหนด
ในกฎกระทรวง ท้ังน้ี การจะกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการกาจัดสง่ิ ปฏิกูลหรือมูลฝอย ราชการส่วนท้องถ่ินน้ัน
จะตอ้ งดาเนนิ การให้ถกู ต้องด้วยสขุ ลกั ษณะตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

รายงานสถานการณข์ องเสียอันตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๕

๕) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการเก็บ ขน และกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย เพ่ือให้
ผรู้ บั ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๙ ปฏิบัติ ตลอดจนกาหนดอัตราค่าบริการขั้นสูงตามลักษณะการให้บริการท่ีผู้รับ
ใบอนญุ าตตามมาตรา ๑๙ จะพึงเรียกเก็บได้

๖) กาหนดการอน่ื ใดที่จาเป็นเพื่อใหถ้ กู ต้องด้วยสขุ ลักษณะ
๒. พระราชบัญญัติสง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

ส่วนที่ ๖ มลพษิ อ่นื และของเสยี อนั ตราย
มาตรา ๗๘ การเก็บรวบรวม การขนส่ง และการจัดการด้วยประการใด ๆ เพื่อบาบัดและขจัด
ขยะมูลฝอยและของเสยี อน่ื ที่อย่ใู นสภาพของแขง็ ฯ ให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการน้นั
มาตรา ๗๙ ในกรณีท่ีไม่มีกฎหมายใดบัญญัติไว้โดยเฉพาะ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของ
คณะกรรมการควบคุมมลพิษ มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดชนิดและประเภทของของเสียอันตรายท่ีเกิด
จากการผลิต การใช้สารเคมี หรือวัตถุอันตรายในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม เกษตร กรรม
การสาธารณสุขและกิจการอย่างอน่ื ให้อยใู่ นความควบคุม ในการนี้ ให้กาหนดหลกั เกณฑ์ มาตรการ และวิธีการ
เพื่อควบคุมการเก็บรวบรวม การรักษาความปลอดภัย การขนส่งเคล่ือนย้าย การนาเข้ามาในราชอาณาจักร
การส่งออกไปนอกราชอาณาจักร และการจัดการบาบัด และกาจัดของเสียอันตรายดังกล่าวด้วยวิธีการ
ท่เี หมาะสมและถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าทเ่ี กยี่ วข้องดว้ ย
๓. พระราชบัญญตั วิ ัตถอุ นั ตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุอันตรายตามกฎหมายน้ี หมายถึง วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์
ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุท่ีทาให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุท่ีก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม
วัตถกุ ัดกรอ่ น วัตถทุ กี่ ่อใหเ้ กดิ การระคายเคอื ง และวตั ถอุ ย่างอนื่ ไม่วา่ จะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทาให้
เกิดอนั ตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรพั ย์ หรอื สงิ่ แวดล้อม
มาตรา ๑๘ วัตถอุ นั ตรายแบ่งออกตามความจาเป็นแก่การควบคุม ดังน้ี
๑) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๑ ได้แก่ วัตถุอันตรายท่ีการผลิต การนาเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน
ครอบครอง ต้องปฏิบตั ิตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ีกาหนด
๒) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ ได้แก่ วัตถุอันตรายที่การผลิต การนาเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน
ครอบครอง ต้องแจง้ ให้พนักงานเจา้ หน้าทท่ี ราบก่อนและต้องปฏิบตั ิตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการท่ีกาหนดดว้ ย
๓) วัตถุอันตรายชนิดท่ี ๓ ได้แก่ วัตถุอันตรายที่การผลิต การนาเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน
ครอบครอง ต้องรับใบอนญุ าต
๔) วัตถุอันตรายชนิดท่ี ๔ ได้แก่ วัตถุอันตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต การนาเข้า การส่งออก หรือ
การมไี ว้ในครอบครอง
เพอ่ื ประโยชน์แก่การป้องกันและระงับอันตรายท่ีอาจมีแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมโดยความเห็นของคณะกรรมการมีอานาจประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาระบุชื่อหรอื คุณสมบตั ิของวัตถุอันตราย ชนิดของวตั ถอุ นั ตราย กาหนดเวลาการใช้บังคับและหน่วยงาน
ผรู้ ับผดิ ชอบในการควบคมุ วัตถุอันตรายดงั กลา่ ว

รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๖

๒. กฎกระทรวง และประกาศทเี่ กย่ี วข้องกับการจดั การของเสยี อันตราย
๑. กฎกระทรวงสาธารณะสุข เรื่อง การจัดการมูลฝอยท่ีเป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๓

ลงวนั ที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๓ เพื่อจดั ระเบียบในการเกบ็ ขน หรือกาจัดมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
และกาหนดให้ผู้ซ่ึงก่อให้เกิดมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนคัดแยกมูลฝอยท่ีเป็นพิษหรืออันตราย
จากชุมชนออกจากมูลฝอยท่วั ไปและมลู ฝอยตดิ เช้อื ตามประเภท

๒. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง ชะลอการพิจารณาการนาเข้ามาในราชอาณาจักร ลงวันที่
๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๑ เพื่อชะลอการพิจารณาอนุญาตนาเศษ เศษตัด และของท่ีใช้ไม่ได้ซึ่งเป็นพลาสติกท่ีผ่าน
การใช้งานแล้ว ชิน้ สว่ นอุปกรณ์ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์หรอื เศษ เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราว และ
โควต้าการนาเข้าเศษพลาสติกได้หมดลงแล้วเมื่อวันท่ี ๒๑ กันยายน ๒๕๖๓ ดังนั้น ปัจจุบันจึงไม่มีการนาเข้า
เศษพลาสติก

๓. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง กาหนดชนิดและแหล่งกาเนิดวัตถุดิบที่จะนามาใช้ในโรงงาน
พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อห้ามนาขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่นาเข้าจากต่างประเทศใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงาน ประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษา เมอ่ื วนั ที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓

๔. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เร่ือง กาหนดให้ขยะอิเล็กทรอนิกส์เป็นสินค้าที่ต้องห้ามในการนาเข้ามาใน
ราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๖๓ เพ่ือยกเลิกการนาเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ จานวน ๔๒๘ รายการ ประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา เมอ่ื วนั ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๓

เอกสารดาวนโ์ หลด
กฎกระทรวง ประกาศ

รายงานสถานการณ์ของเสยี อนั ตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๗

ภาคผนวก ก

รายละเอยี ดการดาเนินงานดา้ นการจัดการของเสยี อันตรายจากชมุ ชนรายจังหวัด

ภาคผนว

การดาเนินงานด้านการจดั การของเส

(ขอ้ มูล ณ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖

ปรมิ าณการเก็บรวบรวมของเสียอนั ตรายจากชุมชนและซา

ลาดับ จังหวัด จดุ รวบรวม โทรศพั ทแ์ ละ การเก็บร
แบตเตอร่มี อื ถอื ถา่ นไฟฉาย กลุ่มห
1 เชียงใหม่ อบจ.เชียงใหม่
2 เชยี งราย อบจ.เชยี งราย - 3,880.36 24,4
3 แม่ฮ่องสอน อบจ.แมฮ่ อ่ งสอน 18,5
4 ลาพูน อบจ.ลาพูน 4,358.00 -
5 ลาปาง อบจ.ลาปาง 89
6 พะเยา อบจ.พะเยา - 83.97 9,59
7 แพร่ อบจ.แพร่ 2,651.00 15,1
8 นา่ น อบจ.นา่ น - 10,080.00
ทน.พษิ ณุโลก 7,2
9 พษิ ณโุ ลก อบจ.พิษณุโลก - - 15
อบจ.ตาก 1,51
10 ตาก อบจ.อตุ รดติ ถ์ - 1,490.0 7,75
11 อุตรดติ ถ์ ทม.สวรรคโลก 5,000
ทม.สโุ ขทยั ธานี - 140.22 5,53
12 สโุ ขทัย อบจ.เพชรบรู ณ์ 1,027.20 2,68
อบจ.นครสวรรค์ - 5,06
13 เพชรบรู ณ์ อบจ.กาแพงเพชร - 7,81
14 นครสวรรค์ อบจ.อุทัยธานี - 5,51
15 กาแพงเพชร 1,113.98 6,28
16 อทุ ัยธานี 50 301.40 2,13
662.50
- 250.00
823.40
142.12 699.1
12.50 446.50
17.90

-

-

-

-

วก ก

สียอันตรายจากชุมชนรายจงั หวัด

๖๓ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔)

ากผลิตภณั ฑ์เครอื่ งใช้ไฟฟา้ และอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์

รวบรวม (หน่วย:กโิ ลกรมั ) รวมน้าหนัก รวมนา้ หนัก
(กิโลกรมั ) (ตนั )
หลอดไฟ กลุ่มภาชนะ ซากผลิตภณั ฑ์ กล่มุ อนื่ ๆ รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
บรรจุสารเคมี เครื่องใช้ไฟฟา้ (ระบ)ุ 51,078.48 51.08
411.23 4,464.82 39,691.00 39.69
578.00 13,205.96 1,913.00 5,116.11 3,924.27 3.92
98.5 14,842.00 17,489.90 17.49
95.40 2,459.9 409 - 28,430.00 28.43
100.00 2,498.90 12,180.00 12.18
3,250.00 - 72.9 18,930.00 18.93
2,744.60 25.99
- 25,990 1.90
- 1,896.13 10.13
10,131
- - - - -
-
290.0 5,100.0 5,050.0 - 13.43
5,990 3,000 2,000 13,427.20 4.11
19.10 96.72 - 4,110.80 8.80
52.00 1,030 - 8,803.10 13.52
272.00 12 13,520.00 7.94
7,939.00 8.74
- 8,736.74 3.31
3,309.50
-- --

33.30 6,637.80 - -
83.80 667.70
65.20 2,347.60 365.40 80.00
10.00 4,890.00 661.90 48.00
19.70 1,449.00 520.00 50.00
84.74 1,115.50 146.50
37.00 633.00 637.4 -
30.00 -
63.00

๑๘

ลาดับ จงั หวดั จุดรวบรวม โทรศพั ทแ์ ละ การเก็บร
ถา่ นไฟฉาย กลมุ่ ห

แบตเตอรีม่ ือถอื

17 พิจิตร อบจ.พิจติ ร - -

18 นครปฐม อบจ.นครปฐม 35.00 -

19 ชยั นาท ทต.โพธิ์พทิ ักษ์ - - 67
37
20 สพุ รรณบรุ ี อบจ.สุพรรณบรุ ี 42.50 126.00 2,7
73.7 6,90
21 สมทุ รสาคร อบจ.สมุทรสาคร 19.7 1,088.70 13
2,367
ทน.นนทบุรี - 2,21
- 1,86
22 นนทบรุ ี ทน.ปากเกรด็ -
287.81 2,75
อบจ.นนทบรุ ี - 780.3 5,25
17,2
23 สงิ หบ์ รุ ี อบจ.สงิ ห์บรุ ี 4.30 - 3,20
3,56
24 อา่ งทอง ทม.อา่ งทอง - 90.19
414.00 1
25 ปทมุ ธานี อปท.เจา้ ของพ้ืนที่ - 6,800.00
80.00
26 พระนครศรีอยธุ ยา อบจ.พระนครศรอี ยธุ ยา - 87.46
40.8
27 สระบรุ ี ทม.สระบรุ ี -

28 ลพบรุ ี อบจ.ลพบรุ ี -

29 นครนายก อบจ.นครนายก -

30 ปราจีนบรุ ี อบจ.ปราจีนบรุ ี 21.12

31 สระแกว้ อบต.ผกั ขะ/อบต.หนั ทราย 590.4

ทม.วังนา้ เย็น/ทต.เขาฉกรรรจ์

/ทม.อรัญญประเทศ

/อบต.วฒั นานคร

32 ราชบรุ ี อบจ.ราชบรุ ี 157.00 - 3,97
88
33 สมุทรสงคราม อบจ.สมุทรสงคราม - 15.50 2,97
238.80
34 กาญจนบรุ ี อบจ.กาญจนบุรี 120.40

รวบรวม (หน่วย:กโิ ลกรมั ) รวมน้าหนัก รวมน้าหนัก
(กโิ ลกรัม) (ตัน)
หลอดไฟ กลมุ่ ภาชนะ ซากผลติ ภณั ฑ์ กล่มุ อืน่ ๆ
บรรจสุ ารเคมี เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ (ระบุ) 3,000.00 3.00
44.00 0.04
-- - - 888.60 0.89
1.07
- - 9.00 - 1,070.06 3.33
3,333.00 10.98
74.00 27.00 54.60 - 10,980.30 17.05
72.00 87.40 437.00 17,053 3.58
763.6 364.2 5.16 2.82
06.30 492 21 90.8 3,579 2.87
3,198 773 2,493.30 2,824.01 698.32
- 2,870.80 6.83
101 698,320 10.03
614 6,825.71 26.50
-- - 10,028.00 3.74
- 26,500.00 6.36
15.80 265.70 41.6 3,740.00 0.76 รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
69.50 221 8.8 6,364.23
-
- 763.3
-- -
-
52.19 3,311.53 670.17
58.00 4,181.00 175.00 1.63
-
200.00 3,200.00 2,000.00
00.00 300.00 160.00 100.00
-
60.26 2,555.41 29.58
169 - 16.9 110.40
46.2

78.00 349.00 - - 4,484.00 4.48
83.18 44.60 - - 842.28 0.84
79.80 611.95 4,328.45 4.33
237.80 139.70

๑๙

ลาดับ จงั หวดั จดุ รวบรวม โทรศพั ท์และ การเก็บร
แบตเตอรม่ี ือถือ ถ่านไฟฉาย กลุม่ ห

35 เพชรบุรี อบจ.เพชรบุรี - -

36 ประจวบครี ีขันธ์ อบจ.ประจวบครี ขี ันธ์ - 487.47 4,15
230.00 6,73
37 อุดรธานี อบจ.อดุ รธานี 500.00
- 2,62
38 เลย อบจ.เลย - 1,75
2,700.00 2,60
39 หนองคาย อบจ.หนองคาย - 1,038.00 79
633.20 52
40 บึงกาฬ ศนู ยร์ าชการ จ.บงึ กาฬ - 986.00 1,18
อปท.เจ้าของพื้นที่ 3,64
67.60 29.00
ทต.พงั โคน 321.60 19,7
- 307.00 10,6
41 สกลนคร ทต.ทา่ แร่ 6,74
2.00 - 18,1
ทน.สกลนคร 4.00 3,86
- 3,81
42 นครพนม อบจ.นครพนม - 4,21
สนง.ทสจ.นครพนม 4,260.10 2,59
3.00 850.00 9,82
43 ขอนแก่น อบจ.ขอนแกน่ 4,430.00 9,415.00 11,8
1,000.00 5,03
44 มหาสารคาม อบจ.มหาสารคาม - 80.00
20.00
45 กาฬสินธุ์ อบจ.กาฬสินธ์ุ 210.00 40.00
2,780.60
46 ร้อยเอด็ อบจ.ร้อยเอ็ด - 2,164.10
426.96
47 หนองบวั ลาภู อบจ.หนองบัวลาภู -

ทม.สคี ้วิ 150.00
250.00
48 นครราชสีมา ทต.สงู เนนิ
-
ทต.โชคชยั
578.70
49 บุรรี ัมย์ อปท. เจา้ ของพ้นื ที่
-
50 สุรินทร์ อบจ.สรุ นิ ทร์
65.22
51 ชัยภูมิ อบจ.ชัยภูมิ

รวบรวม (หนว่ ย:กโิ ลกรมั ) รวมน้าหนกั รวมนา้ หนัก
(กโิ ลกรัม) (ตนั )
หลอดไฟ กลุ่มภาชนะ ซากผลติ ภัณฑ์ กลุ่มอื่น ๆ
บรรจสุ ารเคมี เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ (ระบ)ุ 38,282.00 38.28
5,617.55 5.62
-- - - 10,160.00 10.16
14,709.00 14.71
58.32 136.80 - 834.96 6,470.00 6.47
850.00 4,120.00 4.12
30.00 650.00 1,200.00 4,364.80 4.36
- 1,927.00 1.93
-- - 570.00 0.57
250.00 2,217.70 2.22
20.00 600.00 300.00 1,220.00 4,780.00 4.78
56.00 106.00 560.00 0.00
03.80 292.40 - 3.00 34.15
15.00 34,150.00 16.84
207.80 16,840.30 10.00
- 10,000.00 30.72
94.00 97.00 35.00 30,720.00 8.00 รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
22.00 14.00 3.00 70.00 8,000.00 4.40
84.30 37.50 600.30 4,395.00 5.11
42.00 540.00 291.00 - 5,110.00 2.96
2,960.00 24.62
-- - - 24,622.35 18.58
18,575.56 8.53
770.00 2,700.00 7,250.00 - 8,527.24

635.60 1,944.60 - -

40.00 960.00 1,240.00 -

153.00 3,152.00 - -
60.00 2,140.00 -
1,000.00
15.00 350.00 -
10.00 480.00 -
150.00
-
90.00 230.00 100.00
27.58 4,163.77 3,355.30 -

885.26 1,955.40 742.00 3,916.40
1,828.80
34.86 1,551.20 - 1,449.00

๒๐

ลาดบั จงั หวัด จดุ รวบรวม โทรศพั ท์และ การเก็บร
แบตเตอรมี่ ือถือ ถา่ นไฟฉาย กลมุ่ ห

52 อบุ ลราชธานี อบจ.อุบลราชธานี - -

53 ศรีสะเกษ อบจ.ศรสี ะเกษ 78.00 1,250.00 3,55
1,230.00 2,080.00 51
54 ยโสธร อบจ.ยโสธร
- - 3,05
55 อานาจเจรญิ อบจ.อานาจเจรญิ 20,4
3.00 374.50
56 มุกดาหาร ศาลากลาง จ.มกุ ดาหาร 280.00 1,710.00 30
1.00 2,66
อบจ.ชลบุรี 53.33 3.00
68.72 55
ทน.เจา้ พระยาสรุ ศักดิ์ -
- 7,87
57 ชลบุรี ทน.แหลมฉบัง -
- 79
เมืองพัทยา -
- 90
อบต.บ่อวนิ 3.00 2,75
1,127.00 8,03
58 ฉะเชิงเทรา อบจ.ฉะเชงิ เทรา - 6,18
- 5,66
59 ระยอง ศนู ยกาจดั ขยะมลู ฝอยรวม - 2,22
25.00 3,17
60 จนั ทบุรี อบจ.จันทบรุ ี - 2,00
-
61 ตราด อบจ.ตราด -
15.00
62 สมทุ รปราการ อปท.เจา้ ของพนื้ ท่ี 5.00 38.00
312.93
63 สุราษฎร์ธานี อบจ.สรุ าษฎรธ์ านี - 190.00
95.00
64 ชมุ พร อบจ.ชุมพร - 213.50
230.79
65 พทั ลงุ อบจ.พทั ลุง 3,181.00 22.81
91.00
66 นครศรธี รรมราช อบจ.นครศรธี รรมราช 8.12
59.00
67 ภเู ก็ต ศนู ยก์ าจัดมลู ฝอยรวม

68 พังงา ทม.พังงา

69 กระบี่ อบจ.กระบี่

70 ตรงั ทม.กนั ตัง

รวบรวม (หน่วย:กิโลกรมั ) รวมน้าหนกั รวมนา้ หนกั
(กิโลกรัม) (ตัน)
หลอดไฟ กล่มุ ภาชนะ ซากผลิตภณั ฑ์ กลมุ่ อื่น ๆ
บรรจสุ ารเคมี เครื่องใชไ้ ฟฟา้ (ระบุ) - -

-- - - 6,614.00 6.61
4,000.00 4.00
51.00 1,100.00 635.00 - 6,400.00 6.40
82.00 5,003.37 5.00
13.00 - 95.00 26,680.00 26.68
- 344.00 0.34
-- - 2,979.73 2.98
250.40 0.00
57.61 365.46 610.00 952.40 3.96 0.06
400.00 3,360.00 320.00 55.00 14.91
00.00 12.00 - 28.00 14,914.00 9.12
9.04 9,120.00 9.34
65.60 68.98 114.06 9,340.00 1.63
- 1,630.00 6.84
-- - 6,839.05 1.00
- 1,000.00 3.51
5.00 - - 3,507.50 11.12 รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
- 11,120.00 9.45
-- - 9,450.00 8.94
70.00 8,942.00 2.86
76.00 24.00 20.00 2,859.70 3.66
- 3,658.91 5.98
-- - 5,976.41
190.00
90.00 490.00 135.00
-
-- -
-
00.00 85.00 -
51.00 550.50 -
163.00
36.10 1,459.30 1,312.30
80.00 780.00 - 20.00

66.00 - 2,280.00 -

23.50 151.70 - 180.00

79.75 240.25 - -
00.40 280.20
- 3,600.50

13.50

๒๑

ลาดบั จังหวดั จดุ รวบรวม โทรศพั ทแ์ ละ การเกบ็ ร
แบตเตอร่มี อื ถือ ถ่านไฟฉาย กลุ่มห
71 ระนอง อบจ.ระนอง
72 สงขลา อบจ.สงขลา - 2.90 39
73 สตูล อบจ.สตลู 678.00 12,9
74 ปตั ตานี อบจ.ปัตตานี - 242.70
75 ยะลา อบจ.ยะลา 666.70 2,07
76 นราธวิ าส อบจ.นราธวิ าส - 203.00 2,04
2,25
506.94 -

- รวม

-

รวบรวม (หน่วย:กโิ ลกรมั ) รวมน้าหนัก รวมน้าหนกั
(กิโลกรัม) (ตัน)
หลอดไฟ กล่มุ ภาชนะ ซากผลิตภณั ฑ์ กลุม่ อืน่ ๆ
(ระบ)ุ 486.58 0.49
บรรจุสารเคมี เครื่องใช้ไฟฟ้า 87.80 14,845.80 14.85
14,203.00 14.20
91.78 4.10 - - 6,653.03 6.65
5,327.20 2,916.00 2.92
974.80 618.20 574.80 362.93
158.00 - -
71.60 1,880.70 4,680.80
- 1,514,089.41 1,514.09
43.23 1,384.73 1,688.50

50.00 305.00 -

-- -

รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๒

ปรมิ าณการสง่ กาจัดของเสยี อันตรายจากชุมชนและซาก

ลาดบั จงั หวดั จุดรวบรวม โทรศพั ทแ์ ละ การส่ง
แบตเตอรมี่ อื ถือ ถา่ นไฟฉาย กลุ่มห
1 เชียงใหม่ อบจ.เชียงใหม่
2 เชยี งราย อบจ.เชยี งราย - - 18,5
3 แมฮ่ อ่ งสอน อบจ.แมฮ่ อ่ งสอน 89
4 ลาพนู อบจ.ลาพูน 4,358.00 -
5 ลาปาง อบจ.ลาปาง 83.97 9,59
6 พะเยา อบจ.พะเยา - 2,651.00 15,1
7 แพร่ อบจ.แพร่ 10,080.00
8 นา่ น อบจ.น่าน - 7,29
ทน.พษิ ณุโลก - 15,9
9 พษิ ณโุ ลก อบจ.พษิ ณุโลก - 2,80
อบจ.ตาก 1,490.00 7,75
10 ตาก อบจ.อตุ รดติ ถ์ - 5,000.00
11 อุตรดิตถ์ ทม.สวรรคโลก 100.00 5,53
ทม.สโุ ขทยั ธานี - 1,027.20 2,68
12 สุโขทัย อบจ.เพชรบูรณ์ 5,06
อบจ.นครสวรรค์ - - 7,81
13 เพชรบรู ณ์ อบจ.กาแพงเพชร 5,51
14 นครสวรรค์ อบจ.อทุ ยั ธานี 100.00 1,113.98 6,28
15 กาแพงเพชร อบจ.พิจติ ร 50.00 301.40
16 อุทยั ธานี อบจ.นครปฐม 662.50 31
17 พิจิตร ทต.โพธ์ิพทิ กั ษ์ - 250.00
18 นครปฐม อบจ.สุพรรณบรุ ี 823.40
19 ชยั นาท 142.12 699.10
20 สพุ รรณบุรี 12.50
17.90 -

- -

- -

- -

- 105.40

-

-

-

33.00

กผลิตภณั ฑ์เคร่อื งใช้ไฟฟา้ และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์

งกาจัด (หน่วย:กโิ ลกรมั ) รวมน้าหนกั รวมน้าหนกั
(กโิ ลกรมั ) (ตนั )
หลอดไฟ กลมุ่ ภาชนะ ซากผลิตภัณฑ์ กล่มุ อืน่ ๆ
บรรจุสารเคมี เครื่องใชไ้ ฟฟา้ (ระบุ) - -

- - - - 39,691.00 39.69
3,924.27 3.92
578.00 14,842.00 1,913.00 - 17,489.90 17.49
98.5 2459.9 409 28,430.00 28.43
95.40 2,498.90 72.9 12,180.00 12.18
100.00 3,250.00 - 2,744.60 18,930.00 18.93
25,990.00 25.99
- - 3,000.00 3.00
10,131.00 10.13
- - - - รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
- - -
90.00 5,100.00 5,050.00 -
990.00 3,000.00 2,000.00 - 13,427.20 13.43
00.00 4,110.80 4.11
52.00 - - - 8,803.10 8.80
13,520.00 13.52
1,029.80 272.00 7,939.00 7.94
8,736.74 8.74
-- --
- -
33.30 6,637.80 - -
83.80 667.70 3,000.00 3.00
65.20 2,347.60 365.40 80.00
10.00 4,890.00 661.90 48.00 - -
19.70 1,449.00 520.00 50.00
84.74 1,115.50 146.50 - -
637.40 -
931.26 0.93
-

-- --

-- --

-- --

-- --

15.20 52.80 424.70 0.16

๒๓

ลาดบั จังหวัด จุดรวบรวม โทรศัพทแ์ ละ การส่ง
ถ่านไฟฉาย กล่มุ ห

แบตเตอรม่ี ือถอื

21 สมทุ รสาคร อบจ.สมุทรสาคร - -

ทน.นนทบุรี - 1,088.7 6,9
780 2,
22 นนทบรุ ี ทน.ปากเกร็ด - 100 4,
2,07
อบจ.นนทบรุ ี - 221.71
5,25
23 สิงห์บรุ ี อบจ.สงิ ห์บุรี 4.3 - 15,4
3,20
24 อา่ งทอง ทม.อ่างทอง - - 3,56

25 ปทุมธานี อปท.เจ้าของพน้ื ที่ - - 1

26 พระนครศรีอยุธยา อบจ.พระนครศรีอยุธยา - 414.00
6,100.00
27 สระบรุ ี ทม.สระบุรี -
80.00
28 ลพบรุ ี อบจ.ลพบุรี - 87.46
40.8
29 นครนายก อบจ.นครนายก -

30 ปราจนี บรุ ี อบจ.ปราจนี บรุ ี 21.12

31 สระแก้ว อบต.ผกั ขะ/อบต.หันทราย 590.4

ทม.วงั นา้ เยน็ /ทต.เขาฉกรรรจ์

/ทม.อรญั ญประเทศ

/อบต.วฒั นานคร

32 ราชบรุ ี อบจ.ราชบุรี - -

33 สมทุ รสงคราม อบจ.สมุทรสงคราม - -

34 กาญจนบรุ ี อบจ.กาญจนบุรี 120.40 238.80 2,74

35 เพชรบุรี อบจ.เพชรบุรี - - 4,15
6,73
36 ประจวบครี ีขนั ธ์ อบจ.ประจวบครี ขี นั ธ์ - 487.47
230.00
37 อดุ รธานี อบจ.อดุ รธานี 500.00
-
38 เลย อบจ.เลย -

งกาจัด (หน่วย:กิโลกรมั ) รวมนา้ หนกั รวมนา้ หนัก
(กโิ ลกรัม) (ตนั )
หลอดไฟ กลมุ่ ภาชนะ ซากผลติ ภัณฑ์ กลุ่มอื่น ๆ
บรรจสุ ารเคมี เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า (ระบุ) - -

-- - - 10,980.30 10.98
3,730 3.73
906.3 492 2,493.3 - 4,940 4.94
- 3.01
,520 430 - 3,008.01
,340 300 200 -
70.40 213.6 30.4 - -
-
-- - 6.9 -
-
-- - - -
10.03
-- - - 10,028.00 26.00
26,000.00 3.74
58.00 4,181.00 175.00 - 3,740.00 6.36 รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
400.00 2,700.00 1,700.00 6,364.23 0.76
00.00 300.00 160.00 -
100.00 763.3
60.26 2,555.41 29.58
169 - 16.9 -
110.40
46.2

- - - - - -

- - - - - -

42.40 607.40 237.80 134.70 4,081.50 4.08

- - - - - -

58.32 136.80 - 834.96 5,617.55 5.62
30.00 650.00 850.00 10,160.00 10.16
1,200.00
- - - - -
-

๒๔

ลาดับ จังหวดั จุดรวบรวม โทรศัพทแ์ ละ การสง่
แบตเตอรีม่ อื ถือ ถา่ นไฟฉาย กลมุ่ ห

39 หนองคาย อบจ.หนองคาย - 2,700.00 2,62
ศนู ยร์ าชการ จ.บึงกาฬ 1,038.00 1,91
40 บึงกาฬ อปท.เจา้ ของพ้นื ท่ี -
ทต.พังโคน - 79
41 สกลนคร ทต.ทา่ แร่ - 42
ทน.สกลนคร 986.00 6
42 นครพนม อบจ.นครพนม - 29.00 3,64
สนง.ทสจ.นครพนม 210.00
43 ขอนแกน่ อบจ.ขอนแกน่ 2.00 307.00 19,7
44 มหาสารคาม อบจ.มหาสารคาม 1.50 10,6
45 กาฬสินธุ์ อบจ.กาฬสนิ ธุ์ - 6,74
46 ร้อยเอด็ อบจ.ร้อยเอ็ด - 18,1
47 หนองบัวลาภู อบจ.หนองบัวลาภู - 3,86
ทม.สีค้ิว 3.00 3,81
48 นครราชสีมา ทต.สงู เนิน 4,430.00 4,260.10 4,21
ทต.โชคชัย 850.00 2,59
49 บุรีรัมย์ อปท. เจ้าของพื้นท่ี - 9,415.00 5,29
50 สรุ ินทร์ อบจ.สุรนิ ทร์ 1,000.00 11,8
51 ชยั ภูมิ อบจ.ชยั ภูมิ 210.00 80.00
52 อบุ ลราชธานี อบจ.อุบลราชธานี 20.00 3,55
53 ศรีสะเกษ อบจ.ศรสี ะเกษ - 40.00 51
54 ยโสธร อบจ.ยโสธร 1,238.50 3,67
55 อานาจเจรญิ อบจ.อานาจเจรญิ - 2,164.10

150.00 -
250.00
-
-
1,250.00
30.10 2,080.00
1,225.00
-

-

-

78.00
1,230.00
220.00

งกาจัด (หน่วย:กิโลกรมั ) รวมนา้ หนัก รวมน้าหนกั
(กโิ ลกรัม) (ตนั )
หลอดไฟ กลมุ่ ภาชนะ ซากผลติ ภัณฑ์ กลุ่มอ่นื ๆ
บรรจุสารเคมี เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า (ระบุ) 6,470.00 6.47
250.00 4,274.00 4.27
20. 00 600.00 300.00
10.00 106.00 - 1,220.00 - -

-- - - 1,927.00 1.93
470.00 0.47
94.00 97.00 35.00 15.00 692.50 0.69
22.00 14.00 3.00 4,780.00 4.78
6.40 79.30 - 3.00 0.00
42.00 - 291.00 34,150.00 34.15
540.00 395.30 16,840.30 16.84
- 10,000.00 10.00
-- - 30,720.00 30.72
7,250.00 8,000.00 8.00
770.00 2,700.00 - 4,395.00 4.40 รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
635.60 1,944.60 - 5,110.00 5.11
40.00 960.00 - 2,960.00 2.96
1,240.00 9,779.30 9.78
153.00 3,152.00 - 18,575.56 18.58
60.00 2,140.00 -
- - -
15.00 350.00 -
10.00 480.00 - - -
-
90.00 230.00 1,000.00 8,856.00 8.86
90.50 1,350.30 150.00 4,000.00 4.00
100.00 - 6,400.00 6.40
885.26 1,955.40 540.20
742.00 -
--
- -
--
- 1,329.70
51.00 1,100.00 1,828.80
635.00
13.00 - 82.00 -

70.00 735.00 - -

-
95.00
551.00

๒๕

ลาดบั จงั หวัด จดุ รวบรวม โทรศพั ท์และ การส่ง
แบตเตอร่ีมือถอื ถ่านไฟฉาย กลมุ่ ห

56 มุกดาหาร ศาลากลาง จ.มกุ ดาหาร 3.00 374.50 3,05
280.00 1,710.00 20,4
อบจ.ชลบุรี
- - 7,88
ทน.เจ้าพระยาสรุ ศกั ด์ิ 79
- -
57 ชลบุรี ทน.แหลมฉบงั 2,75
- - 8,03
เมืองพทั ยา 6,18
- - 3,73
อบต.บ่อวนิ 2,82
- - 87
58 ฉะเชิงเทรา อบจ.ฉะเชิงเทรา 12,9
1,000.00 573.00
59 ระยอง ศนู ยกาจัดขยะมูลฝอยรวม
- -
60 จนั ทบรุ ี อบจ.จนั ทบุรี
- 25.00
61 ตราด อบจ.ตราด
- -
62 สมทุ รปราการ อปท.เจา้ ของพ้ืนท่ี
- -
63 สุราษฎร์ธานี อบจ.สุราษฎร์ธานี
5.00 38.00
64 ชมุ พร อบจ.ชมุ พร 312.00
- 190.00
65 พทั ลงุ อบจ.พัทลงุ 100.00
-
66 นครศรธี รรมราช อบจ.นครศรีธรรมราช -
3,100.00
67 ภูเก็ต ศนู ย์กาจัดมลู ฝอยรวม 460.00
- 21.81
68 พังงา ทม.พังงา
14.00 -
69 กระบี่ อบจ.กระบี่ 31.00
678.00
70 ตรัง ทม.กนั ตงั -
-
71 ระนอง อบจ.ระนอง -
-
72 สงขลา อบจ.สงขลา -

73 สตูล อบจ.สตลู -

74 ปตั ตานี อบจ.ปตั ตานี

งกาจัด (หนว่ ย:กโิ ลกรมั ) รวมน้าหนกั รวมนา้ หนัก
(กิโลกรมั ) (ตนั )
หลอดไฟ กลุ่มภาชนะ ซากผลิตภณั ฑ์ กลมุ่ อ่ืน ๆ
บรรจุสารเคมี เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า (ระบุ) 5,003.37 5.00
952.40 26,680.00 26.68
57.61 365.46 250.40 320.00
400.00 3,360.00 610.00 - -
-
-- - - -
-
-- - - -
-
-- - - -
-
-- - 4,660.00 4.66
- 10,085.00 10.09
-- - 9,340.00 9.34
94.00 1,630.00 1.63
83.00 315.00 220.00
- - -
-- -
190.00 - -
90.00 490.00 135.00 รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
- 3,507.50 3.51
-- - 11,120.00 11.12
- 9,450.00 9.45
-- - 7,040.00 7.04
-
51.00 550.50 163.00 1,312.00 - -
36.00 1,459.00 -
80.00 780.00 20.00 6,940.00 6.94
30.00 100.00 2,280.00 10.00 4,767.91 4.77

-- - - - -

28.00 3,638.00 - - 14,845.80 14.85
72.90 243.20 3,597.50
- - -
-- 1.50 -
- -
974.80 618.20 - -

-- 574.80 -

-- - -

-

๒๖

ลาดับ จงั หวดั จุดรวบรวม โทรศพั ทแ์ ละ การสง่
แบตเตอรม่ี ือถอื ถา่ นไฟฉาย กลมุ่ ห
75 ยะลา อบจ.ยะลา
76 นราธวิ าส อบจ.นราธิวาส - -
-
-
รวม

งกาจัด (หน่วย:กโิ ลกรมั ) ซากผลติ ภณั ฑ์ กล่มุ อนื่ ๆ รวมนา้ หนกั รวมน้าหนัก
หลอดไฟ กลุม่ ภาชนะ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ (ระบ)ุ (กิโลกรมั ) (ตัน)

บรรจุสารเคมี - - - -
- -
-- - -
603,119.40 603.12
--

รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๗

รายงานสถานการณ์ของเสียอนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๘

ภาคผนวก ข
รายช่อื บริษทั ผู้รบั บาบัด/กาจดั ของเสยี อันตรายจากชุมชน และมลู ฝอยติดเชื้อ

(โรงงาน ๑๐๑ ๑๐๕ ๑๐๖ และอ่นื ๆ)

ภาคผน
รายชื่อบริษัทผูร้ ับบาบัด/กาจัดของเสียอ

โรงงานประ

ประเภทบรกิ าร ชอ่ื บรษิ ทั ทต่ี ้ังโรงงาน ขอ้
บริษัท บริหารและการพัฒนาเพ่ือการ
๑. บาบัดและกาจดั อนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม จากัด (มหาชน) หม่ทู ี่ 8 สานักงานใหญ
ของเสยี อันตรายจาก ต. หินกอง 447 ถ.บอน
ชมุ ชน กลมุ่ หลอดไฟ บรษิ ัท โปรเฟสช่ันแนล เวสต์ เทคโนโลยี อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11
กลุ่มถ่านไฟฉาย และ (1999) จากดั (มหาชน) จ.ราชบุรี โทร. 02 50
กลมุ่ ภาชนะบรรจุ 70000
สารเคมี บริษัท เบตเตอร์ เวลิ ด์กรีน จากดั 159 หมู่ท่ี 5 สานกั งานใหญ
(มหาชน) ต.หว้ ยโจด ถนนพหลโยธ
อ.วฒั นานคร กรงุ เทพฯ 10
-บริษัท เวสท์ แมเนจเม้นท์ สยาม จากัด จ.สระแก้ว 27160 โทร. 02 94
บรษิ ัทในเครอื โทร. 037 6
- บริษัท บางปู เอนไวรอนเมนทอลคอม 140 ม.8 สานกั งานใหญ
เพล็กซ์ จากดั ต.หว้ ยแหง้ 488 ซ.ลาดพ
อ.แก่งคอย ถ.ลาดพรา้ ว แ
จ.สระบรุ ี กรงุ เทพฯ 10
18110 โทร 02 012
โทร 036 2
E-mail: adm
สานักงานใหญ
589/142 ช
ทาวเวอร์ 1 ถ
เขตบางนา ก

นวก ข
อนั ตรายจากชุมชน และมลู ฝอยตดิ เชื้อ

ะเภท 101

อมูลการตดิ ต่อขอใช้บรกิ าร ค่ากาจัด ค่าขนสง่

ญ่ ตดิ ตอ่ บริษัทโดยตรง ท้งั น้ี - คิดตามระยะทางและ
นดส์ ตรที ต.บางพูด อ.ปากเกรด็ ขนึ้ อยกู่ ับประเภทของของ ราคาน้ามนั
1120 เสียอันตราย - ประเภทรถที่ใช้บรรทุก
02 0900 - 99

ญ่ เลขที่ 1184/38-39 ติดตอ่ บริษัทโดยตรง ทงั้ นี้ - คิดตามระยะทางและ
ธิน แขวงจันทรเกษม เขตจตจุ กั ร
0900 ขึน้ อย่กู ับประเภทของของ ราคานา้ มัน รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
42 9480 – 86
609 755 เสยี อันตราย - ประเภทรถทใี่ ชบ้ รรทุก

ญ่ ตดิ ต่อบรษิ ัทโดยตรง ทงั้ น้ี - คดิ ตามระยะทางและ
พรา้ ว 130 (มหาดไทย 2)
แขวงคลองจ่ัน เขตบางกะปิ ข้ึนอยกู่ ับประเภทของของ ราคาน้ามนั
0240
2 7888 เสยี อันตราย - ประเภทรถที่ใชบ้ รรทุก
237 540 -2
min@bwg.co.th ราคาปรับลดได้จากการประเมินหน้างาน

ญ่
ชัน้ 25 อาคารเซนทรลั ซติ ี้
ถนนเทพรตั น์ แขวงบางนาเหนือ
กรุงเทพมหานคร 10260

๒๙

ประเภทบรกิ าร ช่อื บรษิ ทั ทต่ี งั้ โรงงาน ขอ้
- บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด เอนไวรอน
เมนทอล คอมเพล็กซ์ จากัด โทร. 02 74
- บรษิ ัท ดบั บลวิ เอ็ม เอส ดีโปจากดั Website
http://www
บริษัท วงษ์พาณิชย์ อินเตอร์ เนชั่นแนล 19/9 ม.3 -บรษิ ัท บางป
จากัด ต.ท่าทอง อ.เมอื ง เลขท่ี 965 ม
นคิ มอุตสาหก
จ.พิษณุโลก จ.สมทุ รปราก
65000 - บริษัท อีสเท
บริษัท Siammart เพล็กซ์ จากัด
เลขท่ี 88 ม.
บรษิ ัท เอกอทุ ัย จากดั ต.บ่อวิน อ.ศ
- บริษัท ดบั บ
เลขที่ 31/9
ภาคใต้ ต.ฉลงุ

โทร :055-3
URL :http:/
Email : won
โทรสาร. :05

85/261 ม.
จ.สมุทรสาคร
โทร : 089-2
Tax ID: 010
47/349 ถ.
อ.ปากเกร็ด จ
086-376-7
080-998-2
093-892-5
061-197-9

อมลู การติดต่อขอใช้บรกิ าร คา่ กาจัด ค่าขนส่ง
45 6926 – ๗

w.wms-thailand.com ติดตอ่ บริษัทโดยตรง - คิดตามระยะทางและราคา รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
ปู เอนไวรอนเมนทอล คอมเพลก็ ซ์ จากัด ทั้งนี้ ข้นึ อย่กู บั น้ามัน
ม.2 ซอย 3 บี ประเภทของของเสยี - ประเภทรถทใ่ี ชบ้ รรทุก
กรรมบางปู ต.บางปใู หม่ อ.เมอื ง อันตราย
การ 10280 - คิดตามระยะทางและราคา
ทิร์น ซีบอร์ด เอนไวรอนเมนทอล คอม ติดตอ่ บรษิ ทั โดยตรง น้ามัน
ด ทง้ั นี้ ขึ้นอยกู่ ับ - ประเภทรถทใี่ ชบ้ รรทุก
.8 นิคมอุตสาหกรรม WHA ชลบรุ ี 1 ประเภทของของเสีย
ศรีราชา จ.ชลบุรี 20230 อนั ตราย - คิดตามระยะทางและราคา
บลิว เอ็ม เอส ดีโปจากัด ติดต่อบรษิ ัทโดยตรง นา้ มัน
ม. 4 นคิ มอุตสาหกรรม ทัง้ นี้ ขึ้นอยกู่ บั - ประเภทรถทใี่ ชบ้ รรทุก
ง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 ประเภทของของเสีย
อนั ตราย
321555 (สายอตั โนมตั )ิ
//www.wongpanit.com/
ngpanit@gmail.com
55-321788-90

.13 ต.ออ้ มนอ้ ย อ.กระทมุ่ แบน
ร 74130 (สานกั งานใหญ่)
2012642
05548110551
.ปอ๊ บปูลา่ ต.บ้านใหม่
จ.นนทบุรี 11120
7873 คณุ สมศกั ดิ์
2385 คณุ ภรู ติ
5242 คณุ อัจฉรา
9994 คณุ ณฐั พงษ์

๓๐

ประเภทบรกิ าร ชอื่ บรษิ ทั ทตี่ ั้งโรงงาน ข้อ
๒. ของเสยี หรือวสั ดุ บริษทั อัคคีปราการ จากดั (มหาชน) ๗๙๒ หม่ทู ี่ ๒ โทร. ๐ ๒๓๒
ไมใ่ ชแ้ ลว้ ท่เี ปน็ ซอย ๑ C/๑ นคิ ม โทรสาร ๐ ๒
ของเสียอนั ตราย บรษิ ัท เอน-เทคโนโลยี คอนซลั แตนท์ อุตสาหกรรมบางปู ๐ ๒๗๐๙ ๓๘
ตามกฎหมายว่าดว้ ย จากัด ถนนสุขุมวทิ
โรงงานอตุ สาหกรรม ต.บางปใู หม่ สานักงานใหญ
และกฎหมายวา่ ด้วย อ.เมือง ถนนรถรางสาย
วัตถอุ ันตราย/ จ.สมทุ รปราการ จ.สมทุ รปราก
มูลฝอยตดิ เชอ้ื ๑๐๒๘๐ ตดิ ตอ่ ฝา่ ยขา
(Hot Line) 0
บรษิ ัม สยาม แมททีเรยี ลส์ เอ็กเชนจ์ จากดั 85/261 โทร : 02-743
ถนนเพชรเกษม 93 โทร : 0-281
ต.ออ้ มน้อย
อ.กระทุ่มแบน
จ.สมทุ รสาคร
74130

อมูลการติดต่อขอใชบ้ ริการ คา่ กาจัด ค่าขนสง่
๒๓ ๐๗๑๔ – ๒๑
๒๓๒๓ ๐๗๒๔, ติดต่อบริษทั โดยตรง
๘๕๗

ญ่ 329 อาคาร 2 ช้ัน 2 หมู่ 10 ตดิ ตอ่ บรษิ ัทโดยตรง รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
ยเก่า ต.สาโรง อ.พระประแดง ตดิ ตอ่ บริษทั โดยตรง
การ 10130
าย
086-3188970
35550-2 ต่อ 5120, 5121
13-7550-1

๓๑

โรงงานประเภท

ประเภทบรกิ าร ชอ่ื บรษิ ัท ทต่ี ัง้ โรงงาน ขอ้
๑. การรไี ซเคิล
ถ่านไฟฉายทชี่ าร์จไฟ บริษัท ยูมิคอร์ มาร์เก็ตต้ิง เซอร์วิสเซส มโี กดงั คัดแยกอยทู่ ่ี โทร. ๐ ๒๖๗
ได้ แบตเตอร่ี (ประเทศไทย) จากดั จ.สมทุ รปราการโดย
โทรศพั ท์เคลือ่ นที่ ส่งของเสียอนั ตราย
แบตเตอรโี่ น้ตบุค ดังกล่าวไปรไี ซเคลิ ยงั
แบตเตอรกี่ ล้อง ประเทศเบลเยี่ยม
ดิจิตอล และซาก บริษทั TES-AMM (ประเทศไทย) จากัด 101/108 โทร. ๐ ๒๕๒
เครอื่ งใช้ไฟฟา้ หมู่ที่ 20
และอปุ กรณ์ ถนนพหลโยธิน
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ตา่ ง ๆ ต.คลองหน่งึ
อ.คลองหลวง
๒. การรีไซเคลิ จ.ปทมุ ธานี
หลอดไฟ 12120
ฟลอู อเรสเซนต์
ชนิดตรง บรษิ ัทอสี เทอร์นซีบอร์ดเอนไวรอนเมนทอล ๘๘ หมทู่ ่ี ๘ ฝา่ ยขายและฝ
หมทู่ ี่ ๘ ต.บอ่ ว
คอมเพล็กซ์ จากัด ต.บ่อวิน
โทร. ๐๓๘ ๓
อ.ศรรี าชา

จ.ชลบรุ ี

๒๐๒๓๐

บริษัท วงษ์พาณิชย์ อินเตอร์ เนชั่นแนล 1/4 หมู่ที่ 7 19/9 ม.3 ต
จากดั ต.บา้ นชา้ ง อ.อทุ ยั จ.พิษณโุ ลก 6
จ.อยุธยา โทร. : 055-3
(สายอัตโนมตั
โทร. : 08 12
บรษิ ทั อสี เทอรน์ ซีบอร์ดเอนไวรอนเมนทอล ๘๘ หม่ทู ่ี ๘ ฝ่ายขายและฝ
ต.บ่อวนิ หม่ทู ่ี ๘ ต.บ่อว
คอมเพล็กซ์ จากดั อ.ศรีราชา โทร. ๐๓๘ ๓

จ.ชลบรุ ี ๒๐๒๓๐

10๕ และ ๑๐๖ คา่ กาจดั ค่าขนสง่

อมลู การตดิ ต่อขอใชบ้ รกิ าร ตดิ ตอ่ บริษทั โดยตรง
๗๘ ๑๑๒๒ – ๖ ต่อ ๑๔
ตดิ ต่อบรษิ ัทโดยตรง
๒๙ ๒๘๗๕

ฝ่ายลกู คา้ สัมพนั ธ์ ๘๘ ตดิ ตอ่ สอบถามบริษทั รายงานสถานการณข์ องเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
วนิ อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี ๒๐๒๓๐ เนอื่ งจากบริษทั ตอ้ งการเจรจา
๓๔๖ ๓๖๔ – ๗
กับผบู้ รกิ ารโดยตรง
ต.ทา่ ทอง อ.เมือง
65000 ๓ – ๕ บาทต่อหลอด คดิ ตามระยะทางและ
321555 ราคาน้ามัน
ต)ิ
280 0286 ๑๐ บาทต่อหลอด หรือ คดิ ตามระยะทางและ
ฝ่ายลกู ค้าสมั พนั ธ์ ๘๘ ๑๒,๐๐๐ บาท ราคาน้ามนั
วนิ อ.ศรรี าชา จ.ชลบุรี ๒๐๒๓๐ ตอ่ ตัน
๓๔๖ ๓๖๔ – ๗

๓๒

ประเภทบริการ ช่อื บรษิ ัท ทต่ี ง้ั โรงงาน ข้อ
นคิ มอตุ สาหกรรม โทร. ๐ ๒๕๐
บริษัท โตชิบา ไลท์ตง้ิ จากัด บางกะดี
จ.ปทมุ ธานี

๓. การรไี ซเคลิ บริษัท รไี ซเคลิ เอน็ จเิ นยี ร่ิง จากดั ๕๗ หมูท่ ี่ ๗ ฝา่ ยการตลาด
สารเคมี/ตวั ทาละลาย ถ.เจรญิ โชคดี โทร. 0-274
ใชแ้ ลว้ บริษทั รีฟายนเ์ ทค จากัด ต.ทา่ บญุ มี www.recycl
๔. การรีไซเคิลปรอท อ.เกาะจันทร์ ฝา่ ยการตลาด
จ.ชลบรุ ี ๒๐๒๔๐ โทร. ๐ ๒๘๑
๔๗ หมทู่ ี่ ๗ ๐ ๒๘๑๗ ๘๕
บริษัท เอเชียรีไฟน่ิง จากดั ซอยสุขสวัสด์ิ www.refine
ต.บางจาก ฝา่ ยลกู ค้าสมั พ
อ.พระประแดง โทร. ๐๓๘ ๖
จ.สมทุ รปราการ www.asiare
๑๐๑๓๐ โทร. ๐ ๒๗๐
๓๑/๙ ถ.ราษฎรบ์ ารงุ
ต.หว้ ยโป่ง อ.เมือง
ระยอง จ.ระยอง
๒๑๑๕๐

บริษัท เบกีแมนน์ เมอร์คิวรีเทคโนโลยี แป 428/263 ถนน
ซฟิ ิค จากัด(BMTP) กาญจนาภเิ ษก
แขวงดอกไม้
เขตประเวศ
กรุงเทพมหานคร
10250


Click to View FlipBook Version