The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

02.ตัวชี้วัด วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nawach pansuwan, 2020-02-04 09:04:59

02.ตัวชี้วัด วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย

02.ตัวชี้วัด วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย

หลักสูตรปรับปรงุ ๒๕๖๐
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ (ม.๔)
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ ไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวติ และความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งสิ่งมีชวี ติ กบั ส่ิงมชี วี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีในระบบนเิ วศ ความหมาย
ของประชากร ปัญหาและผลกระทบทม่ี ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
และการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดลอ้ มรวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด

๑. สบื ค้นขอ้ มลู และอธบิ ายความสมั พันธ์ ของสภาพทางภูมศิ าสตร์บนโลกกบั ความหลากหลายของไบโอมและ
ยกตัวอยา่ งไบโอมชนดิ ต่างๆ

๒. สืบคน้ ขอ้ มูล อภิปรายสาเหตุ และยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ
๓. สบื ค้นขอ้ มูลอธิบาย และยกตัวอย่างเกยี่ วกับการเปลี่ยนแปลงขององคป์ ระกอบทางกายภาพและทางชวี ภาพท่ีมผี ล
ต่อการเปลย่ี นแปลงขนาดของประชากรสิง่ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ
๔. สบื คน้ ขอ้ มลู และอภปิ รายเกีย่ วกับปัญหาและผลกระทบท่ีมีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม พร้อมท้ัง
นาเสนอแนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดล้อม

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบตั ขิ องส่ิงมีชวี ติ หน่วยพนื้ ฐานของส่ิงมีชวี ติ การลาเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสัมพนั ธข์ อง
โครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสตั วแ์ ละมนุษยท์ ่ีทางานสัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าที่ของ
อวัยวะต่างๆ ของพชื ที่ทางานสัมพันธ์กนั รวมทั้งนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ตวั ชี้วดั

๑. อธิบายโครงสร้างและสมบตั ิของเยอ่ื หุ้มเซลล์ทีส่ ัมพันธ์กบั การลาเลยี งสารและเปรียบเทยี บการลาเลียงสารผา่ นเยอ่ื
หุ้มเซลลแ์ บบต่างๆ

๒. อธบิ ายการควบคุมดลุ ยภาพของน้าและสารในเลือดโดยการทางานของไต
๓. อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทางานของไตและปอด
๔. อธิบายการควบคมุ ดลุ ยภาพของอุณหภมู ภิ ายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผวิ หนงั และกลา้ มเนือ้ โครงรา่ ง
๕. อธบิ ายและเขยี นแผนผงั เกีย่ วกบั การตอบสนองของร่างกายแบบไม่จาเพาะและแบบจาเพาะต่อสิง่ แปลกปลอมของ
ร่างกาย
๖. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และยกตวั อยา่ งโรคหรอื อาการท่ีเกดิ จากความผิดปกตขิ องระบบภมู ิค้มุ กัน
๗. อธบิ ายภาวะภูมคิ มุ้ กันบกพร่องที่มีสาเหตุมาจากการติดเช้ือ HIV

๘. ทดสอบและบอกชนดิ ของสารอาหารที่พชื สังเคราะหไ์ ด้
๙. สบื คน้ ข้อมลู อภปิ ราย และยกตวั อยา่ งเกี่ยวกบั การใชป้ ระโยชน์จากสารต่างๆ ท่ีพืชบางชนดิ สร้างขึน้
๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ ายเกย่ี วกับปัจจัยภายนอกท่มี ีผลต่อการเจริญเติบโตของพชื
๑๑. สบื ค้นข้อมลู เก่ียวกับสารควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของพชื ทมี่ นุษย์สังเคราะหข์ ้นึ และยกตวั อย่างการนามาประยกุ ตใ์ ช้
ทางดา้ นการเกษตรของพชื
๑๒. สงั เกตและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อสิง่ เรา้ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ท่ีมผี ลต่อการดารงชีวิต

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การ
เปลยี่ นแปลงทางพนั ธุกรรมท่ีมผี ลตอ่ สิง่ มชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของส่งิ มชี วี ิต รวมทงั้ นาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ตวั ชว้ี ดั

๑. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งยีน การสงั เคราะหโ์ ปรตนี และลกั ษณะทางพนั ธุกรรม
๒. อธิบายหลักการถ่ายทอดลกั ษณะท่ีถูกควบคุมดว้ ยยนี ท่ีอยู่บนโครโมโซมเพศและมัลตเิ ปิลแอลลีล
๓. อธิบายผลที่เกดิ จากการเปล่ียนแปลงลาดับนวิ คลโี อไทดใ์ นดเี อ็นเอตอ่ การแสดงลักษณะของสง่ิ มีชีวิต
๔. สืบค้นขอ้ มูลและยกตัวอย่างการนามิวเทชนั ไปใช้ประโยชน์
๕. สืบค้นข้อมูลและอภปิ รายผลของเทคโนโลยีทางดเี อ็นเอที่มตี ่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
๖. สบื ค้นข้อมลู อธิบาย และยกตัวอยา่ งความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ ซงึ่ เป็นผลมาจากววิ ฒั นาการ

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพอ่ื การดารงชีวิตในสงั คมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้
และทกั ษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่อื แกป้ ัญหาหรือพฒั นางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ดว้ ย
กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม
ตัวช้ีวัด

๑. วเิ คราะหแ์ นวคิดหลกั ของเทคโนโลยี ความสมั พนั ธ์กบั ศาสตร์อืน่ โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมท้งั
ประเมนิ ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนตอ่ มนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพ่ือเปน็ แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี

๒. ระบปุ ญั หาหรือความต้องการท่มี ผี ลกระทบต่อสงั คม รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู และแนวคดิ ที่ เกี่ยวข้องกบั ปญั หาทมี่ ี
ความซบั ซ้อนเพ่ือสงั เคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแกป้ ัญหา โดยคานึงถึงความถกู ต้องด้านทรพั ย์สินทางปัญญา

๓. ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมูลท่ีจาเป็นภายใตเ้ ง่อื นไขและทรัพยากร
ทมี่ อี ยู่ นาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจด้วยเทคนิค หรือวธิ กี ารท่หี ลากหลายโดยใช้ซอฟตแ์ วร์ชว่ ยในการ
ออกแบบ วางแผนข้ันตอนการทางาน และดาเนนิ การแก้ปัญหา

๔. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์และใหเ้ หตผุ ลของปญั หาหรอื ข้อบกพร่องที่เกิดขน้ึ ภายใต้กรอบเงือ่ นไข หาแนวทาง
การปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปญั หา พร้อมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด

๕. ใช้ความร้แู ละทกั ษะเกี่ยวกับวสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไกไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยที ซ่ี บั ซ้อนในการ
แก้ปญั หาหรือพัฒนางานได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ติ จริงอยา่ งเป็นข้นั ตอนและเปน็ ระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทางานและการแก้ปญั หาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และ
มจี รยิ ธรรม
ตวั ชีว้ ดั

๑. ประยุกตใ์ ช้แนวคดิ เชิงคานวณในการพฒั นาโครงงานท่มี ีการบูรณาการกับวิชาอนื่ อย่างสรา้ งสรรค์และเช่ือมโยงกับ
ชวี ติ จริง

หลักสูตรปรบั ปรุง ๒๕๖๐
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ (เคม)ี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ (ม.๕)
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบัตขิ องสสารกบั โครงสร้างและ
แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ
เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
ตวั ชว้ี ดั

๑. ระบุว่าสารเปน็ ธาตุหรือสารประกอบและอยู่ในรปู อะตอม โมเลกลุ หรือไอออน จากสตู รเคมี
๒. เปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกตา่ งของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก
๓. ระบจุ านวนโปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอนของอะตอมและไอออนทเ่ี กิดจากอะตอมเดียว
๔. เขียนสญั ลกั ษณ์นวิ เคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป
๕. ระบุหม่แู ละคาบของธาตุ และระบวุ ่าธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ กลุ่มธาตุเรพรเี ซนเททีฟ หรอื กลุม่ ธาตุ
แทรนซิชนั จากตารางธาตุ
๖. เปรยี บเทียบสมบัติการนาไฟฟา้ การให้และรับอิเล็กตรอนระหวา่ งธาตุในกลุม่ โลหะกับอโลหะ
๗. สบื ค้นขอ้ มูลและนาเสนอตัวอยา่ ง ประโยชน์และอันตรายทเ่ี กดิ จากธาตุเรพรเี ซนเททฟี และธาตแุ ทรนซชิ ัน
๘. ระบุว่าพนั ธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดย่ี ว พนั ธะคู่ หรือพนั ธะสาม และระบุจานวนคู่อเิ ล็กตรอนระหวา่ งอะตอมคู่ร่วม
พนั ธะจากสูตรโครงสร้าง
๙. ระบสุ ภาพขัว้ ของสารท่โี มเลกลุ ประกอบดว้ ย ๒ อะตอม
๑๐. ระบุสารทีเ่ กิดพนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสตู รโครงสรา้ ง
๑๑. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างจดุ เดือดของสารโคเวเลนตก์ บั แรงดึงดูดระหวา่ งโมเลกุลตามสภาพขั้วหรือการเกิดพันธะ
ไฮโดรเจน
๑๒. เขยี นสตู รเคมขี องไอออนและสารประกอบไอออนิก
๑๓. ระบุวา่ สารเกดิ การละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตัว พรอ้ มให้เหตผุ ลและระบวุ ่าสารละลายทีไ่ ดเ้ ป็นสารละลาย
อเิ ล็กโทรไลต์ หรือนอนอิเล็กโทรไลต์
๑๔. ระบสุ ารประกอบอนิ ทรียป์ ระเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอ่มิ ตัวหรอื ไม่อมิ่ ตัวจากสตู รโครงสร้าง
๑๕. สบื ค้นขอ้ มูลและเปรยี บเทียบสมบตั ิทางกายภาพระหวา่ งพอลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอร์ของพอลเิ มอร์ชนิดนนั้
๑๖. ระบสุ มบตั คิ วามเป็นกรด-เบส จากโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรีย์
๑๗. อธบิ ายสมบตั กิ ารละลายในตัวทาละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร

๑๘. วเิ คราะห์และอธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งโครงสรา้ งกบั สมบตั ิเทอรม์ อพลาสติกและเทอรม์ อเซตของพอลิเมอร์ และ
การนาพอลิเมอรไ์ ปใช้ประโยชน์

๑๙. สบื คน้ ขอ้ มลู และนาเสนอผลกระทบของการใช้ผลติ ภัณฑ์พอลเิ มอรท์ ีม่ ตี ่อส่งิ มชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม พร้อมแนวทาง
ปอ้ งกันหรือแกไ้ ข

๒๐. ระบสุ ตู รเคมขี องสารต้ังต้น ผลติ ภัณฑ์ และแปลความหมายของสญั ลักษณ์ในสมการเคมขี องปฏกิ ิรยิ าเคมี
๒๑. ทดลองและอธิบายผลของความเข้มขน้ พนื้ ทผี่ วิ อุณหภูมิ และตวั เรง่ ปฏกิ ิริยา ทม่ี ีผลตอ่ อัตราการเกิด ปฏกิ ริ ิยาเคมี
๒๒. สบื ค้นข้อมลู และอธิบายปจั จัยทม่ี ีผลต่ออตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีที่ใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั หรอื ใน
อุตสาหกรรม
๒๓. อธิบายความหมายของปฏิกิรยิ ารดี อกซ์
๒๔. อธบิ ายสมบัตขิ องสารกัมมันตรงั สี และคานวณครึ่งชีวติ และปริมาณของสารกัมมันตรงั สี
๒๕. สบื ค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างประโยชนข์ องสารกัมมนั ตรังสีและการป้องกันอันตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรงั สี

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพอื่ การดารงชีวิตในสงั คมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้
และทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ดว้ ย
กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม
ตัวชว้ี ัด

๑. ประยกุ ต์ใช้ความร้แู ละทักษะจากศาสตรต์ ่างๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทาโครงงานเพอ่ื แกป้ ญั หาหรือพฒั นางาน

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คานวณในการแก้ปญั หาที่พบในชวี ิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขั้นตอนและเปน็ ระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปัญหาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รู้เท่าทันและ
มีจริยธรรม
ตัวชว้ี ดั

๑. รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูล และใชค้ วามรู้ด้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ส่ือดิจทิ ลั เทคโนโลยสี ารสนเทศในการแก้ปัญหา
หรอื เพิ่มมูลคา่ ให้กับบริการหรือผลติ ภัณฑ์ทีใ่ ชใ้ นชวี ิตจรงิ อย่างสร้างสรรค์

หลักสตู รปรับปรุง ๒๕๖๐
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฟสิ ิกส)์

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ม.๕)
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลอื่ นทแี่ บบตา่ ง ๆ
ของวตั ถุ รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตวั ชีว้ ัด

๑. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกบั เวลาของการเคลื่อนที่ของวตั ถุเพ่ืออธบิ ายความเรง่ ของวตั ถุ
๒. สังเกตและอธบิ ายการหาแรงลัพธ์ทเ่ี กิดจากแรงหลายแรงท่อี ยู่ในระนาบเดยี วกันที่กระทาต่อวัตถุโดยการเขยี น
แผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์
๓. สังเกต วิเคราะห์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเรง่ ของวตั ถุกบั แรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุและมวลของวัตถุ
๔. สังเกตและอธิบายแรงกริ ิยาและแรงปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งวัตถคุ ู่หนงึ่ ๆ
๕. สังเกตและอธบิ ายผลของความเร่งทีม่ ตี ่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุได้แก่ การเคลอ่ื นท่ีแนวตรง การเคล่ือนที่
แบบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนทีแ่ บบวงกลม และการเคลอ่ื นทีแ่ บบสัน่
๖. สบื คน้ ข้อมลู และอธบิ ายแรงโนม้ ถ่วงทีเ่ กีย่ วกบั การเคลอื่ นทีข่ องวตั ถตุ า่ งๆ รอบโลก
๗. สังเกตและอธบิ ายการเกิดสนามแม่เหลก็ เนื่องจากกระแสไฟฟ้า
๘. สังเกตและอธิบายแรงแม่เหลก็ ที่กระทาต่ออนภุ าคที่มปี ระจไุ ฟฟา้ ที่เคลือ่ นท่ีในสนามแม่เหลก็ และแรงแม่เหล็กที่
กระทาต่อลวดตัวนาทมี่ ีกระแสไฟฟา้ ผ่านในสนามแมเ่ หลก็ รวมท้งั อธบิ ายหลกั การทางานของมอเตอร์
๙. สงั เกตและอธบิ ายการเกดิ อเี อ็มเอฟ รวมทัง้ ยกตัวอย่างการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
๑๐. สบื คน้ ข้อมูลและอธบิ ายแรงเข้มและแรงอ่อน

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างสสารและ
พลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจาวัน ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณ์ทเี่ กยี่ วข้องกบั เสยี ง แสงและคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทั้ง
นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ตวั ชีว้ ดั

๑. สบื ค้นข้อมลู และอธิบายพลงั งานนวิ เคลียร์ฟิชชนั และฟิวชนั และความสัมพนั ธ์ระหว่างมวลกบั พลังงานทป่ี ลดปลอ่ ย
ออกมาจากฟชิ ชนั และฟวิ ชัน

๒. สืบคน้ ข้อมูลและอธิบายการเปลย่ี นพลงั งานทดแทนเปน็ พลังงานไฟฟ้ารวมทงั้ สืบค้นและอภปิ รายเกีย่ วกับเทคโนโลยี
อนื่ ๆ ที่นามาแกป้ ัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางดา้ นพลงั งาน

๓. สังเกตและอธิบายการสะทอ้ น การหกั เห การเล้ียวเบน และการรวมคล่นื

๔. สังเกต และอธิบายความถธ่ี รรมชาติการส่นั พ้องและผลท่เี กิดข้นึ จากการส่ันพ้อง
๕. สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเหการเล้ียวเบน และการรวมคลืน่ ของคล่ืนเสียง
๖. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเขม้ เสียงกบั ระดับเสียงและผลของความถีก่ ับระดบั เสียงทีม่ ีต่อ
การได้ยินเสยี ง
๗. สังเกตและอธบิ ายการเกิดเสยี งสะท้อนกลบั บตี ดอปเพลอร์ และการสน่ั พอ้ งของเสยี ง
๘. สืบค้นข้อมลู และยกตัวอย่างการนาความรู้เกยี่ วกับเสียงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
๙. สงั เกตและอธบิ ายการมองเห็นสีของวัตถุและความผิดปกติในการมองเหน็ สี
๑๐. สงั เกต และอธบิ ายการทางานของแผน่ กรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสีและการนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิต
ประจาวนั
๑๑. สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ ส่วนประกอบคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ และหลักการทางานของอปุ กรณ์
บางชนดิ ทีอ่ าศัยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้
๑๒. สืบคน้ ขอ้ มูล และอธบิ ายการสอื่ สารโดยอาศยั คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าในการสง่ ผา่ นสารสนเทศและเปรียบเทียบ
การสือ่ สารด้วยสญั ญาณแอนะลอ็ กกับสัญญาณดิจิทลั

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชวี ติ ในสงั คมท่ีมีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรู้
และทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่อื แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วย
กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม
ตวั ชวี้ ัด

๑. ประยุกต์ใช้ความรู้และทกั ษะจากศาสตรต์ า่ งๆ รวมท้ังทรัพยากร ในการทาโครงงานเพื่อแกป้ ญั หาหรือพฒั นางาน

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชวี ิตจรงิ อย่างเปน็ ขน้ั ตอนและเป็นระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปัญหาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทันและ
มีจรยิ ธรรม
ตัวช้วี ดั

๑. รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู และใชค้ วามรดู้ ้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ส่ือดิจทิ ัล เทคโนโลยสี ารสนเทศในการแก้ปัญหา
หรือเพ่ิมมูลคา่ ให้กบั บริการหรือผลติ ภัณฑท์ ี่ใชใ้ นชีวติ จรงิ อย่างสร้างสรรค์

หลักสูตรปรับปรงุ ๒๕๖๐
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (โลกและดาราศาสตร์)

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ม.๖)
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ
ระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏสิ มั พันธภ์ ายในระบบสรุ ิยะที่ส่งผลต่อสง่ิ มชี ีวติ และการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ
ตัวชวี้ ัด

๑. อธิบายการกาเนดิ และการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อุณหภมู ิของเอกภพหลังเกดิ บกิ แบงในช่วงเวลาตา่ ง ๆ
ตามววิ ัฒนาการของเอกภพ

๒. อธิบายหลกั ฐานทสี่ นบั สนนุ ทฤษฎีบกิ แบง จากความสมั พันธ์ระหวา่ งความเร็วกบั ระยะทางของกาแล็กซี รวมทั้ง
ขอ้ มูลการคน้ พบไมโครเวฟพ้ืนหลงั จากอวกาศ

๓. อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซที างชา้ งเผอื ก และระบตุ าแหนง่ ของระบบสุรยิ ะพร้อมอธบิ าย
เชอ่ื มโยงกบั การสงั เกตเหน็ ทางช้างเผอื กของคนบนโลก

๔. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปล่ียนแปลง ความดนั อุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ์กอ่ นเกิดจนเป็น
ดาวฤกษ์

๕. ระบุปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างความสอ่ งสว่างกบั โชตมิ าตร
ของดาวฤกษ์

๖. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างสี อณุ หภูมิผวิ และสเปกตรมั ของดาวฤกษ์
๗. อธิบายลาดับววิ ัฒนาการทสี่ ัมพันธก์ บั มวลต้ังต้นและวเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงสมบตั ิบางประการของดาวฤกษ์
๘. อธบิ ายกระบวนการเกิดระบบสรุ ิยะและการแบง่ เขตบริวารของดวงอาทิตย์ และลกั ษณะของดาวเคราะหท์ ่ีเอ้ือต่อ
การดารงชีวติ
๙. อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกดิ ลมสรุ ิยะ พายุสรุ ิยะ และสบื ค้นข้อมูล วเิ คราะห์ นาเสนอปรากฏการณ์
หรือเหตกุ ารณ์ทเี่ กย่ี วข้องกับผลของลมสรุ ิยะ และพายสุ ุริยะทมี่ ตี ่อโลกรวมท้งั ประเทศไทย
๑๐. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายการสารวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในชว่ งความยาวคล่นื ตา่ ง ๆ ดาวเทยี ม ยานอวกาศ
สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความรู้ทางดา้ นเทคโนโลยีอวกาศมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั หรอื ในอนาคต

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสมั พนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลก และบนผิวโลก
ธรณพี ิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อสง่ิ มีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม
ตวั ชวี้ ดั

๑. อธบิ ายการแบง่ ช้ันและสมบตั ิของโครงสร้างโลก พร้อมยกตวั อยา่ งขอ้ มูลที่สนบั สนนุ
๒. อธบิ ายหลักฐานทางธรณีวทิ ยาท่สี นับสนุนการเคลอื่ นทข่ี องแผ่นธรณี
๓. ระบุสาเหตุ และอธบิ ายรูปแบบแนวรอยต่อของแผน่ ธรณีที่สมั พนั ธก์ บั การเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี พรอ้ มยกตัวอย่าง
หลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาท่ีพบ
๔. อธิบายสาเหตกุ ระบวนการเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ รวมทง้ั สืบคน้ ข้อมลู พ้นื ทีเ่ สยี่ งภยั ออกแบบและนาเสนอ แนวทาง
การเฝา้ ระวังและการปฏิบตั ติ นให้ปลอดภยั
๕. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผน่ ดนิ ไหว รวมทง้ั สืบค้นข้อมูลพ้นื ท่ีเสีย่ งภยั
ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบัติตนให้ปลอดภยั
๖. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิ รวมทัง้ สืบค้นข้อมูลพ้ืนทเ่ี สย่ี งภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทาง
การเฝ้าระวังและการปฏิบัตติ นให้ปลอดภัย
๗. อธบิ ายปจั จัยสาคญั ที่มผี ลตอ่ การได้รบั พลังงานจากดวงอาทิตย์แตกตา่ งกันในแต่ละบรเิ วณของโลก
๘. อธบิ ายการหมนุ เวียนของอากาศทเี่ ปน็ ผลมาจากความแตกต่างของความกดอากาศ
๙. อธบิ ายทิศทางการเคลื่อนทขี่ องอากาศทเ่ี ปน็ ผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
๑๐. อธบิ ายการหมนุ เวียนของอากาศตามเขตละตจิ ูด และผลที่มตี ่อภมู ิอากาศ
๑๑. อธบิ ายปัจจัยท่ีทาใหเ้ กิดการหมนุ เวยี นของน้าผวิ หน้า ในมหาสมทุ รและรปู แบบการหมนุ เวียนของน้าผวิ หน้า
ในมหาสมุทร
๑๒. อธิบายผลของการหมุนเวยี นของอากาศและน้าผิวหน้า ในมหาสมุทรที่มตี อ่ ลักษณะภูมิอากาศ ลมฟา้ อากาศ
สิ่งมชี ีวิต และสง่ิ แวดล้อม
๑๓. อธิบายปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศของโลก พร้อมทั้งนาเสนอแนวปฏิบตั ิเพือ่ ลดกจิ กรรมของมนุษย์
ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศโลก
๑๔. แปลความหมายสญั ลกั ษณ์ลมฟ้าอากาศทสี่ าคญั จากแผนที่อากาศ และนาข้อมลู สารสนเทศต่าง ๆ มาวางแผนการ
ดาเนินชวี ติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพลมฟ้าอากาศ

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปญั หาท่ีพบในชวี ิตจรงิ อย่างเปน็ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปัญหาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทันและ
มจี ริยธรรม
ตวั ชว้ี ดั

๑. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการนาเสนอและแบ่งปนั ข้อมูลอยา่ งปลอดภัย มีจรยิ ธรรม และวเิ คราะห์การเปลยี่ นแปลง
เทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ ีผลต่อการดาเนินชวี ิต อาชพี สงั คม และวฒั นธรรม


Click to View FlipBook Version