หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๓
วเิ คราะห์ประเด็นสาคญั ทางประวัติศาสตรไ์ ทย
๓.๖ สงั คมไทยหลงั การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕
โดย ครณู ฐั กฤต อตุ มะโน , ครอู รทัย ฟูไฟติ๊บ , ครูสุปรยี า คาโมนะ
ไทยกับการเข้ารว่ มสงครามโลกครง้ั ที่ ๒
• สงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ เกดิ ขึ้นในทวปี ยุโรป พ.ศ. ๒๔๘๒ การตดั สนิ ใจเข้าร่วมประกาศสงครามใน
ครั้งนี้ ทาใหช้ าวไทยทงั้ ภายใน และภายนอกประเทศทีไ่ ม่เหน็ ดว้ ยกบั การประกาศสงครามของ
รัฐบาล ไดร้ วมตวั กันกอ่ ตงั้ ขบวนการต่อต้านญี่ป่นุ โดยมจี ุดม่งุ หมายสาคญั เพื่อรกั ษาเอกราชและ
อธิปไตยของไทย ขบวนการน้ีใชช้ ื่อว่า “ขบวนการเสรไี ทย” ประกอบดว้ ย ๓ กลุม่ ใหญ่
กลุ่มคนไทยในสหรัฐอเมรกิ า • ม.ร.ว.เสนยี ์ ปราโมช อัครราชทูตไทยประจากรุงวอชงิ ตนั ดี.ซ.ี เป็นแกนนา
กลมุ่ คนไทยในองั กฤษ • ม.จ.ศภุ สวัสด์วิ งศ์สนิท สวัสดิวตั น์ เปน็ แกนนา
กลุ่มคนไทยในประเทศไทย • นายปรีดี พนมยงค์ ผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคเ์ ปน็ แกนนา
• ภายหลังญ่ีปนุ่ ไดป้ ระกาศยอมแพ้ในสงคราม นายปรดี ี พนมยงค์ ผสู้ าเรจ็ ราชการแทนพระองค์และ
หวั หนา้ ขบวนการเสรไี ทยจงึ ไดอ้ อกประกาศสนั ติภาพ โดยถือว่าการประกาศสงครามของไทยตอ่
สหรัฐอเมรกิ าและองั กฤษเป็นโมฆะ สหรัฐอเมรกิ าใหก้ ารสนบั สนุนและยอมรบั รองคาประกาศ
สนั ตภิ าพของไทย
การเดนิ สวนสนามของเหล่าเสรไี ทยทถี่ นนราชดาเนนิ ภายหลงั สิ้นสุดสงครามโลกครั้งท่ี ๒
• ตอ่ มา ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เขา้ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรแี ละได้เปิดการเจรจากับฝ่ายพันธมิตร
ทาให้ประเทศไทยไม่ตกเป็นประเทศผ้แู พส้ งคราม ไดร้ บั การรับรองใหเ้ ขา้ เป็นสมาชิกขององคก์ าร
สหประชาชาติ จึงกล่าวได้วา่ ความเสยี สละของขบวนการเสรีไทยมสี ว่ นสาคญั ที่ทาใหป้ ระเทศ
ไทยรอดพ้นจากการตกเป็นผแู้ พ้สงคราม สามารถรักษาเอกราชและอธปิ ไตย ตลอดจน
เกยี รตภิ มู ิของชาตเิ อาไว้ได้
บทบาทของสตรีไทย
บทบาทของสตรีไทยสมยั กอ่ นเขา้ สูค่ วามทันสมัย
• สตรไี ทยสมยั โบราณเปน็ ชนช้ันไพรแ่ ละทาส มีหน้าที่ทางานบ้าน ทาไร่ ทานา พอมี
ครอบครวั กต็ ้องเล้ียงลูก ดแู ลครอบครวั
• ตั้งแตส่ มัยอยธุ ยาถงึ สมัยรตั นโกสินทร์กอ่ นเขา้ สยู่ ุคแหง่ ความทันสมยั กฎหมายกาหนดให้
หญงิ ท่เี ปน็ ภรรยามี ๔ ลักษณะ ได้แก่ ภรรยาพระราชทาน ภรรยากลางเมือง ภรรยา
กลางนอก และภรรยากลางทาสี
• สาหรับทาสหญิงเมื่อบวชเป็นชี กฎหมายอนุญาตให้พน้ จากความเปน็ ทาสได้ หรอื หาก
นายเงินเอาทาสเปน็ ภรรยา ก็เป็นไทดว้ ยเช่นกัน และลกู ทเ่ี กิดมาก็เปน็ ไทด้วย
บทบาทของสตรไี ทยสมัยไทยปรับตวั เข้าส่คู วามทนั สมัย
• สมยั น้สี ตรไี ทยยังมหี นา้ ท่เี หมอื นเดิม คือ ทางานบ้านเลย้ี งดคู รอบครวั และออกไปทาไร่
ทานา ทาสวน ของตนเองและมลู นาย แตม่ อี สิ ระมากข้ึนกวา่ เดมิ มีโอกาสได้รับการศกึ ษา
และสามารถพ้นจากความเป็นทาสเปน็ ไท
• การปฏริ ปู ประเทศเข้าสคู่ วามทนั สมยั ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ ทาให้สถานภาพของผู้หญงิ ช้ันสูง
และชนช้ันกลางดขี ้ึน เพราะมีโอกาสได้ศึกษาเลา่ เรียน ขณะท่ผี ู้หญงิ ชนชนั้ ล่างมสี ถานภาพ
ด้อยกว่า เพราะมีโอกาสดา้ นการศกึ ษาน้อยกว่า
บทบาทของสตรไี ทยในสมยั หลงั เปล่ียนแปลงการปกครองพ.ศ. ๒๔๗๕
• ผูห้ ญงิ ในสมัยน้มี ีสิทธอิ อกเสยี งเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร แตม่ จี านวนน้อยมากที่
เขา้ ไปมสี ว่ นร่วมทางการเมือง
• ในสมัยสงครามโลกคร้งั ที่ ๒ รฐั บาลมนี โยบายสร้างชาติและใหค้ วามสาคัญกับสตรไี ทย ดงั
จะเห็นได้จากรัฐบาลได้ต้ังสานักวัฒนธรรมฝ่ายหญิงเพื่อยกฐานะของหญงิ ไทยใหเ้ ทา่ เทยี ม
กับผชู้ าย
• การกอ่ ต้งั สานกั วฒั นธรรมฝ่ายหญิงขึน้ ทาใหผ้ หู้ ญิงมบี ทบาทในการเขา้ รับราชการบาง
ตาแหน่งมากขึ้น
บทบาทของสตรีไทยภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
• หลงั การประกาศใชแ้ ผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ สตรไี ทยมีโอกาสทางานเทา่ เทยี ม
กับผู้ชาย มีบทบาททางเศรษฐกจิ และมีส่วนรว่ มในการกาหนดนโยบายสาธารณะเพม่ิ มากข้ึน
โดยเฉพาะในสถาบันการเมืองไมว่ ่าจะเปน็ สภานิตบิ ัญญตั ิ บริหาร และตลุ าการ และตาแหน่งมี
อานาจในระบบราชการ
• ในปัจจบุ ันสตรไี ทยจานวนมากตอ้ งออกไปทางานนอกบ้าน ขณะเดียวกันก็ตอ้ งแบกรบั ภาระ
งานบา้ น ทาใหเ้ กิดความเครียด สตรไี ทยชนชั้นลา่ งในสังคมไทยต้องทางานทุกอยา่ งเอง โดย
ไมม่ ีการจา้ งคนอื่นมาแทนเหมอื นสตรีทมี่ ีฐานะดี
บทบาทของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ในการพฒั นาชาตไิ ทย
ลกั ษณะและความเป็นมาของสถาบันพระมหากษตั ริย์
คาว่า “พระมหากษัตรยิ ์” เปน็ คาท่ีระบุใหเ้ หน็ หน้าท่ขี องพระมหากษตั รยิ ์อยา่ งหนึ่ง แตย่ ังมีคาอ่ืนๆ ทีแ่ สดงถงึ อานาจ
หน้าทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป ดงั น้ี
พระเจา้ อยหู่ วั • การยอมรบั ในสภาพความเปน็ เทพเจา้ ขณะเดียวกนั กเ็ ปน็ ประมขุ แหง่ รฐั หรอื
เป็นหัวหน้าผคู้ นทง้ั ปวง
พระเจา้ แผน่ ดิน • ผ้ซู ึ่งเปน็ เจ้าของแผน่ ดินทง้ั ประเทศ แล้วพระราชทานสิทธนิ ัน้ ใหแ้ กร่ าษฎร
ทว่ั ไปไดท้ ามาหากนิ ตามพระราชอานาจ
เจ้าชีวติ • ราษฎรมอบหมายพระราชอานาจให้แกพ่ ระมหากษตั รยิ ์ไดท้ รงเปน็ เจ้าของ
ชีวิตของราษฎร
ธรรมราชา • ทรงเปน็ ผู้รักษาธรรมและปฏบิ ัติธรรมดว้ ยการอยู่ในศลี ธรรมและทรงบาเพญ็ พระราชกุศล
ท้งั ปวง ทรงเป็นต้นแบบแห่งความยตุ ธิ รรม และทรงปฏบิ ตั ทิ ศพธิ ราชธรรมโดยเคร่งครดั
พระมหากษัตรยิ ์ • นักรบผ้ยู ง่ิ ใหญ่ หรือผ้ทู ี่เปน็ จอมทพั สาหรับปอ้ งกันพระราชอาณาจกั ร
• สถาบนั พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ สถาบนั ที่สงั คมไทยให้ความสาคญั และสามารถดารงอยู่มาไดโ้ ดยตลอด
นบั ตง้ั แตส่ มยั สโุ ขทัยเป็นต้นมาจนถงึ ปจั จบุ ันไทยมพี ระมหากษัตรยิ ป์ กครองแผ่นดนิ เรือ่ ยมาไม่ขาด
สาย แมว้ ่าจะมีการเปลย่ี นแปลงต่างๆ ของสังคมไทยกต็ าม สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ของไทยจงึ
เรียกได้ว่าเป็นสถาบันที่มนั่ คงอย่างยิ่ง
• ส่งิ ท่ีทาใหฐ้ านะของพระมหากษัตริยไ์ ทยเปน็ ที่เคารพนบั ถอื และไม่หา่ งไกลจากประชาชน เพราะ
สงั คมไทยถอื ครอบครวั เปน็ หลักในการดารงชวี ติ และพระพุทธศาสนาทน่ี บั ถอื มีพระรัตนตรยั เปน็
สง่ิ ทเี่ คารพสูงสุด คือ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ เม่อื มคี ตคิ วามเชื่อว่าพระมหากษตั รยิ ์ทรง
เปน็ สมมตเิ ทพ แต่พระมหากษตั ริย์กย็ งั ทรงนบั ถอื พระพทุ ธศาสนา นบั ถอื พระรัตนตรยั เชน่ เดยี วกบั
คนทง้ั ปวง ที่สาคัญทรงประพฤตพิ ระองค์เป็นเสมือน “พ่อ” ของทวยราษฎร์ ทรงให้ความใกลช้ ิด
และดแู ลทกุ ข์สุขของราษฎรทว่ั แผ่นดิน
สถาบันพระมหากษตั รยิ ์กบั การพฒั นาชาติไทย
บทบาทในการดารงรกั ษาเอกราชของชาติ
• พระมหากษตั ริย์ไทยมีหน้าท่เี ปน็ ผู้นากองทัพออกไปขบั ไล่ข้าศกึ ให้พน้ ไปจาก
ดนิ แดนขอบขณั ฑสีมาของไทย ถงึ แม้บางคร้งั มิได้ทาสงครามสู้รบ แต่กท็ รงใช้
นโยบายทางการทตู สร้างความเปน็ มิตรไมตรกี ับนานาประเทศ
บทบาทในการสร้างสรรค์และดารงรกั ษาวัฒนธรรมของไทย
• พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยทรงสร้างสรรค์และส่งเสรมิ สนับสนนุ วัฒนธรรมไทยใน
ดา้ นต่างๆ เชน่ ด้านภาษา วรรณกรรม ศลิ ปกรรม นาฏศลิ ป์ ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณแี ละศาสนา จนปัจจุบนั กลายเปน็ มรดกที่สาคัญของชาตสิ บื มา
สถาบันพระมหากษัตริย์กับการพัฒนาชาติไทย (ตอ่ )
บทบาทในการเป็นศนู ย์รวมความสามัคคีของคนในชาติ
• สถาบนั พระมหากษตั ริย์เปน็ ศนู ย์รวมของคนไทยใหเ้ กิดการรวมตัวกันเป็นน้าหนึง่
ใจเดยี วเพ่อื แก้ไขปญั หาของชาตบิ ้านเมือง เชน่ การกเู้ อกราชของไทยในสมยั
อยุธยา การสรา้ งความเข้มแขง็ และรว่ มกันปฏริ ูปบา้ นเมอื งเพอื่ รับมือกับการ
คุกคามของจกั รวรรดนิ ยิ มตะวนั ตกในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ เป็นต้น
บทบาทในการทานบุ ารุงศาสนา
• คนไทยส่วนใหญ่ตงั้ แตส่ มัยสุโขทยั อยุธยา และรตั นโกสนิ ทร์ นบั ถอื พระพุทธศาสนา
มีบางส่วนที่นบั ถือคริสตศ์ าสนาและศาสนาอสิ ลาม แม้ว่าพระมหากษัตรยิ ์จะทรง
เป็นพทุ ธมามกะ แต่กท็ รงเปน็ องคอ์ ัครศาสนูปถมั ภกทุกศาสนา จงึ ไม่เกิดปญั หา
ความขดั แย้งเรื่องการนบั ถือศาสนาในหมู่คนไทย เพราะสถาบนั พระมหากษตั รยิ ก์ ับ
สถาบนั ศาสนามีความเป็นอนั หน่ึงอันเดียวกัน
อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตกท่ีมตี ่อสงั คมไทย
อทิ ธิพลของวัฒนธรรมตะวนั ออก อิทธิพลของวฒั นธรรมตะวนั ตก
คติธรรมทางพทุ ธศาสนา ระบอบประชาธปิ ไตย
ขนบธรรมเนยี มประเพณี ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม
พระราชประเพณีในราชสานกั สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค
ภาษาและวรรณกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คาถามขอ้ คิดสะกดิ ใจ
เฉลย คาถามขอ้ คิดสะกิดใจ
เฉลย ขบวนการเสรไี ทยในศรลี งั กาและอินเดีย = Fore 136
(X.O.Group ในประเทศไทย O.S.S. ในอเมริกา)
คาถามขอ้ คิดสะกดิ ใจ
เฉลย คาถามข้อคดิ สะกดิ ใจ
เฉลย 1854 [2475-621]