The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 2 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าสารในชีวิตประจำวัน และในงานอาชีพ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khwandaows, 2022-05-24 04:30:26

บทที่ 2 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าสารในชีวิตประจำวัน และในงานอาชีพ (1)

บทที่ 2 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าสารในชีวิตประจำวัน และในงานอาชีพ (1)

บทที่ 2

การวิเคราะห์ สังเคราะห์
และประเมินคา่ สารใน

ชีวิตประจาวัน
และในงานอาชีพ

ในชีวิตประจาวัน

เรารับสารจากสอ่ื ใดบา้ ง????

การรบั ฟงั ขา่ วทางโทรทศั น์

ฟงั วิทยุ

จากสือ่ โซเชียลตา่ งๆ

การวิเคราะห์

หมายถึง ใครค่ รวญ แยกออกเปน็ สว่ นๆ
เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้

สาร

หมายถึง แกน่ เนือ้ แท้ ขอ้ ความ ถอ้ ยคา เรื่องราว

2.1 การวิเคราะห์สาร จึงหมายถึง

การพิจารณาใครค่ รวญ ถ้อยคา
ข้อความหรือเรือ่ งราว อย่างละเอียด
เพื่อใหเ้ ข้าใจอย่างถอ่ งแท้

2.1.1ประปเภรทะเขภอทงสขาอรงสมาี ร2 ประเภท
สารทขใ่ี ช้อ้ในเทชีวจ็ ติ จปรริงะจาวนั

มี 2 ประเภท

ข้อคิดเหน็

2.1.2การรบั สารจากการอ่าน

อ่านเพือ่ เข้าใจเรือ่ ง1. รู้ว่าใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เมื่อไหร่ อยา่ งไร
อ่านเพือ่ เกบ็ ใจความสาคัญ2. เปน็ การอ่านละเอียด เกบ็ รวบรวมใจความสาคญั ว่า

ตอนใดสาคญั มาก สาคัญน้อย หรือไม่สาคญั

3. อา่ นเพือ่ วเิ คราะห์ ตอ้ งอ่านซา้ หลายๆรอบ แลว้ สรปุ จบั ใจความสาคัญใหไ้ ด้รับความรู้มากท่ีสดุ
4. อา่ นเพื่อตีความ ตอ้ งการทราบวา่ ผู้เขียนตอ้ งการสือ่ อะไร ตรงไปตรงมาหรือเคลือบแคลง
อา่ นเพือ่ ประเมินค่า5. ผ้อู า่ นบอกได้วา่ สิง่ ที่อ่านดีหรือไม่ดีอย่างไร

กิจกรรมเรยี งลำดบั
กระบวนกำรรบั รสู้ ำร

ด้วยกำรฟัง

https://h5p.org/node/453784

2.1.3 ขั้นตอนการวิเคราะหส์ าร

เป็นกระบวนการทีเ่ กดิ จากความคิด
พิจารณา แยกแยะสาร เพือ่ ให้เกดิ ความ
เข้าใจอยา่ งละเอียดลึกซง้ึ เปน็ การ
แสวงหาคาตอบหรอื พยายามตอบตนเอง
วา่ เราได้รับความรู้ ความคดิ เหน็
ความรสู้ ึกอะไร ซึง่ มขี ้นั ตอนดงั นี้

1. พจิ ารณารูปแบบของสารวา่ เปน็ ร้อยแกว้
หรือร้อยกรอง

2.แยกเน้อื หาออกเป็นตอนๆ สรปุ เรื่อง
ว่าใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เมื่อไหร่ อย่างไร

3.พจิ ารณาโครงสร้าง หรือส่วนประกอบ
ของเรือ่ ง เช่น คานา เนื้อเรื่อง สรุป

แตล่ ะตอนกล่าวถึงสง่ิ ใด
4.พจิ ารณาวธิ นี าเสนอ ผู้รับสารต้อง
พิจารณาวธิ ีการนาเสนอนั้นว่า มีความ

น่าสนใจเพยี งใด

2.1.2การรับสารจากการอ่าน
2.2การสงั เคราะห์สาร

เป็นกระบวนการท่ตี ้องแสดงความรู้
ความคิด ความรสู้ ึก ความตอ้ งการ
ออกมาอย่างชดั เจน เพ่อื ให้เกิด

ความเขา้ ใจตรงกนั

2.2.1 วิธีการสังเคราะห์สาร

การสงั เคราะห์สารต้องใช้ภาษาเปน็
สื่อกลาง วธิ ีการนาเสนอใช้วธิ ีการต่างๆ
ตามความเหมาะสม ดงั นี้

1. การพูด ควรเลอื กใช้คาง่ายๆ ชัดเจน
2. การอ่าน ต้องอ่านได้ถูกต้องชัดเจน
3. การเขียน นิยมใช้คาชัดเจน

มนี า้ หนัก กระชับ อ่านเข้าใจง่าย
4.การสนทนา(การฟัง)ผู้สังเคราะห์สารท่ดี ี

ต้องเป็ นนักฟังท่ีดี จับใจความให้ได้ว่า
ผู้พูดพูดอะไร

2.2.2 จุดม่งุ หมายของการสังเคราะหส์ าร

1. เพือ่ เล่าเรือ่ ง การเลา่ เรือ่ งคือการ

ถา่ ยทอดเรื่องราว ความรู้ ประสบการณ์
ตา่ งๆของตนเองหรือเรอ่ื งราวท่เี กีย่ วข้อง
กับบุคคลอน่ื โดยเลา่ ตามลาดับเหตกุ ารณ์

2. เพื่ออธิบาย คอื การชแ้ี จงเกี่ยวกับ

ขน้ั ตอนการทาส่งิ ใดสิ่งหนึ่งเพ่อื ใหผ้ ู้รบั สาร
เข้าใจและนาไปปฏิบตั ไิ ด้

2.2.2 จดุ มงุ่ หมายของการสังเคราะหส์ าร(ตอ่ )

3.เพื่อแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ
เรือ่ งใดเรื่องหนง่ึ และชี้แจงขอ้ ดีขอ้ เสยี
อย่างชดั เจนและนา่ เชือ่ ถอื

4. เพือ่ สรา้ งจินตนาการ ทาใหผ้ รู้ บั
สารเกิดความรสู้ ึกคลอ้ ยตาม

5.เพื่อโนม้ นา้ ว หรือชักจูง เชิญชวน
ใหส้ นใจและยอมรบั

1.มคี วามรู้ในเนือ้ หาเป็ นอย่างดี
2.เตรียมตวั เป็ นอย่างดที ุกคร้ังในกรณีทราบล่วงหน้า
3.มไี หวพริบปฏิภาณในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
4.เลอื กสรรถ้อยคาและเรียบเรียงถ้อยคาได้สละสลวย
5.ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี เหมาะสมกบั สถานการณ์
6.หมนั่ ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ เพอื่ ส่ังสมความรู้และประสบการณ์
7.รับฟังคาวพิ ากษ์วจิ ารณ์ เพอื่ นามาพฒั นาตนเองให้ดขี ึน้
8. แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกบั โอกาส สถานท่ี เชื่อมนั่ ในตนเอง
9.มคี วามรับผดิ ชอบต่อหน้าที่ มรี ะเบียบวนิ ัย ตรงต่อเวลา

2.3 การประเมินค่าสาร

คอื การกะหรอื การประมาณคณุ คา่ ของสาร
(แก่น เน้อื แท)้ ท่เี รารบั มาวา่ ดีหรอื ไมด่ ี
มีข้อบกพร่องตรงไหน มีประโยชน์มาก
น้อยเพียงใด

การประเมินคา่ สารมีหลกั การดังนี้

2.3.1 การตีความ

นอกจากผ้รู ับสารจะแยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็
ได้แลว้ ผู้รับสารจะตอ้ งพยายามเขา้ ใจความหมาย
ที่แท้จรงิ ของสารด้วย ซึ่งการตีความของผรู้ บั สารอาจ
แตกต่างกัน เนื่องจาก

1. ผู้ส่งสารและผู้รบั สารมอี ายแุ ละเพศตา่ งกัน
2. ผู้ส่งสารและผรู้ ับสารมี ฐานะ อาชีพ

และสภาพทางสงั คมทีต่ า่ งกัน
3. ผู้สง่ สารและผู้รบั สารมคี วามรู้ ประสบการณ์

ตา่ งกัน
4. ผู้ส่งสารและผรู้ บั สารมีทศั นคติตอ่ สารที่รับมาต่างกนั

2.3.2 การวินิจฉัยเพื่อประเมินค่า

เป็นขน้ั ตอนการพจิ ารณาไตร่ตรองอยา่ งรอบคอบ

เพ่อื หาคณุ คา่ ของสารอยา่ งเป็นธรรม โดย
1. ปราศจากอคติ แม้วา่ สารนนั้ จะไมเ่ ป็นไปตาม
ที่ผ้รู ับสารต้องการ
2.ไม่ใช้อารมณ์หรือความรสู้ ึกในการวินิจฉยั เพื่อ
ประเมินค่า

2.3.3ประโยชนข์ องการวเิ คราะห์และประเมินค่าสาร

ผูว้ ิเคราะห์และประเมนิ คา่ สารย่อมไดป้ ระโยชนห์ ลายด้าน
ดงั นี้

1. ไดร้ บั ความร้ดู า้ นการฟัง การดู และการอา่ นมากๆ ทา
ให้เพิ่มพูนความรู้ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้

2.เป็นการเพ่มิ พนู ความคิด ฝึกการใชว้ ิจารณญาณ
แก้ปญั หาไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล

3. เป็นการพัฒนาบคุ ลิกภาพ ผวู้ ิเคราะหแ์ ละประเมนิ

ค่าสารสามารถนาผลทีไ่ ดม้ าใช้ปรับปรงุ และพัฒนา
ความรสู้ ึกนึกคดิ สร้างความเช่อื มน่ั ใหต้ นเอง เสรมิ สร้าง
ความรคู้ วามคิด อันเป็นบคุ ลิกภาพภายใน ส่งมายงั
บุคลกิ ภาพภายนอกด้วย

4. ไดร้ บั คติ ขอ้ คดิ และความสนกุ สนานเพลิดเพลินจาก
สารหลากหลายประเภท

5.ทาใหเ้ ปน็ นกั วิจารณท์ ี่ดี เน่อื งจากสามารถเข้าใจเรื่อง
เก็บใจความสาคัญ วิเคราะห์ ตีความ และประเมนิ คา่ สาร
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

จบเนือ้ หาบทที่ 2 คะ่


Click to View FlipBook Version