The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเผชิญโควิด สพป ระนอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนเผชิญโควิด สพป ระนอง

แผนเผชิญโควิด สพป ระนอง

1

คำนำ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) ในประเทศไทย
ได้ขยายขอบเขตการแพร่ของโรคออกไปในวงกว้าง กระจายไปในหลายพื้นที่ การตรวจพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อ
รายใหม่ โดยเฉพาะกรณีที่เป็นการติดเชื้อภายในประเทศ มีจานวนเพิ่มสูงขึ้นในแต่ละวัน ประกอบกับ
มีการเดินทางของบุคคลจากพื้นที่ที่กาหนดให้เป็นเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุด ซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่ปรากฏอาการ
ของโรค เป็นเหตุให้เชือ้ โรคแพร่ออกไปในลักษณะเป็นกลุ่มก้อน ผู้ติดเชื้อโรคบางส่วนปกปิดข้อมูลการเดินทาง
ทาให้ขั้นตอนการสอบสวนโรคเกิดความล่าช้า และเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้อง จนส่งผล
ให้เกิดการระบาดขยายเป็นวงกว้าง รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคนา 2019 (COVID – 19) จึงได้กาหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย
ให้กับประชาชนทั้งประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และจังหวัด
ระนอง จึงได้ขยายผลการดาเนินงานตามนโยบายและแนวปฏิบัติดังกล่าว เพื่อขับเคลื่อนการศึกษาไทย
ให้ก้าวต่อไปในภาวะฉุกเฉินนี้

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีความห่วงใยผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากร
ทางการศึกษา และนักเรียนในสังกัดทุกคน จึงได้จัดทา “คู่มือแผนเผชิญเหตุ และกำรเฝ้ำระวัง ติดตำม
แนวทำงกำรปฏิบัติ เพื่อรับมือกับกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19)
ระลอกใหม่ ในสถำนศึกษำสังกัดสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำระนอง ” โดยหวัง
เป็นอย่างยิง่ ว่า สถานศึกษาในสงั กัด จะได้นาไปใช้ประกอบและเป็นแนวปฏิบัติ ที่ทันต่อเหตุการณ์ อันจะส่งผล
ให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง ปลอดภัย ไม่เสี่ยง และสามารถดาเนินชีวิต
อย่างปกติสขุ ตามแนวชีวติ วิถีใหม่ (New Normal)

กลุ่มสง่ เสริมการจัดการศกึ ษา
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง

2

สำรบญั

เรอ่ื ง หน้ำ
คานา.............................................................................................................................................. 1
สารบัญ.......................................................................................................................................... 2
บทที่ 1 บทนา................................................................................................................................... 3
บทที่ 2 แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)... 7
บทที่ 3 แนวปฏิบตั ิสาหรบั สถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง....... 10
บทที่ 4 การปฐมพยาบาลทางดา้ นจติ ใจในช่วงที่มกี ารระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
13
(COVID – 19)........................................................................................................................ 18
บรรณานกุ รม................................................................................................................................... 20
ภาคผนวก........................................................................................................................................ 35
คณะผู้จดั ทา....................................................................................................................................

3

บทที่ 1
บทนำ

กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ (2563, น.1) กล่าวว่า โรคโควิด คือ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disesse 2019 (COVID – 19)) เป็นตระกูลของไวรัสที่ก่อให้อาการป่วยตั้งแต่
โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจระวันออกกลาง
(MERS – COV) โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลนั รนุ แรง (SARS – COV) เป็นสายพันธ์ุใหมท่ ีไ่ ม่เคยพบมาก่อน
ในมนุษย์ ก่อให้เกิดอาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคนและสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้ โดยเชื้อไวรัสนี้
พบการระบาดครั้งแรกในเมืองฮ่ัน มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019 หลังจากน้ัน
ได้มกี ารระบาดไปท่ัวโลก องค์การอนามัยโลกจึงตั้งชื่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่นี้ว่า โรคโควิด 19
ซึ่งอาการทั่วไปของผู้ป่วย พบว่ามีอาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบากเหนื่อย
หอบ ไม่ได้กลิน่ ไม่รู้รส ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ
ไตวาย หรืออาจเสียชีวิตโรคโควิด 19 การแพร่กระจายเชื้อพบว่าโรคชนิดนี้มีความเป็นไปได้ที่มีสัตว์
เป็นแหล่งรังโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านผลละอองเสมหะและการไอ น้ามูก
น้าลาย ปจจ จบุ นั ยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนการแพร่กระจายเชื้อผ่านทางการพื้นผิวสัมผัสที่มีไวรัสแล้วมาสัมผัส
ปาก จมูกและตา สามารถแพร่เช้อื ผ่านทางเชือ้ ที่ถกู ขับถ่ายออกมากับอุจจาระเข้าสู่อีกคนหนึ่งโดยผ่านเข้าทาง
ปาก (Feco – oral route) ได้ด้วย การรักษาพบว่ายังไม่มียาสาหรับปอองกันหรือรักษาโรคโควิด 19 ผู้ที่ติดเชื้อ
อาจต้องได้รับการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ โดยอาการที่มีแตกต่างกัน บางคนรุนแรงไม่มาก
ลักษณะเหมอื นไข้หวดั ทัว่ ไป บางคนรุนแรงมาก ทาให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการใกล้ชิดร่วมกับการ
รักษาด้วยการประคับประคองอาการจนกว่าจะพ้นอาการช่วงนั้นและยังไม่มียาตัวใดที่มีหลักฐานชัดเจนว่า
รักษาโรคโควิด 19 ได้โดยตรง กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเชื้อ ได้แก่ ผู้ที่เพิ่งกลับจากพื้นที่เสี่ยง สัมผัส
ใกล้ชิดผู้ป่วยสงสัยติดเชื้อ กลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ได้แก่ ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป
ผปู้ ่วยโรคเรือ้ รัง เชน่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหวั ใจ ภูมแิ พ้ เด็กเล็กอายุต่ากว่า 5 ปี

ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก (2563) ได้กล่าวถึง วิธีปอองกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่
ดงั น้ี

1. หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกบั ผู้ป่วยทีม่ อี าการไอ จาม น้ามูกไหล เหน่อื ยหอม เจบ็ คอ
2. หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในพืน้ ที่เสี่ยง
3. สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมือ่ ยู่ในทีส่ าธารณะ
4. ระมัดระวังการสัมผัสพื้นผิวที่ไม่สะอาด และอาจมีเชื้อโรคเกาะอยู่ รวมถึงสิ่งที่มีคนจับบ่อยคร้ัง
เช่น ที่จับบน BTS, MRT, Airport Link ที่เปิด – ปิดประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบันได ฯลฯ
เม่ือจับแล้วอย่าเอามือสัมผัสหน้า และข้าวของเคร่ืองใช้ส่วนตัวต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ กระเป๋า ฯลฯ ล้าง

4
มอื ให้สมา่ เสมอด้วยสบู่ หรอื แอลกอฮอล์เจลอย่างนอ้ ย 20 วนิ าที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่ต่ากว่า 70%
(ไม่ผสมน้า)

5. งดจับตา จมกู ปาก ขณะทีไ่ ม่ได้ล้างมอื
6. หลีกเลีย่ งการใกล้ชิด สัมผสั สตั ว์ต่าง ๆ โดยทีไ่ ม่มีการปอองกนั
7. รบั ประทานอาหารสุก สะอาด ไม่ทานอาหารทีท่ าจากสตั ว์หายาก
8. สาหรบั บุคลากรทางการแพทย์หรอื ผทู้ ี่ต้องดแู ลผู้ป่วยทีต่ ดิ เช้ือไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่
หรือ โควิด – 19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่แว่นตานิรภัย เพื่อปอองกันเชื้อในละอองฝอยจาก
เสมหะหรอื สารคดั หลง่ั เข้าตา

วิธีปฏิบัติหากมีอาการโควิด 19 หากมีอาการของโรคทีเ่ กิดขึ้นเกิน 5 ขอ้ ขึน้ ไป ควรพบแพทย์
เพื่อทาการตรวจอย่างละเอียด และเมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบงั ไม่บิดเบือนข้อมูล
ใด ๆ เพราะจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การวินิจฉยั โรคอย่างถูกต้องมากที่สุด และหากเดินทางไปกลบั จากพืน้ ที่เสี่ยง
ควรกักตัวเองอยู่แตใ่ นบ้าน ไม่ออกไปข้างนอกเป็นเวลา 14 – 27 วนั เพือ่ ให้ผ่านช่วงเชือ้ ฟกจ ตัว (ใหแ้ นใ่ จจรงิ ๆ
ว่าไม่ติดเชอื้ )

กระทรวงศึกษาธิการ (2564) มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การเลื่อนเวลาเปิดภาคเรียนที่ 1
ประจาปีการศึกษา 2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ ความว่าผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ
ได้ร่วมประชุมหารือเร่ืองการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เน่ืองจากสถานการณ์โดยรวมการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาจจะมีความรุนแรงมากขึ้นและจะกระทบต่อการจัดกิจกรรมการ

5

เรียนการสอน จึงมีมติให้เลื่อนการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จากวันที่ 17 พฤษภาคม 2564
เป็นวนั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2564 นนั้

แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่ท่ัวประเทศ
มีความรุนแรงอยู่ในหลายพื้นที่ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการมีความห่วงใยความปลอดภัยทางสุขภาพและระวัง
ปอองกันนักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดและในกากับ
ของกระทรวงศึกษาธิการไม่ต้องเสี่ยงกับการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกอบกับศูนย์บริหารสถานการณ์
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) เห็นชอบการเลื่อนเวลาเปิดภาคเรียนที่ 1 ประจาปี
การศึกษา 2564 แล้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศกาหนดแนวปฏิบัติการเปิดภาคเรียน
ที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2564 ดังนี้

ข้อ 1 ให้โรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดและในกากับของกระทรวงศึกษาธิการเลื่อนการเปิด
ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2564 เป็นวนั ที่ 14 มิถุนายน 2564

ข้อ 2 โรงเรียนหรือสถานศึกษาแห่งใดมีความพร้อม และประสงค์จะเปิดภาคเรียนที่ 1 ประจาปี
การศกึ ษา 2564 ก่อนวนั ที่กาหนดตามข้อ 1 ให้โรงเรียนหรอื สถานศกึ ษาแหง่ นนั้ ดาเนนิ การ ดงั น้ี

(1) โรงเรียนหรอื สถานศกึ ษาที่ตง้ั อยู่ในพืน้ ทีค่ วบคุมสงู สดุ และเข้มงวด (สีแดงเข้ม) ให้จัดการเรียนการ
สอนเฉพาะรูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล (On Air, Online, On Demand, On Hand ผ่านทางไปรษณีย์)
เท่าน้ัน

(2) โรงเรียนหรือสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุด (สีแดง) หรือพื้นที่ควบคุม (สีส้ม) สามารถ
จัดการเรียนการสอนได้ทั้ง 5 รูปแบบ (On Site, On Air, Online, On Hand, On Demand) โดยรูปแบบ On Site
น้ัน โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้องผ่านเกณฑ์การประเมินความพร้อมของระบบ Thai Stop Covik + (TSC +)
และได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั ก่อน

ท้ังนี้ โรงเรียนและสถานศกึ ษาในสังกัดและในกากับของกระทรวงศกึ ษาธิการต้องปฏิบัติตามมาตรการ
ของกระทรวงสาธารณสุขโดยเคร่งครดั

คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดระนอง (2564) แจ้งว่า สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID – 19) ได้เกิดการระบาดระลอกใหม่ขึ้นในเดือนเมษายน 2564 อันเป็นช่วงวันหยุด
เทศกาล โดยในรอบนี้ผู้ติดโรคจะไม่แสดงอาการหรือแสดงอาการน้อยมากในระยะแรก จึงทาให้การแพร่
ระบาดกระจายออกไปหลายพื้นที่และมีผู้ติดเชื้อรายวันเพิ่มขึ้นเป็นจานวนมาก ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝอาระวัง
ปอองกัน แก้ไข ระงับยับย้ัง การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) อาศัยอานาจ
ตามข้อกาหนดออกตารมความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 1 ถึง 23) ประกอบมาตรา 22 มาตรา 34 มาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ.2558 และมติที่ประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดระนอง คร้ังที่ 32/2564 เม่ือวันที่ 17
พฤษภาคม 2564 จึงยกเลิกคาส่ังจังหวัดระนองที่ 929/2564 ลงววันที่ 28 เมษายน 2564 เร่ืองมาตรการ

6

ในการปอองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยกาหนดมาตรการควบคุม
ทีจ่ าเป็นตามระดับของพ้ืนที่สถานการณ์ ในส่วนที่เกีย่ วข้องกบั โรงเรียนดังนี้

โรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกประเภท ให้สามารถใช้อาคารหรือสถานที่เพื่อการจัดการเรียน
การสอน การสอบ การฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจานวนมากได้ โดยพิจารณา
ตามความจาเปน็ และดาเนนิ การตามมาตรการปอองกันโรคที่ทางราชการกาหนด

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ซึ่งเป็นหน่วยงานทางการศึกษาที่มีบทบาทหน้าที่
เป็นตัวประสานการเชื่อมต่อระหว่างหน่วยงานต้นสังกัด คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กบั สถานศกึ ษา ที่จัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน ซึ่งมีเขตพื้นที่บริการทั้งสิ้น 5 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมือง
ระนอง อาเภอกระบรุ ี อาเภอกะเปอร์ อาเภอละอนุ่ และอาเภอสุขสาราญ มีสถานศึกษาในสังกัดท้ังสิ้น 78 โรง
1 สาขา จึงได้จัดทา “คู่มือแผนเผชิญเหตุและการเฝอาระวังติดตาม แนวทางการปฏิบัติ เพื่อรับมือกับการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ระลอกใหม่ ในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง” เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการปอองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID – 19) ที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง ให้ปลอดภัย ไม่เสี่ยง
และสามารถดาเนินชีวติ อย่างปกติสขุ ตามแนวชีวติ วิถีใหม่ (New Normal)

7

บทที่ 2
แผนเผชิญเหตุรองรบั สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคไวรัสโคโรนำ 2019

(COVID – 19)

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในประเทศไทยมีแนวโน้ม
ทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง จึงได้กาหนดให้มีแผน
เผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในสถานศึกษา
เพื่อเป็นการเตรยี มการและเตรียมพร้อมรบั สถานการณท์ ี่อาจเกิดขึ้น เพือ่ เปน็ แนวปฏิบัติตามมาตรการปอองกัน
การแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) อย่างเคร่งครดั

แนวปฏิบตั ิแผนเผชิญเหตรุ องรับสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19)
ในสำนกั งำนเขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำ และสถำนศึกษำในสงั กัด

แนวปฏิบตั ิแผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
ในสถานศกึ ษามีดงั นี้

1. กำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19)
จำกต่ำงประเทศ

- หากมีครูต่างประเทศ ต้องรับการกักกันในสถานที่ที่รัฐจัดให้ (State quarantine) เป็นเวลา
14 วัน

- มีนักเรียนนักศึกษาต่างประเทศหรือต่างด้าวที่พักอาศัยอยู่ในประเทศไทย ให้จัดการเรียน
การสอนตามปกติ สาหรบั นกั เรียนนักศึกษาที่ไม่ได้พกั อาศัยอยู่ในประเทศไทย เมื่อเข้าประเทศไทย ต้องรับการ
กกั กนั ในสถานที่ทีร่ ฐั จัดให้เป็นเวลา 14 วัน

8

2. กำรปอ้ งกนั กำรแพรร่ ะบำดของโรคไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19) ภำยในประเทศ
- มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค

ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
- พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค

ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
- เปิดศูนย์รับฟจงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
- จัดทาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
- จดั ทาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ ชุดโปรแกรม และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจร
- จัดทาแนวทางการบริหารจัดการสาหรับโรงเรียนเพื่อปอองกันและควบคุมการแพร่ระบาด

ของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
- แผนการเตรียมการรองรับนักเรียนจากต่างประเทศที่กลับเข้ามาเรียนในประเทศไทย

ของสถานศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
- แนวทางรับมือตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรณีการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019

(COVID – 19) ในสถานศกึ ษา

9

3. กำรเฝ้ำระวังและกำรสอบสวนโรค
- คัดกรองนกั เรียน ผบู้ ริหาร ครู บคุ ลากร

และผเู้ กี่ยวข้อง มีการสวมหนา้ กาก ล้างมอื เว้นระยะหา่ ง
การทาความสะอาด (หอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัติการ โรงฝกึ งาน
อาคารเรยี น โรงอาหาร โรงงาน พืน้ ที่ส่วนกลาง) และลดความแออัด

- มีแนวปฏิบัติสาหรบั ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรใน
สถานศกึ ษาในการดาเนินการเกีย่ วกบั โรคไวรัสโคโรนา
2019 (COVID – 19) เช่น จัดทาแนวทางการบริหารจัดการ
สาหรับโรงเรยี น เพือ่ ปอองกันและควบคมุ การแพร่ระบาด
ของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) มาตรการคัดกรองสุขภาพด้านสาธารณสุข การดาเนินการ
เมือ่ มีกลุ่มเสีย่ งหรือผู้ป่วยยืนยันในสถานศกึ ษา
- การปิดสถานศกึ ษาทีเ่ กิดการระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศกึ ษา
- รายงานการประเมินสถานการณ์ผลการดาเนินงานปจญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
แก่หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และคณะกรรมการโรคติดต่อระดบั จังหวัดเพื่อการตัดสินใจ
4. กำรสร้ำงควำมรว่ มมือจำกทกุ ภำคสว่ น
- มีศูนย์ประสานงานและติดตามข้อมูลระหว่างสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานต่าง ๆ
- สถานศึกษาจับคู่โรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลในความร่วมมือ
ปอองกันการแพรร่ ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
- สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการปอองกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฝ่ายปกครอง
คณะกรรมการสถานศกึ ษา

*******************************

10

บทที่ 3
แนวปฏบิ ตั ิสำหรับสถำนศึกษำ
ในสังกัดสำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำระนอง

กรณสี งสัยวำ่ นักเรยี นหรอื บคุ ลำกรมีภำวะเสีย่ งต่อกำรติดเชือ้ ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID – 19)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง แจ้งแนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษา กรณีสงสัยว่า
นักเรียนหรือบุคลากรในสถานศึกษามีวาระเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ที่สานักงาน
เทคโนลีเพื่อการเรียนการสอนกาหนด ดงั น้ี

1. กรณีพบนักเรียนหรือบุคลากรในสถานศึกษา มีอาการมีไข้อุณหภูมิร่างกายต้ังแต่ 37.5 องศา
เซลเซียสขึน้ ไป รว่ มกบั อาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึง่

- กรณีของครู/บคุ ลากรในสถานศกึ ษาให้จัดอยู่ในพืน้ ทีแ่ ยกส่วน และรีบพาไปพบแพทย์
- กรณีของนักเรียนใหแ้ จ้งผปู้ กครองมารับและหยุดพกั ทีบ่ ้านจนกว่าจะหายเปน็ ปกติ
2. แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประเมินสถานการณ์บริเวณอาคารเรียน และดาเนินการสอบสวนโรค
เพือ่ ประกอบความเหน็
3. ในการดาเนินการปิดสถานศึกษา หากพบว่ามีนักเรียนติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
จรงิ ให้รบี รายงานต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองต้นสังกัดโดยด่วน เพื่อนาเสนอต่อศูนย์
บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ระดับจังหวัด พิจารณา
อนญุ าตใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ การปิดเรียนในระดบั หอ้ งเรียน ระดับชั้น หรอื ปิดสถานศกึ ษา
นอกจากนี้ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2563, น.35 – 36) ได้แจ้งแนวทำงปฏิบัติเมื่อพบ
ผปู้ ว่ ยยืนยันโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID – 19) ในสถำนศึกษำ ดังน้ี
ให้ปิดห้องเรียน/ชั้นเรียน/สถานศึกษา กรณีพบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19)
1. เมือ่ ผู้ป่วยยืนยันโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) จานวน 1 รายขึ้นไป ให้ปิดห้องเรียน
เปน็ เวลา 3 วัน เพื่อทาความสะอาด
2. เมื่อผู้ป่วยยืนยันโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) มากกว่า 1 ห้องเรียน ให้ปิดชั้นเรียน
เป็นเวลา 3 วนั เพื่อทาความสะอาด
3. หากมีหลักฐานและความจาเป็นต้องปิดสถำนศึกษำ ให้ขอควำมเห็นชอบจากคณะกรรมการ
โรคติดตอ่ จังหวดั

11

ไม่ต้องปิดห้องเรียน/ช้ันเรียน/สถานศึกษา กรณีไม่พบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) ในสถานศกึ ษา โดยมีแนวทางการดาเนินการดงั นี้

1. ผสู้ ัมผัสทีม่ คี วามเสี่ยงตอ่ การตดิ เช้ือสงู ในสถานศกึ ษา ดังน้ี
- ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูงให้สังเกตอาการที่บ้านเป็นเวลาอย่างน้อย 14 วัน

หากพบอาการผิดปกติใหไ้ ปพบแพทย์ เพื่อตรวจวินิจฉยั ระหว่างรอผลใหก้ ักตวั ทีบ่ ้าน
- สถานศึกษาดาเนินกิจกรรมได้ตามปกติและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจความเสี่ยง

และแนวทางดาเนินการในระยะตอ่ ไป
2. ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่า ให้สังเกตอาการเป็นเวลา 14 วัน ไม่จาเป็นต้องหยุดเรียน

และไม่จาเปน็ ต้องปิดสถานศกึ ษา (รกั ษาตามอาการหายป่วยแล้วเรียนตอ่ ได้)
3. ผู้ใกล้ชิด
- ผู้ใกล้ชิดสัมผัสเสี่ยงสูง จัดว่ามีความเสี่ยงต่าไม่จาเป็นต้องหยุดเรียนแต่ให้สังเกตอาการ

เป็นเวลา 14 วัน
- ผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเสี่ยงต่า จัดว่าไม่มีความเสี่ยงไม่จาเป็นต้องหยุดเรียนแต่ให้สังเกต

อาการเปน็ เวลา 4 วัน

หมำยเหตุ : ทั้งนี้ในทุกกรณีขอให้ดาเนินการบนพื้นฐานของข้อมูลการสอบสวนทางระบาดวิทยา
และสถานการณโ์ รคในพนื้ ที่

มำตรกำรหลักในกำรปอ้ งกันกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID – 19)
ในสถำนศึกษำประกอบด้วย

1. มีมาตรการคดั กรองวดั ไข้และอาการเสี่ยง
ก่อนเข้าสถานศกึ ษา (อุณภมู ไิ ม่เกิน 37.5 c)

- กรณีปกติให้ตดิ สญั ลกั ษณ์ผ่าน
- กรณีมีไข้สูงกว่าปกติ ให้นง่ั พกั 5 – 10 นาที
และวัดซ้า
- กรณีมีไข้สูงกว่า ปกติ หรอื มีอาการของระบบ
ทางเดินหายใจ ให้กนั แยกไว้ตา่ งหากและบันทึกข้อมลู
และแจ้งเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุขในพนื้ ที่เพือ่ รับตรวจสอบ
ตามมาตรการของสาธารณสุขต่อไป
2. สวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา
3. จัดจดุ ลา้ งมอื หรอื เจลแอลกอฮอล์อย่างเพียงพอ

12

4. จัดระยะหา่ งระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร
5. ทาความสะอาดห้องเรียน/พืน้ ผิวสัมผสั ร่วม เปิดหนา้ ต่างประตู ระบายอากาศ
6. ไม่จดั กิจกรรมรวมกลุ่มคนจานวนมาก เหลื่อมเวลา ลดเวลาทากิจกรรม

*******************************

13

บทที่ 4
กำรปฐมพยำบำลทำงด้ำนจิตใจในชว่ งทมี่ กี ำรระบำด

ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID – 19)

ปจจจุบันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ได้สร้างความกังวลและหวาดกลัวให้กับ
ประชาชนจานวนมาก ซึ่งเป็นความกังวลและหวาดกลัวเกี่ยวกับการได้รับเชื้อไวรัสจากทางใดทางหนึ่ง แสดง
ให้เห็นผ่านพฤติกรรมและอาการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการกักตุนสินค้า การสูญเสียความสามารถในการดาเนิน
ชีวติ ได้ตามปกติ บางคนโกรธ หงดุ หงิด หรอื มีปญจ หาการนอน ดังน้ันการช่วยบรรเทาความกังวล ความทุกข์ใจ
ผ่อนคลายอารมณ์แล ะเพิ่มความสามารถ ในการรับมือกับสถ านการณ์การ แพร่ระบาดให้กับประชาชน
จงึ มคี วามจาเป็นเร่งด่วน

กำรปฐมพยำบำลทำงใจในสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนำ 2019

(COVID – 19)
การปฐมพยาบาลทางใจ เป็นการดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีความทุกข์และแสดงออกด้วยความเห็นอกเห็นใจ

ให้ความสนใจกับท่าทางทีแ่ สดงออก การฟจงด้วยความตงั้ ใจ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือตามที่จาเป็น เพื่อให้
ประชาชนรสู้ ึกปลอดภยั ผ่อนคลายและมีความหวังต่อไปจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID – 19)

ท้ังนี้ในสถานการณ์การแพร่ระบาด กระทบกับการมีปฏิสัมพันธ์ทางสัมคมอย่างมาก บางคน
ต้องแยกตัวหรือกักตัวเอง การเว้นระยะห่างที่เหมาะสมจึงมีความสาคัญอย่างมาก เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่
ระบาดของไวรัส ดังน้ัน การปฐมพยาบาลทางใจจึงเป็นการพูดคุยระหว่างผู้ให้ความช่วยเหลือกับผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบผ่านโทรศัพท์ วิโอคอล หรือทาง Social media ต่าง ๆ ยกเว้นผู้ช่วยเหลือด้านหน้าที่จาเป็นต้องเจอ
กบั ประชาชนโดยตรง

ผทู้ ่ตี อ้ งไดร้ บั กำรช่วยเหลือ

 บคุ คลที่กักตัวอยู่ในบ้าน หรอื ในทีพ่ ักอาศัย
 ประชาชนทัว่ ไปทีอ่ าจโทรเข้ามาของขอ้ มลู และขอความช่วยเหลือ
 บุคลากรสาธารณสุขและเจา้ หนา้ ทีท่ ีด่ แู ลผู้ป่วย
 ผทู้ ีห่ ายป่วยจากโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
 ครอบครัวหรอื เพื่อนของผู้เสียชวี ิต
 ผทู้ ีต่ อ้ งดูแลเด็กที่อยู่กบั บ้านช่วงโรงเรยี นปิด

14

 ผสู้ งู อายุ
 ผทู้ ี่มปี จญหาสุขภาพจิตหรอื ติดสารเสพติด

หลกั กำรช่วยเหลือดว้ ย 3L (3ล)

1. Look : สอดส่อง มองหำ หมายถึงการประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยงรวมถึงความจาเป็น
ในการช่วยเหลือ โดยพิจารณาจาก 1) สภาวะอารมณ์และความกังวลที่จาเป็นต้องช่วยเหลือในขณะนั้น เช่น
กาลังกังวลอย่างรุนแรง หรือกลัวในการสูญเสียชีวิต เป็นต้น 2) สถานการณ์ของผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ
เช่น เป็นคนที่กาลังกักตัว หรือเป็นญาติหรือครอบครัวของผู้ป่วย เป็นประชาชนทั่วไป หรือผู้ป่วยที่รักษา
หายแล้ว 3) ประเมินความเสี่ยงของผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ เช่น อาจอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือติดเชื้อไวรัส
แบบไม่คาดคิด

2. Listen : ใส่ใจรับฟัง หมายถึง การพูดคุย รับฟจงเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม
โดยมีหลักการดังนี้ 1) เริ่มต้นพูดคุยด้วยการแนะนาตนเอง 2) ให้ความสนใจและรับฟจงด้วยความต้ังใจ
3) ยอมรับในความรู้สึกของผู้พูด 4) ช่วยบรรเทาความทุกข์ใจ 5) ถามเกี่ยวกับความต้องการและความกังวล
6) ช่วยหาวิธีแก้ปญจ หา

โดยเทคนิคสาคญั ของการใส่ใจรบั ฟจง ได้แก่
- พดู ชา้ ๆ ชัด ๆ ด้วยน้าเสียงทีส่ งบและอบอุ่น
- แสดงออกถึงความเห็นอกเห็นใจ เช่น “ฉันเข้าใจความกังวลของคุณในตอนนี้” หรือ “ฉันรับรู้
ในความกังวลของคุณ ยินดีที่จะช่วยเหลือคุณ” เปน็ ต้น
- ถามถึงความกงั วลและความตอ้ งการการช่วยเหลือจากผู้ทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือ
- ลดความกังวลด้วย เทคนิคการฝึกหายใจหรือผ่อนคลาย หรือแนะนาวิธีผ่อนคลายความเครียด
อื่น ๆ
3. Link : ส่งต่อเชื่อมโยง หมายถึง การช่วยให้ผุ้ที่ต้องการความช่วยเหลือ ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
สามารถติดต่อคนที่รักหรอื การสนับสนุนทางสงั คม และเข้าถึงบริการอน่ื ๆ ที่จาเปน็ ได้
ทั้งนี้ อาการทีค่ วรส่งตอ่ เพือ่ ให้ได้รับการดแู ลทางจิตใจ ได้แก่
- นอนไม่หลบั ในสปั ดาห์ที่ผ่านมาและมีอาการสับสน งุนงง
- รู้สกึ ทกุ ข์ใจอย่างมาก จนไม่สามารถทางานได้ตามปกติ หรอื ไม่สามารถดูแลตวั เองได้
- สญู เสียการควบคุมตัวเอง
- มีแนวโน้มจะทาร้ายตัวเองหรอื ผอู้ ื่น
- เริม่ ใชย้ าเสพติดหรอื ดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
- มีความผิดปกติทางจติ หรอื เคยรบั ประทานยารกั ษาอาการทางจติ มาก่อน
- ผทู้ ี่มปี จญหาเจบ็ ป่วยเรือ้ รงั และตอ้ งการความช่วยเหลือ

15

- แสดงอาการทางจิตที่รนุ แรง
- กาลังประสบกับการใชค้ วามรุนแรงหรอื ถูกล่วงละเมิดทางเพศ

สิง่ ทีค่ วรทำ/ไมค่ วรทำ ขณะใหก้ ำรปฐมพยำบำลทำงใจ

สิ่งทีค่ วรทำ
1. ฟงจ ให้มากกว่าพูด เพือ่ ให้เข้าใจความกังวลของผู้ทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือ
2. ถามด้วยความสภุ าพ
3. ใชค้ าถามปลายเปิด ได้แก่ เมอ่ื ไหร่ ที่ไหน อะไร อย่างไร
4. รับรู้ความรสู้ ึกและความเข้าใจต่อสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
5. ตอบสนองด้วยอารมณ์ปกติ
6. สร้างความเชอ่ื ม่นั ให้เชือ่ ในความสามารถของตวั เอง
7. ใหข้ ้อมูลทีถ่ กู ต้อง หาข้อมูลเพิ่มเตมิ ได้จากกรมควบคุมโรค
8. อดทนและแสดงออกด้วยความสงบ
9. เปิดโอกาสใหผ้ ทู้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือได้ระบายความรู้สกึ
10. รับฟจงทางเลือก และช่วยใหส้ ามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
11. ต้องมน่ั ใจว่าคานาเป็นวิธีทีม่ ีความปลอดภัย ไม่อันตราย
สิ่งที่ไม่ควรทำ
1. กดดนั ให้พดู ท้ัง ๆ ที่ไม่ได้อยากพูด
2. ถามว่าทาไมถึงเป็นแบบนี้
3. ตัดสนิ คนอื่น
4. ใชศ้ พั ท์เทคนิคที่เข้าใจยาก
5. พดู คยุ เกีย่ วกับตวั เองหรอื ปญจ หาของตวั เอง
6. ให้คาสัญญาหรอื รบั รองแก่ผู้ที่ตอ้ งการความช่วยเหลือ
7. นาเร่อื งที่คยุ ไปบอกผู้อ่นื
8. ใชป้ ระโยชน์จากความลบั หรอื เรือ่ งราวทีไ่ ด้ฟจงจากผู้ที่ตอ้ งการความช่วยเหลอื

กำรดแู ลใจเจำ้ ตัวเลก็ ในสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19)

ในช่วยการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) หัวอกของคนเป็นพ่อแม่
คงหนีไม่พ้นจากความห่วงกังวล ไม่อยากให้ลูกต้องเจ็บป่วยด้วยโรคนี้ อยากดูแลเจ้าตัวน้อยที่เป็นเสมือน
แก้วตาดวงใจให้มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัย ซึ่งการดูแลสุขภาพของลูก นอกจากการดูแลสุขภาพกายแล้ว

16

สุขภาพใจก็มีความสาคัญไม่แพ้กัน เราสามารถช่วยให้ลูกมีสุขภาพจิตดี รู้สึกมั่นคงปลอดภัยด้วย 4 เทคนิค
ดังน้ี

1. สังเกตและรับฟังเด็ก พ่อแม่ควรสังเกตและเปิดโอกาสให้เด็กได้ระบายความรู้สึก เช่น หงุดหงิด
งอแง กลัว เศร้า ผ่านกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เช่น การเล่น การวาดภาพในบรรยากาศที่ปลอดภัย ให้เด็กรู้สึก
ผอ่ นคลาย

2. ติดตำมดแู ลอย่ำงใกล้ชิด ถ้าเด็กต้องถูกแยกจากพ่อแม่หรือผู้ดูแล เพราะพ่อแม่ ผู้ดูแลถูกกักตัว
หรือเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพ่อแม่หรือผู้ดูแลต้องมั่นใจว่ามีการดูแลติดตามเด็ก ติดต่อเด็ก
อย่างสม่าเสมอ เช่น โทรศัพท์ หรือวิโอคอล 2 คร้ังต่อวัน หรือใช้รูปแบบอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับอายุเด็ก เพื่อให้
เด็กไม่รู้สกึ ว่าถกู ทอดทิง้

3. ทำกิจกรรมร่วมกันอย่ำงเหมำะสม พ่อแม่หรือผู้ดูแลควรหากิจกรรมที่เหมาะสม โดยเด็ก
ยังได้เล่นและพูดคยุ ติดต่อกับคนอื่น ๆ และมีสว่ นร่วมกับคนในครอบครวั เชน่ ช่วยทางานบ้าน เปน็ ต้น

4. สังเกตอำรมณ์ตนเองและจัดกำร ในสถานการณ์วิกฤติ เป็นเร่ืองปกติที่จะรู้สึกเครียดได้ พ่อแม่
หรอื ผดู้ ูแลต้องมีวิธีการจัดการกับอารมณ์ของตนเองที่เหมาะสม เช่น เม่ือรู้สึกหงุดหงิดหรือโกรธ ควรสงบสติ
อารมณ์ก่อนที่จะพูดคุยกับลูก ระมัดระวังในการใช้คาพูดโดยใช้อารมณ์ พ่อแม่สามารถพูดคุยเกี่ยวกับ
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) กบั ลูกได้โดยอธิบายใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายเหมาะสมกับอายเุ ด็ก

ถ้าพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู สามารถปฏิบัติตามเทคนิค 4 วิธีนี้ และหม่ันทาทุกวัน เชื่อว่าลูกที่รัก
จะต้องสามารถปรับตัวและเผชิญและผ่านพ้นกบั ภาวะวกิ ฤติน้ไี ปได้อย่างมสี ุขภาพจิตดอี ย่างแน่นอน

3 กิจกรรมแนะนำสำหรับเดก็

ในช่วงที่ทุกคนอยู่บ้าน จะจัดการระเบียบชีวิตอย่างไรดี จะทาอย่างไรให้ทุกคนลดเครียด
เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกาย ถ้าในบ้านท่านมีเด็ก ๆ อยู่ มีหลักคิดสาคัญคือ ไม่ว่าจะจัดกิจกรรมใดให้เด็ก
ต้องสร้างความเพลิดเพลิน สนุกสนานแทรกอยู่ด้วยเสมอ

ซึ่งกิจกรรม 3 เสริม สาหรบั เด็ก ๆ มีดังนี้
1. เสริมควำมรู้ ให้เด็กรู้วา่ จะปอองกนั โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) อย่างไรด้วยนิทาน
หรือเป็นคลิปให้เด็กดู ซึ่งมีหลายคลิปที่เป็นความรู้ง่าย ๆ สาหรับเด็ก อาจวาดเป็นภาพการ์ตูน ให้เราสนุก
กับการทดลองง่าย ๆ เช่น ลา้ งมอื อย่างไรให้สะอาดหมดจดโดยใส่ถุงมือ เอาสีมาทาให้ท่ัวทั้งฝ่ามือและหลังมือ
แล้วสาธิตใหเ้ ดก็ เห็นว่าจะต้องล้างมอื อย่างไร ให้เดก็ ได้ลองทาด้วย เขาจะสนุกกบั การทดลอง
2. เสริมงำนบ้ำน แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบงานบ้านให้กับเด็กตามความเหมาะสมกับอายุของเขา
ต้ังรางวัลหรือให้ดาวสาหรับงานบ้านที่ทาได้สม่าเสมอตลอดสัปดาห์ สาหรับงานบ้านที่ทาได้เรียบร้อย
การทางานบ้านจะช่วยใหเ้ ดก็ ได้พัฒนากล้ามเนือ้ มัดเลก็ เช่น นิ้วมือ เรียนรู้การรู้จักรับผิดชอบ ซึ่งมีผลโดยตรง
ต่อการพฒั นาความฉลาดทางอารมณ์

17
3. เสริมกำรเลน่ การเล่นคอื การเรียนรขู้ องเด็ก มี 2 แบบ คอื

 ทาเล่น ๆ เปน็ ประโยชน์ ให้เดก็ สนกุ กับการทากิจวตั รประจาวัน ยกตัวอย่าง แขง่ กนั ว่าใคร
จะเก็บเตียง พับผ้าได้เรียบร้อยกว่ากัน ใครจะแปรงฟจนได้สะอาดกว่ากัน เวลาเก็บจาน จานใหญ่อยู่ล่าง
จานเลก็ อยู่บน กส็ อนให้เด็กเรียนรู้เร่อื งขนาด การนับเลข เปน็ ต้น

 เล่นสนกุ ๆ ใหเ้ ด็กแตง่ มุมการเล่นของเขาเอง สร้างสรรค์ของเล่นจากวสั ดุรอบตัวหรอื คิด
การเล่นแปลก ๆ ใหม่ ๆ ขึน้ มา

แค่ 3 เสริมสาหรบั เด็ก รบั รองว่าเดก็ ๆ จะอยู่บ้านอย่างมคี วามสขุ และไม่เบือ่ หนา่ ยแน่นอน

*******************************

18

บรรณานกุ รม

19

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2564). การเล่ือนเวลาเปดิ ภาคเรยี นที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2564
ของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการเฝา้ ระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาด
ของโรคโควดิ – 19 ในสถานศึกษา. (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ : สานกั งานกิจการโรงพิมพ์
องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์

ศูนยก์ ารแพทยก์ าญจนภิเษก. (2563). ความรู้ COVID – 19. Retrieved 6/01/2564
https://www.gj.mahidol.ac.th/main/covid19/covid19is/

คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั ระนอง. (2564). มาตรการในการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID – 19)).
ระนอง : จงั หวดั ระนอง

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). คู่มอื ปฏบิ ัติสาหรบั สถานศึกษาในการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาด
ของโรคโควิด 19. (พิมพ์คร้ังท่ี 1). กรงุ เทพฯ : บริษัท ควิ แอดเวอร์ไทซ่ิง จากัด

20

ภาคผนวก

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

คณะผจู้ ดั ทำ

ท่ปี รึกษำ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
นางสาวพนอ ทิพย์พิมลรตั น์ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
นางสุทธิรา หงส์เจรญิ รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
นายภพเดชา บุญศรี รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
นางวนั ดี ละศรจี นั ทร์

ฝ่ำยรวบรวมขอ้ มลู

นางนวลจริ า ธรรมสิริพร ผอู้ านวยการกลุ่มส่งเสริมการจดั การศกึ ษา

นายษณกร เสนาะเสียง ศกึ ษานิเทศก์ ปฏิบตั ิหน้าทีผ่ ู้อานวยการกลุ่มส่งเสริม

การจดั การศกึ ษาทางไกล

นางสาวนงลกั ษณ์ ทองบางหรง นักวิชาการศกึ ษา

นายวัลลภ บัวเกตุ เจ้าหนา้ ที่ ICT

ผู้เรยี บเรยี ง/จัดพิมพ์
นางสาวนงลักษณ์ ทองบางหรง นักวิชาการศกึ ษา

ฝ่ำยออกแบบปก/รูปเล่ม ศกึ ษานิเทศก์ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริม
นายษณกร เสนาะเสียง การจัดการศกึ ษาทางไกล
เจ้าพนักงานธุรการ
นางสาวถลชั นันน์ อนิ รสิ พงษ์


Click to View FlipBook Version