บ้าน
ขนมจีน
ชุมชนบ้านเหล่า (ขนมเส้น) จังหวัดแพร่
จัดทำโดย นางสาวชริดา งามสุจริต 6242206027
คำนำ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฉบับบนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 2751494 ธุรกิจเพื่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จัดทำขึ้นเพื่อให้นิสิตศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวทรัพยากรในชุมชน เพื่อ
สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถสร้างอาชีพและคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชน
โดยชุมชนที่ผู้จัดทำได้ทำการศึกษา คือ ชุมชนบ้านเหล่า (ขนมเส้น) อ.เมือง จ.แพร่
ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่สืบทอดการทำเส้นขนมจีนมาเป็นเวลานานร่วมกว่า 566 ปี และการทำน้ำ
ซุปกระดูกหมูที่เปรียบเสมือนอาหารประจำจังหวัด นำมาสู่การต่อยอดการทำผลิตภัณฑ์
เส้นขนมจีนอบแห้งพร้อมน้ำซุปใส สูตรต้นตำรับจากจังหวัดแพร่
ผู้จัดทำขอขอบคุณ ผศ.ดร.บุณฑริกา บูลศักดิ์ ที่เปิดโอกาสให้นิสิตได้เรียนรู้
และมีส่วนในการพัฒนาชุมชน ขอขอบคุณอาจารย์ ดร.ภัทร ยืนยง ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ทรัพยากรและการพัฒนาชุมชน ขอขอบคุณอาจารย์ ดร.ปอรรัชม์ ยอดเณร ที่ให้ความรู้
ด้านการประชาสัมพันธ์สินค้า และขอขอบคุณคุณณัฐธภา พงษ์พานิช ที่ให้ความรู้และ
แนะนำเกี่ยวกับการทำบรรจุภัณฑ์
ผู้จัดทำ
สารบัญ
01 ประวัติความเป็นมาจังหวัดแพร่
02 ประวัติศาสตร์ชุมชน
03 โครงสร้างชุมชน
04 ปฏิทินชุมชน
05 แผนที่ชุมชน
06 ทรัพยากรชุมชน
08 ผลิตภัณฑ์ชุมชน
10 SWOT
สารบัญ
11 วัตถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกิจ
12 Business Model Canvas
13 แผนการตลาด
14 เป้าหมายทางการตลาด
15 วิเคราะห์ตลาด (STP)
18 ส่วนประสมทางการตลาด (4P)
25 บรรณานุกรม
1
ประวัติความเป็นมา
จังหวัดแพร่
เมืองแพร่ เป็นเมืองเก่าเมืองหนึ่งในภาคเหนือของประเทศไทย ประวัติการสร้างเมือง ไม่มีจารึกในที่ใดที่หนึ่ง
โดยเฉพาะการศึกษาเรื่องราวของเมืองแพร่จึงต้องอาศัยหลักฐาน ของเมืองอื่น เช่น พงศาวดารโยนก ตำนานเมือง
เหนือ ตำนาน การสร้างพระธาตุลำปางหลวง และศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เป็นต้นตำนานพระธาตุช่อแฮ
กล่าวว่า เมืองแพร่มีมาตั้งแต่ สมัยพุทธกาล ตำนานวัดหลวงกล่าวไว้ว่าประมาณ พ.ศ. 1371 พ่อขุนหลวงพล ราช
นัดดาแห่งกษัตริย์น่านเจ้าได้อพยพคนไทย ( ไทยลื้อ ไทยเขิน) ส่วนหนึ่งจากเมืองเชียงแสน ไชยบุรี และเวียงพางคำ
ลงมาสร้างเมืองบนที่ราบริมฝังแม่น้ำยม ขนานนามว่า เมืองพลนคร (เมืองแพร่ปัจจุบัน) ตำนานสิงหนวัติกล่าวว่า
เมืองแพร ่เป็นเมือง ที่ปกครองโดยพญายี่บาแห่งแคว้นหริภุญไชยสันนิษฐานว่าเมืองแพร่และเมืองลำพูนเป็นเมือง
ที่สร้างขึ้นมาในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ซึ่งสอดคล้องกับหลักศิลาจารึก พ่อขุนราม คำแหง มหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4
บรรทัดที่ 24 - 25 ซึ่งจารึกไว้ว่า . “.. เบื้องตีนนอน รอดเมืองแพล เมืองน่าน เมือง … เมืองพลัวพ้นฝั่ งของ เมือง
ชวา เป็นที่แล้ว …” ในข้อความนี้ เมืองแพล คือ เมืองแพร่ ศิลาจารึกนี้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 1826 จึงเป็น สิ่งที่ยืนยัน
ถึง ความเก่าแก่ ของเมืองแพร่ ว่าตั้งขึ้นมาก่อนเมืองเชียงใหม่และเชื่อว่าเมืองแพร่ได้ก่อตั้งขึ้นแล้วก่อนการตั้ง
กรุงสุโขทัยเป็น ราชธานี ชื่อเดิมของเมืองแพร่ การก่อตั้งชุมชนหรือบ้านเมืองส่วนใหญ่ในภาคเหนือมักปรากฎ
ชื่อบ้านเมืองนั้นในตำนาน เรื่องเล่า หรือจารึกตลอดจนหลักฐานเอกสารพื้นเมืองของเมืองนั้น ๆ แต่สำหรับเมืองแพร่
นั้น แตกต่างออกไปเนื่องจากไม่มีหลักฐาน ที่เกี่ยวข้อง โดยตรงจึงมีที่มาของ ชื่อเมืองจากหลักฐานอื่นดังนี้ เมืองพล
นครพลหรือพลรัฐนคร เป็นชื่อเก่าแก่ดั้งเดิมที่สุดที่พบ
ในตำนานเมืองเหนือ ฉบับใบลาน พ.ศ. 1824 กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า เจ้าเมืองลำปางได้ส่งคน มาติดต่อเจ้านคร
พล ให้ไปร่วมงานนมัสการ และฉลองวัดพระธาตุลำปางหลวง และจากตำนาน พระธาตุลำปางหลวงตอนหนึ่งได้กล่าว
ถึงเจ้าเมืองพลยกกำลังผู้คนไปขุดหาพระบรมสารีริกธาตุ บรรจุไว้ในพระธาตุ แต่ไม่พบ เมื่อศึกษาตำแหน่งที่ตั้งของ
นครพลตามตำนานดังกล่าว พบว่าคนเมืองแพร่ปัจจุบัน ชื่อพลนครปรากฎเป็นชื่อวิหารในวัดหลวง ตำบลในเวียง
อำเภอเมืองแพร่ โดยเชื่อว่าวัดนี้เป็นวัด ที่สร้างมาพร้อมกับการสร้างเมืองแพร่และเจ้าเมืองแพร่ให้ความอุปถัมภ์มา
ตลอดจนหมดยุค การปกครองโดยเจ้าเมืองเมืองโกศัย เป็นชื่อที่ปรากฎในพงศาวดารเมืองเงิน ยางเชียงแสน ชื่อนี้ใช้
เรียกเมืองแพร่ ในสมัยขอมเรืองอำนาจที่ชื่อเมืองในอาณาจักร ล้านนาเปลี่ยนเป็นภาษาบาลีตามความในยุคนั้น เช่น
น่านเป็นนันทบุรี ลำพูนเป็นหริภุญไชย ลำปางเป็นเขลาค์นคร เป็นต้น
ชื่อ เวียงโกศัย น่าจะมาจากชื่อดอยที่เป็นที่ตั้งขององค์พระธาตุช่อแฮ ซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมือง
แพร่ คือ ดอยโกสิยธชัคบรรพต หมายถึง ดอยแห่งผ้าแพร เมืองแพล เป็นชื่อที่ปรากฎ ในศิลาจารึกพ่อขุน
รามคำแหงมหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4 โดยคำว่า แพล น่าจะมาจากศรัทธาของ ชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพร หรือ
ช่อแฮที่สร้างขึ้น ภายหลังการสร้างเมืองต่อมาจึงได้เรียกชื่อ เมืองของตนว่า เมืองแพล และได้กลายเสียงเป็นเมือง
แพร่ปัจจุบัน
บ้านเหล่า (ขนมเส้น) จ.แพร่ 2
ประวัติศาสตร์ชุมชน
1990 2531
แต่เดิมพื้นที่เป็นป่ารกร้าง
ซึ่งภาษาเหนือ เรียกว่า
“เหล่า” โดยมีพ่อค้าแม่ค้าที่ซื้อวัว ควายมาจากต่าง
จังหวัด เช่น น่าน พะเยา
เชียงราย นำวัวควายมาพัก ชาวบ้านได้มีก
ารรวบรวมเงิน
ระหว่างเดินทาง จากนั้นผู้คนเริ่มอพยพมาจาก ซื้อที่ดินเพื่อสร้างวัด ตั้งชื่อวัดว่า
บ้านนาจักรมาตั้งถิ่นฐาน และมีการตั้งชื่อหมู่บ้าน
ว่า “บ้านเหล่าปางควาย” "วัดบ้านเหล่า”
สมาชิกในหมู่บ้านมีการสืบทอดการทำขนมจีนจาก
บรรพบุรุษ เริ่มมีคนจากต่างหมู่บ้านมาศึกษาวิธีการ 2550
ทำขนมจีน ทำให้บ้านเหล่ามีชื่อเสี่ยงเรื่องการทำ
ขนมจีน ซึ่งขนมจีนภาษาเหนือเรียกว่า “ขนมเส้น”
จึงเรียก หมู่บ้านนี้ว่า “บ้านแหล่าขนมเส้น” มมีีกกาารรจจััดดตตัั้้งงชกมอรงมทุผนู้สเูงง
ินอลา้ายุน
มีการสร้างพระธาตุที่วัดบ้านเหล่า หลังสร้าง
2542 เสร็จมีการทำบุญฉลองพระธาตุ ทำเป็น
ประเพณีในทุกปีช่วงเดือนกรกฎาคม มีการ
มีการจัดตั้งกองทุนหมู
่บ้าน สร้างหอประชุม คิดท่าฟ้อนรำชื่อว่า “ฟ้อนขนมเส้น” โดย
หมู่บ้าน และมีการทำถนนเลี่ยงเมืองตัดผ่าน ประยุกต์ท่ารำ มาจากขั้นตอนการทำขนมจีน
หมู่บ้าน ทำให้หมู่บ้านมีการขนส่งคมนาคมที่ และได้มีการแสดงครั้งแรกใน งานทำบุญ
ฉลองพระธาตุ
ดีขึ้น
2558
2557 ชาวบ้านอยากให้มีก
ารสืบทอดตำนาน
มีประชากรมากขึ้น การขยายตัวของ เหล่าปางควาย จึงมีการสร้างรูปปั้ น
หมู่บ้านเพิ่มมากขึ้น จึงได้มีการแยก ควาย จำนวน 2 ตัว เป็นควายเผือก
หมู่บ้านออกเป็น 2 หมู่บ้าน คือ และควายดำ ไว้บริเวณหน้าวัด
บ้านเหล่า หมู่ 5 และ หมู่ 8
3
โครงสร้างชุมชน
ผู้ใหญ่บ้าน
กรรมการ
หมู่บ้าน
กรรมการวัด กรรมการ กรรมการ สมาชิก
ฝ่ายการศึกษา ฝ่ายกีฬา แม่บ้าน
สมาชิก เหรัญญิก อสม. เลขานุการ
ผู้สูงอายุ
4
ป ฏิ ทิ น ชุ ม ช น
มกราคม กุ ม ภ า พั น ธ์ มี น า ค ม
ไหว้ศาลปู่เฒ่า วันมาฆบูชา ไหว้ปู่ย่าเจ้าบ้าน
เมษายน พฤษภาคม มิ ถุ น า ย น
ประเพณีปี๋ ใหม่เมือง วันวิสาขบูชา งานไหว้พระธาตุเหล่า
วันพญาวัน ศรีโพธิ
วันปากปี การแข่งขันประกวด
ตีกลองปู่จา สะบัดชัย
กรกฎาคม สิ ง ห า ค ม
กั น ย า ย น
ทำบุญฉลองพระธาตุ ประเพณีลอยกระทง
งานฟ้อนขนมเส้น ธั น ว า ค ม
วันอาสาฬหบูชา
วันเข้าพรรษา
ตุ ล า ค ม พ ฤ ศ จิ ก า ย น
วันออกพรรษา งานสวดมนต์ข้ามปี
งานทอดกฐิน
5
แผนที่ชุมชน
6
ทรัพยากรชุมชน
ทุนสังคม
ทุนมนุษย์ ทุนกายภาพ
ในหมู่บ้านมีผู้ใหญ่สืบทอด คนในชุมชนมีความสัมพันธ์ ที่ตั้งของบ้านเหล่า (ขนมเส้น)
วิธีการทำเส้นขนมจีน เหมือนญาติพี่น้อง มีความ มีนาข้าว บ่อปลา โรงทำเส้น
และมีความรู้ทางด้าน สัมพันธ์แบบบ้านใกล้เรือน
เคียง มีการรวมกลุ่มเพื่อทำ ขนมจีน
การทำน้ำซุปกระดูกหมู
ต้นตำรับของจังหวัดแพร่ กิจกรรมต่าง ๆ
บ้านเหล่า (ขนมเส้น) จ.แพร่
7
ทรัพยากรชุมชน
ทุนการเงิน
ทุนธรรมชาติ ทุนภูมิปัญญา
และวัฒนธรรม
มีการปลูกพืชผักสวนครัว เนื่องจากผู้อาศัยภายในชุมชน ชุมชนมีประเพณีที่สืบทอด
นำมาทำกิน นำไปส่งขาย ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ จึงมี กันมาอย่างยาวนาน และ
กองทุนผู้สูงอายุที่คอยส่งเสริม สะท้อนถึงการทำขนมจีนใน
และนำมากินร่วมกับ และสนับสนุนผู้สูงอายุ มีการจัด
ขนมจีน ตั้งกองทุนเงินล้าน และวิสาหกิจ ช่วงวันสำคัญต่าง ๆ
ชุมชน
บ้านเหล่า (ขนมเส้น) จ.แพร่
8
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
เส้นขนมจีน
ขนมจีน เป็ นอาหารคาวชนิดหนึ่ง ทำ วัตถุดิบ
ด้วยแป้ง มีลักษณะเป็ นเส้นๆ คล้ายเส้นหมี่ 1. ปลายข้าวเจ้า
สีขาว มีขนาดเล็ก มีความนุ่ม ลื่น ทาง 2. แป้งมัน
ภาคเหนือเรียกว่า ขนมเส้น หรือข้าวเส้น 3. สารส้ม
ห รื อ ข้ า ว ห น ม เ ส้ น
ขั้นตอนการทำ
1. นำปลายข้าวเจ้า ไปแช่น้ำเปล่า ทิ้งไว้ประมาณ 2 ชั่วโมง
2. หลังจากครบ 2 ชั่วโมง นำปลายข้าวเจ้าที่แช่น้ำใส่กระบุง พักให้สะเด็ดน้ำ แล้วนำไป
ผึ่งแดดปิดฝาทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน โดยลาดน้ำให้ชุ่มทุกวัน เช้า-เย็น จนกว่าข้าวจะเปื่ อย
3. นำข้าวที่เปื่ อยแล้ว มาโม่ด้วยเครื่องโม่ ให้เป็นน้ำแป้ง จากนั้นกรองด้วยผ้าขาวบาง เพื่อเอากากออก
แล้วนำสารส้มมาแกว่งจนให้ได้น้ำใส จากนั้นเทน้ำทิ้ง ให้เหลือแต่แป้ง
4. นำเนื้อแป้งที่ได้ มาใส่ในถุงผ้า แล้วนำไปต้มจนกว่าน้ำจะแห้ง และได้เป็นก้อนแป้ง
5. นำก้อนแป้งที่ได้ มาคลึง ให้เป็นลูกกลม ๆ แล้วห่อด้วยผ้าขาวบาง นำไปต้มจนกว่าแป้งจะสุก
แล้วพักให้เย็น
6. นำแป้งที่ต้มสุกแล้ว ไปปั่ นด้วยเครื่องปั่ น ผสมน้ำพอประมาณ ค่อยผสมน้ำ พอให้เหนียว เติมแป้ง
มันลงไป ปั่ นจนได้ลักษณะเนื้อแป้งเป็นโคลน
7. จากนั้นนำแป้งที่ปั่ นได้ที่แล้ว มานวดด้วยมือ ขณะนวดให้เติมน้ำอุ่น ทีละน้อย ๆ จนลักษณะคล้ายกับ
ครีมเหนียว จากนั้นกรองด้วยผ้าอีกครั้งหนึ่งก่อนนำไปบีบเป็นเส้นขนมจีน
8. ตักแป้งใส่ในภาชนะที่เรียกว่าเฝือน แล้วบีบให้แป้งผ่านรู ลงในหม้อน้ำเดือด
9. สังเกตเมื่อเส้นขนมจีนสุกก็จะลอยขึ้นมา เมื่อเส้นขนมจีนลอยขึ้นมา ตักเส้นขนมจีนไปล้างในน้ำเย็น
ประมาณ 2-3 น้ำ
10. นำเส้นขนมจีนที่ล้างน้ำเย็น 2-3 น้ำแล้ว นำไปแช่น้ำเย็น เพื่อการจับเส้นขนมจีนใส่ตระกร้า ใช้มือ
สาวเส้นขนมจีน จับเล็ก-ใหญ่ ตามความต้องการ ใส่ลงในกระจาดที่รองด้วยใบตองด้านข้าง
9
ขนมจีนน้ำใส
ขนมจีนของจังหวัดแพร่เป็น "ขนมจีนน้ำใส” เป็นอาหารที่เป็นเอกลักษณ์
สามารถรับประทานประกอบเครื่องเคียงที่หลากหลาย ทั้งพืชผักสมุนไพร
ซึ่งน้ำซุปมีจุดเด่นที่เป็นน้ำซุปกระดูกหมูใสเข้มข้น ไม่เหมือนน้ำเงี้ยวของ
จังหวัดอื่น ๆ ในภาคเหนือ มีกลิ่นหอมของรากผักชีและกระเทียมเจียว
คลุกเคล้ากับหมูสับ และเลือดหมู และนิยมรับประทานคู่กับส้มตำ ข้าวส้ม
สูตรต้นตำรับเมืองแพร่ และข้าวกั้นจิ้น ซึ่งเรียกว่า "ขนมเส้นน้ำใส” เป็น
อาหารประจำจังหวัดเลยก็ว่าได้
วัตถุดิบ วิธีทำ
หมูสับ กระดูกหมูอ่อน 1. เตรียมข่าอ่อน กระเทียม รากผักชี กระดูกหมูอ่อน
หมูสับเตรียมเอาไปผัด
มะเขือเทศ รากผักชี 2. เตรียมเลือดหมูหั่นเต๋า มะเขือเทศ
3. ผัดเครื่องทุกอย่างให้หอม
ข่าอ่อน กระเทียม 4. เติมนํ้าเคี่ยวให้กระดูกหมูอ่อนนุ่ม
5. ชิมรสให้ได้รสเค็มนัว
เลือดหมู พริกป่น 6.ตักราดขนมจีนพร้อมผักเคียง
ผักกาดดอง ถั่วงอก
ขนมจีน ต้นหอม
ผักชี เกลือ
นํ้าปลาร้า
10
Strengths Weaknesses
เ ป็ น อ า ห า ร ป ร ะ จำ จั ง ห วั ด แ พ ร่ เ ป็ น อ า ห า ร ที่ รู้ จั ก กั น เ พี ย ง ภ า ย ใ น
รสชาติดี มีเอกลักษณ์ จังหวัดแพร่
เส้นขนมจีนจากหมู่บ้านต้น
กำเนิดขนมจีนของจังหวัดแพร่ ขั้นตอนการทำขนมจีนน้ำใสต้อง
มีผู้ผลิตหลายเจ้าในชุมชน เ ป็ น ผู้ ที่ รู้ จั ก แ ล ะ ชำ น า ญ ใ น ก า ร ทำ
SW
OT
Opportunities Threats
ช่องทางการขายที่สะดวกขึ้น ภาวะเศรษฐกิจส่งผลต่อกำลังซื้อ
พฤติกรรมผู้บริโภคที่ชอบ ของผู้บริโภค
รับประทานแบบง่าย ๆ และสะดวก มีคู่แข่งในด้านขนมจีนมากมาย
อาจเข้าสู่ตลาดได้ยาก
ขาดเทคโนโลยีที่สามารถช่วย
ถนอมอาหารไว้ได้นาน
11
วัตถุประสงค์และ
เป้าหมายทางธุรกิจ
เป้าหมาย
เพิ่มการรับรู้ ร่วมมือกับชุมชน
สร้างยอดขาย จำหน่ายทั่วทุกภูมิภาค
ตัวแทนอันดับ 1 ในผลิตภัณฑ์
ขนมจีนอบแห้งพร้อมน้ำซุปใสของจังหวัดแพร่
วัตถุประสงค์
สร้างการรับรู้ ขยายฐานลูกค้า
สร้างรายได้ให้คนในชุมชน
12
Business Model Canvas
Key Key Vlaue Customer Customer
Partners Activities Prepositions Relationship Segments
ร้านขนมจีน ถ่ายทอดเรื่องราว
การสื่อสารกับลูกค้า กลุ่มลูกค้า
ในชุมชน ของขนมจีนที่มาจาก ผ่านทางแพลตฟอร์ม นักท่องเที่ยว
ร้านผลิต ชุมชน ขนมจีนรสชาติ ของแบรนด์ กลุ่มลูกค้าที่ชื่น
ขนมจีนใน ผลิตขนมจีนที่มี ที่มีเอกลักษณ์ การออกโปรโมชั่น ชอบการรับ
ชุมชน คุณภาพ สะอาด สูตรต้นตำรับ เมื่อถึงเทศกาล ประทานขนมจีน
ร้านขายของ และปลอดภัย ของจังหวัดแพร่ กลุ่มลูกค้าท้องถิ่น
ฝาก พัฒนาและปรับปรุง และจังหวัดใกล้
สินค้าให้ตอบโจทย์ ขนมจีนที่สะอาด เคียง
ลูกค้า ปลอดภัย และ
สร้างรายได้ให้แก่ สะดวกต่อการ
คนในชุมชน รับประทาน
Key Channel
Resources
ร้านขายของฝาก
เงินทุน บูธแสดงสินค้า
ผู้ชำนาญด้านการ Facebook Page
ทำขนมจีนน้ำใส Instagram
อุปกรณ์การทำ Tiktok
เส้นขนมจีน
เทคโนโลยีในการ
ออกแบบบรรจุ
ภัณฑ์
Cost Structure Revenue Streams
ค่าวัตถุดิบ รายได้จากการขายสินค้า
ค่าบรรจุภัณฑ์ เงินสนับสนุนจากรัฐเพื่อ
ค่าจ้างงาน สนับสนุนวิสาหกิจชุมชน
ค่าขนส่ง
ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
ค่าฝายขายสินค้า
13
แผนการตลาด
เป้าหมายทางการตลาด การวิเคราะห์ตลาด
(STP)
ส่วนประสมทางการตลาด
(4P)
VISION NETWORKS INC.
14
เป้าหมายทางการตลาด
เ ป้ า ห ม า ย ร ะ ย ะ สั้ น
1. สร้างการรับรู้ของผลิตภัณฑ์ ให้กลุ่มเป้าหมายจดจำและรับรู้ว่าแบรนด์
บ้านขนมจีน เป็นแบรนด์ขนมจีนน้ำใสที่อร่อย สะอาด และรับประทาน
สะดวก
2. ร่วมมือกับคนในชุมชน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ และสร้าง
รายได้ให้แก่คนในชุมชน
เ ป้ า ห ม า ย ร ะ ย ะ ย า ว
1. มุ่งมั่นนำเสนอให้ขนมจีนน้ำใสเป็นอาหารที่ถูกพูดถึง
เมื่อนึกถึงอาหารเหนือ
2. กระจายสินค้าสู่ทั่วทุกภูมิภาค
3. สร้างรายได้ให้วิสาหกิจชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ต่อไป
15
SEGMENTATION
กลุ่มลูกค้าท้องถิ่นและจังหวัดใกล้เคียง
30%
กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบการรับประทานขนมจีน
40%
กลุ่มลูกค้านักท่องเที่ยวที่ต้องการซื้อของฝากจากจังหวัดแพร่
30%
การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ ขนมจีนอบแห้งพร้อมน้ำซุปใส สามารถแบ่งกลุ่ม
เพื่อกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดได้ ดังนี้
1. กลุ่มลูกค้านักท่องเที่ยว
กลุ่มลูกค้าที่เป็นนักท่องเที่ยวมาจากต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ มีความสนใจในตัวของผลิตภัณฑ์ของ
จังหวัดแพร่โดยตรงเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถหาทานได้ง่าย ๆ และมีรสชาติที่อร่อยกลมกล่อม และ
ต้องการนำไปเป็นของฝากสำหรับครอบครัวหรือคนใกล้ชิดได้ กลุ่มลูกค้านี้จะมีอัตราส่วนที่ 30
2. กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบการรับประทานขนมจีน
กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบการรับประทานขนมจีนและต้องการลิ้มลองขนมจีนที่แปลกใหม่ และหาทานได้
ที่จังหวัดแพร่ที่เดียวในประเทศไทย ดังนั้นการแปรรูปผลิตภัณฑ์และเพิ่มให้สามารถรัับประทานได้ที่บ้าน
จึงเป็นการดีที่จะเพิ่มฐานของลูกค้าที่จะรับประทานขนมจีนน้ำใสและเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น
กลุ่มลูกค้านี้จะมีอัตราส่วนที่ 40
3. กลุ่มลูกค้าท้องถิ่นและจังหวัดใกล้เคียง
กลุ่มลูกค้าในพื้นที่หรือจังหวัดใกล้เคียง ที่มีพฤติกรรมการทานขนมจีนน้ำใสอยู่เป็นประจำ และจะแวะเวียนกลับ
มาบริโภคใหม่อย่างบ่อยครั้งแน่นอน เพราะเป็นอาหารพื้นบ้านที่เป็นที่รู้จักกันดีในพื้นที่ชุมชนบ้านเหล่า กลุ่มลูกค้านี้
จะมีอัตราส่วนที่ 30
16
TARGETING
เป้าหมายหลัก กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบการรับประทานขนมจีน
พฤติกรรมของคนที่บริโภคขนมจีนส่วนใหญ่จะมาจากบุคคลที่มี
ความชื่นชอบในอาหารชนิดนี้ และขนมจีนเป็นอาหารที่มีความหลากหลาย
ไม่ว่าจะเป็น ขนมจีนน้ำเงี้ยวหรือขนมจีนแกงไก่ เป็นต้น ดังนั้นหาก
สามารถสร้างฐานลูกค้าจากลูกค้าที่ชื่นชอบการรับประทานขนมจีนได้
จะช่วยผลักดันให้ผลิตภัณฑ์ของชุมชน มีชื่อเสียงในกลุ่มคนที่ชื่นชอบ
ขนมจีน และต้องมาจังหวัดแพร่สักครั้งเพื่อลองชิมขนมจีนน้ำใสแบบ
ต้นตำรับ และสามารถส่งออกสินค้าไปสู่ท้องตลาดหรือจังหวัดอื่น ๆ
ได้ในอนาคต
เป้าหมายรอง ลูกค้าที่เป็นลูกค้าในท้องถิ่น หรือจังหวัดใกล้เคียง
และกลุ่มลูกค้าที่เป็นนักท่องเที่ยว
เนื่องจากยังคงต้องเอาใจใส่ลูกค้าเก่า หรือลูกค้าที่มีพฤติกรรมการบริโภค
ขนมจีนน้ำใสมากที่สุดเอาไว้ เพื่อผลักดันออกสู่ตลาดภายนอกได้ หรือเรียกอีก
อย่างว่าการบริโภคภายในชุมชน และนอกจากนั้นกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาในฐานะ
นักท่องเที่ยวที่จะเป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ส่งออกสินค้าแบบทางอ้อมไปสู่ลูกค้าใหม่ ๆ
หรือบอกต่อกันแบบปากต่อปากถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ในทางเดียวกัน
กำลังซื้อของกลุ่มลูกค้าที่เป็นนักท่องเที่ยว จะมีแนวโน้มในการซื้อสินค้าที่มี
แพคเกจสวยงามและสร้างสรรค์ ในราคาที่สูงกว่าสินค้าทั่วไปเพื่อนำไปเป็น
ของฝากให้ครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิด
17
POSITIONING
ในปัจจุบันขนมจีนน้ำซุปใสยังไม่เป็นที่แพร่หลายสำหรับบุคคลที่อยู่ภายนอก
พื้นที่จังหวัดแพร่มากนัก เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และ
เป็นภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ดังนั้นเป้าหมายของแบรนด์ บ้านขนมจีน คือ
การเป็นตัวแทนอันดับ 1 ในผลิตภัณฑ์ขนมจีนอบแห้งพร้อมน้ำซุปใสของจังหวัด
แพร่และชุมชนบ้านเหล่าขนมเส้น เพื่อส่งต่อรสชาติและกลิ่นอายของ ความเป็นพื้น
บ้านของจังหวัดแพร่สู่บุคคลภายนอกและนักท่องเที่ยว โดยมุ่งเน้นที่คุณภาพของ
สินค้าและบอกเล่าเรื่องราวผ่านรสชาติของขนมจีนน้ำซุปใสจากสูตรต้นตำรับของ
คนจังหวัดแพร่
การวางตำแหน่งของแบรนด์
แบรนด์บ้านขนมจีนจะต้องมีคุณภาพ สร้างสรรค์ มีเอกลักษณ์ และนำเสนอ
เรื่องราวได้น่าสนใจในสายตาลูกค้า เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคได้
บ้านขนมจีน
ชุมชนต้นกำเนิดขนมจีนของจังหวัดแพร่
มาพร้อมน้ำซุปใส สูตรต้นตำรับ
มอบคุณค่าให้ลูกค้าผ่านเรื่องราว
และรสชาติที่คุณต้องลิ้มลอง
18
Product
ผลิตภัณฑ์เส้นขนมจีนอบแห้ง
พร้อมเครื่องน้ำซุปใสเข้มข้น
ขนมจีนอีกรูปแบบหนึ่ง ในรูปเส้นแห้งเพื่อให้
เก็บได้นาน และพร้อมรับประทาน ได้ทุกเมื่อ
โดยผลิตจากการหมักข้าวหรือแป้ง แล้วนำมา
นวด และขึ้นรูปให้เป็นเส้น หลังจากนั้นนำมาตัด
และจัดเยงก่อนเข้าเครื่องอบแห้งจนได้ขนมจีน
แห้งที่สามารถเก็บไว้ได้นาน และพร้อมรับ
ประทานด้วยการต้มภายใน 5-10 นาที
ทางแบรนด์บ้านขนมจีนใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ และกรรมวิธี
ที่สะอาด ปลอดภัย โดยผลิตจากผู้ที่มีความชำนาญในด้าน
การทำเส้นขนมจีนของชุมชนบ้านเหล่า (ขนมเส้น) จ.แพร่
และเพื่อให้ลูกค้าได้ชิมขนมจีนน้ำใส รสชาติต้นตำรับ
จากทางเหนืออย่างสะดวกสบายภายใน 20 นาที
19
Logo บ้ า น ข น ม จี น
COLOURS
# A 6 2
6 2 6 #A8452A # F F F
F F F สีแดง ส่งผลกับอารมณ์ ให้ความรู้สึกร้อน
อุดมสมบูรณ์ และช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
สีขาว แสดงถึง สีของเส้นขนมจีน
FONTS
UID ปริศนา
กขคงจฉชซ
1234567890
DESCRIBE
ชื่อแบรนด์ "บ้านขนมจีน" มาจากชุมชนที่เป็นหมู่บ้านที่สืบทอดการผลิต
เส้นขนมจีนมาอย่างยาวนาน จึงให้คำว่าบ้านให้ซึ่งให้ความรู้สึกผูกพันธ์
กับการทำขนมจีน
สโลแกน "อร่อยถูกใจ ใคร ๆ ก็อยากลิ้มลอง"
โลโก้ใช้เส้นสีขาวขดกันให้เหมือนเส้นขนมจีนที่ทำเสร็จไว้บนตะกร้า และ
โยงออกมาจากตัวอักษร คำว่า "บ้าน" เพื่อแสดงถึงความผูกพันธ์ของ
หมู่บ้านและการทำขนมจีน
Packaging 20
ส่ ว น ที่ 1
กล่องบรรจุภัณฑ์
พื้นหลังของบรรจุภัณฑ์เป็น
"ลายดอกสัก" เป็นลายผ้า
อัตลักษณ์จังหวัดแพร่
ด้านหน้า ด้านหลัง
บ้ า น ข น ม จี น ทำ ไ ม ต้ อ ง ข น ม จี น น้ำ ใ ส
บ้ า น เ ห ล่ า ( ข น ม เ ส้ น ) ?
ขนมจีนน้ำใสพร้อมปรุง
ต้นตำรับจังหวัดแพร่ ชุมชนต้นกำเนิดขนมจีนของจังหวัดแพร่ มากว่า 566 ปี
มาพร้อมน้ำซุปใสสูตรต้นตำรับ มอบคุณค่าให้ลูกค้าผ่านเรื่องราว
น้ำหนักสุทธิ 200 กรัม
แ ล ะ ร ส ช า ติ ที่ คุ ณ ต้ อ ง ลิ้ ม ล อ ง
ส่วนผสม
เส้นขนมจีนอบแห้ง 100 กรัม รากผักชี 15 กรัม
กระเทียม 15 กรัม
ข่าอ่อน 15 กรัม เกลือ 15 กรัม
พริกป่น 15 กรัม
น้ำปลาร้า 20 กรัม
วิธีปรุง ทำด้วยใจจาก
วิสาหกิจชุมชนบ้านเหล่า
1 . ตั้ ง ห ม้ อ ใ ส่ น้ำ เ ป ล่ า ล ง ไ ป ต้ ม น้ำ ใ ห้ เ ดื อ ด พ ล่ า น (ขนมเส้น) จ.แพร่
2 . นำ เ ส้ น ข น ม จี น ล ง ไ ป ต้ ม ก ด ใ ห้ เ ส้ น ข น ม จี น จ ม น้ำ
3 . ค น เ ส้ น ข น ม จี น เ ป็ น ร ะ ย ะ ๆ ป ร ะ ม า ณ 7 - 9 น า ที อร่อยถูกใจ
4 . เ ท น้ำ อ อ ก ส ะ เ ด็ ด น้ำ แ ล้ ว นำ เ ส้ น ข น ม จี น แ ช่ ใ น น้ำ เ ย็ น
5 . ต้ ม เ ค รื่ อ ง น้ำ ซุ ป ก ร ะ ดู ก ห มู เ ข้ ม ข้ น ใคร ๆ ก็อยากลิ้มลอง
6 . เ ท น้ำ ซุ ป เ ข้ า กั บ ข น ม จี น พ ร้ อ ม รั บ ป ร ะ ท า น
MFG: 040422
EXP: 170822
ประกอบด้วย ประกอบด้วย
ชื่อแบรนด์ รูปผลิตภัณฑ์ ที่มาของผลิตภัณฑ์ ป้ายวิสาหกิจชุมชน รูปผลิตภัณฑ์
น้ำหนักสุทธิ และคุณค่าทางโภชนาการ ส่วนผสม วิธีปรุง วันหมดอายุ และเครื่องหมายอย.
Packaging 21
ส่ ว น ที่ 2 ทำด้วยใจจาก
วิสาหกิจชุมชนบ้านเหล่า
ซองเครื่องน้ำซุปใส
(ขนมเส้น) จ.แพร่
ป้า ย เ พื่ อ แ ส ด ง ว่ า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
ผ ลิ ต โ ด ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น
ซองเส้นขนมจีนอบแห้ง
ถุงซีลสุญญากาศ ถุงพลาสติกซีล
ช่วยให้คงรสชาติ ความสดใหม่ของเครื่องน้ำซุป ป้องกันความชื้น และทนต่อสภาพอากาศ
และช่วยยืดอายุอาหาร ชะลอการเน่าเสีย ได้หลากหลาย
22
Price
ราคา
การตั้งราคา
ใช้กลยุทธ์การตั้งราคาขาย
จากต้นทุน (Cost Plus)
ราคา
กล่องละ 79 บาท
รายได้หลังหักค่าใช้จ่าย วิสาหกิจชุมชน
บ้านเหล่า (ขนมเส้น) จะนำไปพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ต่อไป
23
Place
ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด จำ ห น่ า ย
จำหน่ายที่ร้านขนมจีนในชุมชนบ้านเหล่า (ขนมเส้น)
จำหน่ายที่ร้ายขายของฝากจังหวัดเแพร่
ออกงานแสดงสินค้าท้องถิ่น / ประจำจังหวัด
จำหน่ายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์
ทั้ง Facebook Fanpage และ Instagram
@baankanomjeen
24
Promotion
การส่งเสริมการขาย
ออกโปรโมชั่นลดราคาเมื่อถึงเทศกาลสำคัญต่าง ๆ
เพื่อให้ลูกค้าซื้อกลับเป็นของฝาก
https://drive.google.com/file/d/1qr2DRIAX9UA0Ij9tPmE0xLxDNY
RiftQt/view?usp=sharing
การส่งเสริมการตลาด
ประชาสัมพันธ์ผ่านวิดีโอสั้น ๆ โดยเล่าเรื่องราวความเป็นมา
ของหมู่บ้าน กว่าจะเป็นเส้นขนมจีน ในรูปแบบ Episode เพื่อ
สร้างการรับรู้ของผลิตภัณฑ์ ผ่าน #บ้านขนมจีนStories ใน
Facebook Instagram และ TikTok
25
บรรณานุกรม
ก ลุ่ ม ง า น ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร สำ นั ก ง า น จั ง ห วั ด แ พ ร่ . ( ม . ป . ป . )
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง จั ง ห วั ด แ พ ร่ . จ า ก
HTTP://WWW.PHRAE.GO.TH/INFO/INFO1.HTML
รักบ้านเกิด. (2554). การทำเส้ นขนมจีนสูตรโบราณจากปลายข้ าวเจ้ า.
จาก https://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?
id=1908&s=tblareablog
Angkhana Schultheiss. (2561). ขนมจีนน้ำใสเมืองแพร่ . จาก
https://www.wongnai.com/recipes/ugc/231702d3a90
34622878abe5cc22ffbc7
Sandy Sine. (2562). ประวัติศาสตร์ ชุ มชน. จาก
https://prezi.com/p/ngq7jt4zoxul/presentation/
บ้านขนมจีน