การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด เรอ่ื ง การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน (Flowchart)
ดว้ ยกิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning สาหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4ุุ
ผ้วู จิ ัย
นางสาวมารสิ า คาเวนิ
ตาแหน่ง ครู
งานวิจยั ในชน้ั เรียนฉบบั นเ้ี ป็นสว่ นหน่ึงของกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นบ้านบุ่งอา้ ยเจย้ี ม
สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอทุ ัยธานี เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด เรือ่ ง การแสดงอัลกอริทมึ ด้วยผังงาน (Flowchart)
ดว้ ยกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning สาหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4ุ
ช่ือผู้วิจัย นางสาวมาริสา คาเวนิ
ตาแหน่ง ครู คศ.1
ปกี ารศึกษา 2565
บทคดั ยอ่
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ุ1)ุเพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการคิดุเรื่องุการแสดง
อัลกอริทึมด้วยผังงานุ(Flowchart) ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบุActive Learning สาหรับนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ีุ4ุุ2)ุุเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้
แบบุActive Learning กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้คือุนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีทีุ่4/2ุจานวนุ20ุคนุและ
เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีคือุ3.ุแบบทดสอบวัดทักษะการเขียนผังงานุและแบบประเมินความพึงพอใจ
ของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบุActive Learning สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลุ
ไดแ้ กุ่คา่ เฉลี่ยุร้อยละ
ผลการวิจัยพบว่าุ1)ุผลการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดุเร่ืองุการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานุ
(Flowchart) ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบุActive Learning สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ีุ4ุมีผลการ
ประเมินผ่านเกณฑ์ุ20ุคนุคิดเป็นร้อยละุ100ุคะแนนเฉล่ียร้อยละุ86.00ุุุ2)ุผลการศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรียนหลังการเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบุActive Learning เรื่องุการแสดงอัลกอริทึม
ดว้ ยผังงานุสาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ุ่ี 4ุในภาพรวมอย่ใู นระดบั พึงพอใจมากที่สดุ ุมคี ่าเฉลี่ยุุ4.52ุ
กิตตกิ รรมประกาศ
วิจัยในชั้นเรียนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดุเรื่องุการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานุ(Flowchart)
ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบุActive Learning สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีทีุ่4ุุพัฒนาทักษะ
กระบวนการคิดุเร่ืองุการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานุ(Flowchart) ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบุActive
Learning สาหรบั นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ีุ4ุ และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการเรียนด้วย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบุActive Learning เร่ืองุการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานุสาหรับนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปีทีุ่4
การศึกษาครั้งนี้บรรลุผลสาเร็จด้วยดีุเนื่องจากได้รับความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากผู้บริหารุ
คณะครูุนักเรยี นโรงเรียนบ้านบุ่งอ้ายเจี้ยมุและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นอย่างดีย่ิงุขอขอบพระคุณเจ้าของเอกสารุ
ตาราุทไี่ ด้เผยแพรข่ อ้ มลู ทม่ี คี ณุ คา่ และมปี ระโยชน์เพอ่ื นามาประกอบการศึกษาในครงั้ น้เี ป็นอยา่ งสูง
ขอขอบคุณผู้บรหิ ารุคณะครูุและนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ีุ4/2ุภาคเรียนทีุ่1ุปีการศึกษาุ2565
โรงเรียนบ้านบุ่งอ้ายเจ้ียมุอ.ลานสักุจ.อุทยั ธานีุท่เี ปน็ ผ้สู นับสนนุ ุชว่ ยเหลอื ุและให้ความร่วมมอื ในการศึกษา
คร้ังนเี้ ปน็ อย่างดี
มารสิ าุุคาเวนิ ุ
ุุุุุุผวู้ จิ ัย
.
สารบัญ หนา้
บททุ่ี 1 บทนา 1
- ที่มาและความสาคญั 2
- วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 2
- ขอบเขตของการวิจยั 3
- นิยามศัพท์เฉพาะ 3
-ุประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับจากการวิจยั
4
บททุ่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง
- แนวคิดุทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง 12
12
บททุ่ี 3 วิธดี าเนินงานวิจัย 13
- ประชากรที่ใช้ในการศกึ ษา 13
- เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั 15
- วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล
- การวเิ คราะห์ข้อมูล 16
- สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู
18
บทท่ีุ4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 18
- ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 18
19
บททุ่ี 5 สรุปผลการวจิ ัยุอภิปรายุและข้อเสนอแนะ
- สรุปผลการศกึ ษา
- อภปิ รายผลการศึกษา
- ข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
1
บทท่ี 1
บทนา
ทีม่ าและความสาคญั
การศึกษาจาํ เปน็ ตอ้ งเปล่ยี นแปลงให้ทนั ตอ่ ยคุ สมัยและการเปลี่ยนแปลงของโลกทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม โดยต้องปลูกฝังให้นักเรียนมีทักษะท่ีสามารถตอบสนองต่อการ เปลี่ยนได้อย่างยั่งยืน
กระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงได้ ดําเนินการทบทวนหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551และเห็นควรปรับปรุง หลักสูตรใน 3 กลุ่มสาระ หนึ่งในน้ันคือ
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เพือ่ ให้มนษุ ย์มคี วามคิด ริเริม่ สร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ สามารถ
วิเคราะห์ปญั หา หรือสถานการณ์ได้อย่าง รอบคอบและถี่ถว้ น สามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน ตลอดจนการใช้
เ ท ค โ น โ ล ยี ท่ี เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร บู ร ณ า ก า ร กั บ ค ว า ม รู้ ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนางานด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมท่ีนําไปสู่การคิดค้นส่ิงประดิษฐ์หรือสร้าง
นวัตกรรมต่างๆ ที่เอ้ือประโยชน์ต่อการดํารงชีวิต การใช้ทักษะการคิดเชิงคํานวณ ความรู้ทางด้านวิทยาการ
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งใช้
ความรู้ ความสามารถ ทักษะกระบวนการและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์เรียนรู้ส่ิงต่างๆท่ีอยู่รอบตัวอย่างเข้าใจ
สภาพท่ีเป็นอยู่ และการเปล่ียนแปลงเพ่ือนําไปสู่การจัดการและปรับใช้ในการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ
อย่างสร้างสรรค์
เน่ืองด้วยรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) เนื้อหาวิชามีความแปลกใหม่ด้วย
กระบวนการเรียนรู้ของสาระวิชาท่ีเน้นไปท่ีกระบวนการแก้ปัญหาเชิงตรรกะ การออกแบบการแก้ปัญหา
และกระบวนการด้านเทคโนโลยี ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีผู้เรียนขาดประสบการณ์ และวิธีการในการทําแบบฝึกหัด
ทม่ี กี ารใช้ทักษะท่ีนอกเหนือจากรูปแบบการเขียนบรรยาย หรือการท่องจํา ทําให้ผู้เรียนไม่สามารถเข้าใจเนื้อหา
ในหลายตัวช้ีวัดของหลักสูตรได้ อีกทั้งผู้เรียนยังขาดทักษะ กระบวนการคิด ยังสับสน ในขั้นตอนการแก้ปัญหา
อย่างเป็นระบบ ไม่สามารถคัดเลือกคุณลักษณะท่ีจําเป็นต่อการแก้ปัญหา ขั้นตอนของการแก้ปัญหา การเขียน
รหัสจําลอง และผังงานได้ ในการจัดการเรียนการสอนท่ีผ่านมา ค้นพบว่านักเรียนไม่สามารถจดจํารายละเอียด
ของสัญลักษณ์ผังงานได้ อีกท้ังยังไม่สามารถนําไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ค่อนข้างไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังน้ันจึงมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning
เข้ามาช่วยในการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน (Flowchart) ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับ
การจดจําสัญลักษณ์ผังงานและการนําไปใช้ เพื่อให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ โจทย์ปัญหา สถานการณ์ท่ีกําหนดให้
นํามาออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา แลว้ เขียนออกมาเป็นผังงานด้วยตนเอง ซ่ึงเป็นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
และการเขียนผังงาน (Flowchart) ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/2 ให้สูงขึ้น จึงเป็นที่มาของ
การศึกษาวิจยั ในคร้ังนี้
2
วัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั
1. เพอ่ื พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด เรอื่ ง การแสดงอัลกอริทมึ ดว้ ยผงั งาน (Flowchart)
ด้วยกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning สาํ หรับนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4
2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนที่มตี ่อการเรียนดว้ ยกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning
4. ขอบเขตของการวจิ ัย
3.1. ประชากร
ประชากรทใี่ ช้ในการวจิ ัยในครั้งน้ี เป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบา้ นบุ่งอ้ายเจยี้ ม
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 จํานวน 40 คน
3.2. กลุ่มตัวอยา่ ง
กลุม่ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการวจิ ัยในครั้งนี้ ได้แก่ นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4/2
โรงเรยี นบ้านบงุ่ อ้ายเจย้ี ม ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 จํานวน 20 คน ไดม้ าจากการสมุ่ ตัวอย่างแบบง่าย
(Simple Random Sampling)
3.3. ตัวแปรท่ศี กึ ษา
3.3.1. ตวั แปรตน้ ได้แก่
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning เรอ่ื ง การแสดงอลั กอรทิ ึม
ดว้ ยผังงาน (Flowchart)
3.3.2. ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่
1. ทักษะกระบวนการคิด เร่ือง การแสดงอลั กอริทมึ ดว้ ยผงั งาน (Flowchart)
2. ระดบั ความพงึ พอใจของนักเรียนท่มี ีต่อการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ Active Learning
3.4. เน้ือหาสาระ
เนอ้ื หาสาระท่ีนํามาใช้ในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ Active Learning เรื่อง การแสดงอลั กอริทมึ ดว้ ยผังงาน (Flowchart)
สาํ หรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 มีเนื้อหาประกอบด้วย 3 เร่ือง คอื
เรือ่ งท่ี 1 สญั ลักษณ์การแสดงอลั กอริทมึ ด้วยผังงาน
เรอ่ื งท่ี 2 การแสดงอลั กอริทึมด้วยผังงานแบบโครงสรา้ งเรยี งลาํ ดับ
เร่อื งท่ี 3 การแสดงอลั กอริทมึ ด้วยผงั งานแบบโครงสรา้ งทางเลือก
3.5 ระยะเวลาในการวจิ ัย
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 อยู่ในระหว่างวนั ที่ 10 – 24 มิถนุ ายน 2565
3
4. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
ในการศึกษาครัง้ น้ี ผู้ศึกษาได้กาํ หนดนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะไวด้ ังน้ี
1. การเรียนรูแบบกระตอื รือรน (Active learning) การจัดกระบวนการเรยี นการสอนแบบ
Active Learning เปนกระบวนการเรียนรูแบบเนนใหผูเรียนไดปฏบิ ตั ิ หรอื ลงมือทําและดวยความกาวหนา
ของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคศตวรรษท่ี 21 การเขาถงึ องคความรูใหมๆ การเขาถงึ แหลงขอมลู และการ
ตดิ ต่อสื่อสารแบบไรพรมแดนสามารถทาํ ไดทุกที่ทุกเวลา ทําใหผูเรยี นสามารถเรยี นรูไดดวยตนเอง
อยางต่อเน่อื ง
2. ผังงาน หมายถึง เปน็ เครื่องมือแสดงขัน้ ตอน หรอื กระบวนการทาํ งาน โดยใช้สญั ลกั ษณท์ ่เี ปน็
มาตรฐานเดียวกนั ซ่ึงในสัญลักษณจ์ ะมีขอ้ ความสัน้ ๆ อธบิ ายขอ้ มูลที่ตอ้ งใช้ ผลลพั ธ์ หรือคําส่งั ประมวลผลของ
ข้ันตอนน้ันๆ และเช่ือมโยงขนั้ ตอนเหลา่ นนั้ ด้วยเส้นทม่ี ลี ูกศรช้ที ศิ ทางการทํางานต้ังแตเ่ ริ่มต้นจนจบกระบวนการ
โดยผงั งานแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท 1) ผังงานแบบโครงสร้างเรียงลาํ ดบั 2) ผังงานแบบโครงสรา้ งทางเลือก
3. ทกั ษะกระบวนการคิด หมายถงึ คะแนนของนักเรียนท่ีได้จากกระบวนการคิดแบบเป็นลําดบั ข้ันตอน
และความถกู ต้องของของการเขยี นผงั งาน
4. ความพงึ พอใจของนกั เรยี น หมายถงึ คา่ เฉลยี่ จากการบอกความรู้สกึ ในการเรียนดว้ ยกิจกรรม
การเรยี นการรแู้ บบ Active Learning เรื่อง การแสดงอัลกอรทิ ึมด้วยผังงาน (Flowchart) สาํ หรับนักเรยี น
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 จากการตอบแบบสาํ รวจความพึงพอใจทม่ี รี ะดับความพงึ พอใจ 5 ระดับ คือ
ระดบั 1 พึงพอใจน้อยสดุ , ระดบั 2 ความพึงพอใจน้อย, ระดับ 3 ความพงึ พอใจ ปานกลาง,
ระดบั 4 ความพึงพอใจมาก และระดับ 5 ความพงึ พอใจมากทสี่ ดุ
5. นักเรียน หมายถึง นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนบา้ นบ่งุ อา้ ยเจี้ยม ตาํ บลระบํา อําเภอลานสัก จงั หวัดอุทยั ธานี
6. ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ :
1. กจิ กรรมการเรยี นการรแู้ บบ Active Learning ทําใหนักเรยี นระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 4
ปการศึกษา 2565 มกี ระบวนการคิดและทักษะการเขียนผังงาน (Flowchart) ทด่ี ขี ึ้น
2. นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามเกณฑ์กาํ หนดในรายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(วิทยาการคํานวณ) เรื่อง การแสดงอัลกอริทึมดว้ ยผงั งาน (Flowchart)
4
บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง
การพฒั นาทกั ษะการคิดดว้ ยกิจกรรมการเรียนการร้แู บบ Active Learning เร่อื ง การแสดงอลั กอรทิ มึ
ดว้ ยผงั งาน (Flowchart) สําหรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ผู้วจิ ัยได้ศึกษาเอกสาร บทความ และงานวิจัย
ทเ่ี ก่ยี วข้อง มสี าระสาํ คัญ ดังหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.1 คําอธบิ ายรายวชิ า วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ว 14101
1.2 ตัวชวี้ ัด รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ว 14101
2. ทฤษฎีการสร้างความรดู้ ้วยตนเอง (Constructivism)
3. การเรยี นรูแ้ บบกระตือรือร้น (Active learning)
4. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบใหผ้ เู้ รยี นได้ปฏิบตั ิ
5. เทคนคิ และวธิ กี ารสอน
1. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ในหลักสูตรแกนกลางฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้ปรับปรุงมาตรฐานและตัวชี้วัดขึ้นมาใหม่และเพิ่ม
สาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบด้วย การออกแบบและเทคโนโลยีและวิทยาการคํานวณ ท้ังนี้ เป้าหมายของการ
ปรับเปล่ียนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ดังกล่าวคือมุ่งหวังให้สถานศึกษาได้จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ท่ีสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงนโยบายในการพัฒนาประเทศของรัฐบาล
โดยมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดใหม่มีเป้าหมายและจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนที่แตกต่างจากตัวช้ีวัดเดิม
ท่ีระบุในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เม่ือผู้เรียนผ่านการเรียนรู้ตามตัวช้ีวัด
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใหม่นี้แล้ว จะมีความรู้และทักษะที่ระบุ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เนื่องจากตัวชี้วัดท่ีพัฒนาขึ้นใหม่น้ี ได้ขยายความรู้และทักษะของผู้เรียน
จากการเป็นเพียงผู้ใช้เทคโนโลยีไปสู่การเป็นผู้พัฒนาเทคโนโลยีได้ด้วยตัวเองจากการประยุกต์ความรู้
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์ท่ีมีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีน้ันๆ รวมถึงการพัฒนาทักษะ
ที่ จําเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือการดํารงชีวิตในสังคมยุคใหม่ท่ีมีการแข่งขันสูงและรวดเร็วได้อย่างมีความสุข
และ เป็นพลเมืองดจิ ทิ ัลที่มีคณุ ภาพ
5
1.1 คําอธิบาย ว14101 รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ)
กลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4
ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา มาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา การอธิบายการทํางาน
หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ ศึกษาการออกแบบโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ storyboard หรือการออกแบบ
อัลกอริทึม การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch หรือ logo ศึกษาการใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา
ความรู้ การใช้ คําค้นที่ตรงประเด็น กระชับ การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล ศึกษาการรวบรวมข้อมูล
การประมวลผลอย่าง ง่าย วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ตลอดจนประเมินทางเลือก
พรอ้ มท้ังการนําเสนอขอ้ มูลในรปู แบบ ตามความเหมาะสม ศกึ ษาการใช้ซอฟตแ์ วรเ์ พอ่ื แก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง ปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและหน้าทีข่ องตน เคารพในสทิ ธใิ นสิทธิของผู้อ่นื
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้การคิดเชิงคํานวณและปัญหาเป็นฐาน ( Problem–based
Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จากการฝึกแก้ปัญหาต่าง ๆ ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติ
อย่างมรี ะบบ และสรา้ ง องค์ความร้ใู หมจ่ ากการใช้ปญั หาทเี่ กิดขึน้ จรงิ ในชีวติ ประจาํ วนั ได้
เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคํานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นข้ันตอน
และ เป็นระบบ มีทักษะในการต้ังคําถาม หรือกําหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งท่ีจะเรียนรู้ตามที่กําหนดให้ หรือตาม
ความสนใจ คาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคําถาม วางแผนและสํารวจ
ตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิง
ปริมาณและคุณภาพ ค้นหาข้อมูลอย่าง มีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเช่ือถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ตลอดจนนํา ความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้
ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดํารงชีวิต จนสามารถ พัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถ
ในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการส่ือสาร และ ความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ท่ีมีจิตวิทยา
ศาสตร์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์
1.2 ตัวช้วี ดั
ว. 4.2 ป.4/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทาํ งาน การคาดการณ์ผลลัพธ์
จากปญั หาอย่างงา่ ย
ว. 4.2 ป.4/2 ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ หรอื สื่อ และตรวจหา
ขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไข
ว. 4.2 ป.4/3 ใช้อนิ เทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ และประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมลู
ว. 4.2 ป.4/4 รวบรวม ประเมิน นําเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่หี ลากหลาย
เพือ่ แกป้ ญั หาในชวี ิตประจําวัน
ว. 4.2 ป.4/5 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของตน เคารพในสิทธิ
ของผู้อื่น แจง้ ผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมลู หรอื บุคคลท่ีไมเ่ หมาะสม
6
2. ทฤษฎีการสร้างความร้ดู ว้ ยตนเอง (Constructivism)
บรนุ เนอร์ (Bruner อ้างถึงใน ไสว ฟังขาว ,2544 : 153) เน้นว่าผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ ประสบการณ์
ที่เคยมีมาก่อนจะมีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ เขามีคว ามเห็นแตกต่างกันกับ Piaget
ตรงทเ่ี ขาเช่ือว่าลาํ พังวฒุ ิภาวะอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอต่อการพัฒนาโครงสร้างความรู้ใหม่ แต่ยังมีองค์ประกอบ
อื่น ๆ เช่ น พั ฒน า กา รด้ า นภ า ษา แล ะ ปร ะ สบ กา ร ณ์เ ดิ มมี ส่ว น สํา คั ญใ นก า รเ พิ่ มค ว า ม เจ ริ ญ
งอกงามทางสตปิ ญั ญา
เพียเจต์ (Piaget 1972 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี ,2547 : 90-91) อธิบายว่าพัฒนาการทางเชาวน์
ปญั ญาของบคุ คลมกี ารปรบั ตวั ผา่ นทางกระบวนการซึมซับหรอื ดูดซมึ และกระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา
พัฒนาการเกดิ ขนึ้ เมื่อบคุ คลรบั และซมึ ซบั ขอ้ มูลหรือประสบการณ์ใหมเ่ ขา้ ไปสัมพนั ธก์ ับความรู้หรือโครงสร้างทาง
ปัญญาท่ีมีอยู่เดิม หากไม่สามารถสัมพันธ์กันได้จะเกิดภาวะไม่สมดุลข้ึน บุคคลจะพยายามปรับสภาวะให้อยู่
ในภาวะสมดุล โดยใช้กระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา เพียเจต์เช่ือว่าคนทุกคนจะมีการพัฒนาปัญญา
ไ ป ต า ม ลํ า ดั บ ข้ั น จ า ก ก า ร มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ
และประสบการณ์ท่ีเก่ียวกับการคิดเชิงตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมท้ังการถ่ายทอดความรู้ทางสังคม วุฒิภาว ะ
และกระบวนการพฒั นาความสมดลุ ของบุคคลนั้น
วีก็อทสกี้ (Vygotsky. 1978 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี ,2547 : 91) อธิบายว่ามนุษย์ได้รับอิทธิพล
จากสิ่งแวดล้อมต้ังแต่แรกเกิด ซ่ึงนอกจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติแล้วก็ยังมีส่ิงแวดล้อม ทางสังคมซ่ึงก็คือ
วฒั นธรรมทีแ่ ตล่ ะสังคมสรา้ งขนึ้ ดงั นั้นสถาบันสังคมตา่ ง ๆ เริ่มตัง้ แต่สถาบันครอบครัวจะมีอิทธิพลต่อพัฒนาการ
เชาวนป์ ัญญาของแตล่ ะบุคคล นอกจากน้นั ยงั เป็น เครื่องมือสําคัญของการคิดและการพัฒนาเชาวน์ปัญญาข้ันสูง
พัฒนาการทางภาษาและทางความคิดของเด็กเร่ิมด้วยการพัฒนาท่ีแยกจากกัน แต่เมื่ออายุมากขึ้น พัฒนาการ
ทงั้ 2 ด้านจะเป็นไปร่วมกนั
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ (2540 : 42) กล่าวว่า ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเป็นการสรรค์สร้างความรู้
เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องแสวงหาความรู้และสร้างสรรค์ความรู้ความเข้าใจขึ้นด้วยตนเอง ความแข็งแกร่ง
ความเจริญงอกงามในความรู้จะเกิดขึ้น เม่ือผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับคนอ่ืนๆ
หรือไดพ้ บส่งิ ใหม่ ๆ แล้วนําความรทู้ ม่ี ีอยู่มาเชอ่ื มโยง
วรรณี โสมประยูร (2541 : 24) ได้ให้ความหมายของแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเป็นการ
เรียนรู้แบบสร้างสรรค์ความรู้ โดยเน้นการเรียนรู้ ผู้เรียนต้องแสวงหาความรู้และสร้างความรู้ด้วยตนเอง ความรู้
คือโครงสร้างใหม่ทางปัญญา ที่สร้างจากประสบการณ์และโครงสร้างเดิมที่มีอยู่ โครงสร้างทางปัญญา
ที่สร้างข้ึนใหม่นี้จะเป็นเครื่องมือสําหรับการสร้างทางปัญญาใหม่ ๆ ต่อไปได้อีก การเรียนรู้ แบบน้ี
จึงเป็นกระบวนการสร้างสรรค์ความรู้ที่เน้นความรู้เดิมให้เป็นพื้นฐานความรู้ใหม่ตามปรัชญา Constructivism
ที่เชือ่ วา่ การเรยี นร้เู ป็นกระบวนการทเ่ี กิดข้ึนภายในตวั ของผู้เรียน และผเู้ รียนเปน็ ผ้สู ร้างขน้ึ เอง
7
สรุปได้ว่าทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการสร้างความรู้ที่ผู้เรียนค้นพบและสร้างขึ้น
ด้วยตนเองจากการผสมผสานระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ท่ีได้รับจากการลงมือปฏิบัติจริงโดยอาศัย
กระบวนการพัฒนาโครงสรา้ งความร้ภู ายในตัวผ้เู รียน
3. การเรียนรแู้ บบกระตอื รือรน้ (Active learning)
การจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนรู้แบบเน้นให้ผู้เรียนได้
ปฏบิ ัติ หรือลงมอื ทาํ และด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคศตวรรษที่ 21 การเข้าถึงองค์ความรู้
ใหม่ๆ การเข้าถึงแหล่งข้อมูล และการติดต่อส่ือสารแบบไร้พรมแดนสามารถทําได้ทุกที่ทุกเวลา ทําให้ผู้เรียน
สามารถเรยี นรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง ผู้สอนจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนในรูปแบบเดิมให้สอดคล้อง
กบั การเรียนรขู้ องผเู้ รียน สังคม และเทคโนโลยี โดยปรับเปลี่ยนบทบาทจากผู้ถ่ายทอดเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้า
หาความรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้และประยุกต์ใช้ทักษะต่าง ๆ สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง
จนเกิดเป็นการเรยี นรู้อยา่ งมีความหมาย (สริ ิพร ปาณาวงษ์, 2557) โดยรูปแบบการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ
นี้จะให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมและบทบาทในการเรียนรู้ของผู้เรียน ครอบคลุมวิธีการเรียนการสอน
หลากหลายวิธี เช่น การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (Problem-Based Learning) การเรียนรู้จากการสืบค้น
(Inquiry-Based Learning) การเรียนรู้จากการทํากิจกรรม (Activity-Based Learning) ) การสอนแบบ
โครงงาน (Project Based Learning) การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และการ
สอนท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) เป็นต้น และส่งเสริม หรือกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็น
ผมู้ บี ทบาทหลกั ในการเรียนรู้ของตนเอง การส่งเสริมมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
ด้วยเทคนิคหรือกิจกรรมต่างๆ ซึ่งผู้สอนมีบทบาทในการอํานวยความสะดวกและจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือ
ใหผ้ เู้ รยี นสรา้ งความร้ดู ้วยตนเอง จนเกดิ เป็นการเรียนรอู้ ย่างมคี วามหมาย (Meaningful Learning)
4. กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบใหผ้ เู้ รียนได้ปฏิบัติ
การจดั การเรยี นการสอนแบบเนน้ ให้ผูเ้ รียนไดป้ ฏิบัติ สามารถเกิดขึ้นไดท้ ้ังในห้องเรียนและนอก
หอ้ งเรยี น McKinney (2008) ได้เสนอรูปแบบกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบใหผ้ ู้เรียนไดป้ ฏบิ ตั ิ
ดงั นี้
- การเรียนรแู้ บบแลกเปลย่ี นความคดิ (Think-Pair-Share) คอื การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทใี่ ห้ผู้เรยี นคิด
เกย่ี วกับประเด็นท่ีกําหนดคน เดยี ว 2-3 นาที (Think) จากนัน้ ใหแ้ ลกเปล่ียนความคิดกบั เพื่อนอกี คน 3-5 นาที
(Pair) และนําเสนอความคดิ เหน็ ต่อผู้เรยี นท้งั หมด (Share)
- การเรียนรู้แบบรว่ มมอื (Collaborative learning group) คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ใ่ี หผ้ ู้เรียนได้
ทาํ งานร่วมกับผู้อื่น โดยจัดกลุ่มๆ ละ 3-6 คน
- การเรียนรแู้ บบทบทวนโดยผู้เรยี น (Student-led review sessions) คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้ทบทวนความรู้และ พิจารณาข้อสงสยั ตา่ ง ๆ ในการปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ โดยครู
จะคอยชว่ ยเหลือกรณีที่มีปญั หา
8
- การเรยี นรแู้ บบใชเ้ กม (Games) คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีผสู้ อนนําเกมเขา้ บูรณาการในการเรยี น
การสอน ซึง่ ใช้ไดท้ ้ังในข้ันการนาํ เข้าสบู่ ทเรยี น การสอน การมอบหมายงาน และหรือข้ันการประเมนิ ผล
- การเรียนรแู้ บบวเิ คราะหว์ ีดโี อ (Analysis or reactions to videos) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ที่ใหผ้ ู้เรียนได้ดวู ีดโี อ 5-20 นาที แล้วให้ผ้เู รยี นแสดงความคิดเหน็ หรือสะท้อนความคิดเก่ียวกบั สิ่งที่ได้ดู
อาจโดยวธิ กี ารพูดโต้ตอบกนั การเขยี น หรอื การรว่ มกันสรุปเป็นรายกล่มุ
- การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่จัดใหผ้ ู้เรียนไดน้ าํ เสนอ
ขอ้ มลู ที่ไดจ้ าก ประสบการณ์และการเรยี นรู้ เพ่อื ยนื ยันแนวคิดของตนเองหรือกลุ่ม
- การเรยี นรู้แบบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คอื การจัด
กิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ใี หผ้ เู้ รียนสร้างแบบทดสอบจากสง่ิ ท่ีไดเ้ รียน รู้มาแล้ว
- การเรยี นรู้แบบกระบวนการวจิ ัย (Mini-research proposals or project) คอื การจดั กิจกรรม
การเรยี นรทู้ อ่ี ิงกระบวนการวิจยั โดยให้ผู้เรียนกําหนดหัวข้อท่ตี ้องการเรยี นรู้ วางแผนการเรียน เรยี นร้ตู ามแผน
สรุปความรหู้ รอื สร้างผลงาน และสะท้อนความคดิ ในสิ่งทไี่ ดเ้ รยี นรู้ หรืออาจเรยี กว่าการสอนแบบโครงงาน
(project-based learning) หรือการสอนแบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน (problem-based learning)
- การเรยี นรแู้ บบกรณีศกึ ษา (Analyze case studies) คือการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทใี่ ห้ผเู้ รียนไดอ้ า่ น
กรณตี ัวอย่างท่ีต้องการ ศกึ ษา จากน้นั ให้ผเู้ รยี นวิเคราะห์และแลกเปล่ยี นความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปญั หา
ภายในกลมุ่ แล้วนาํ เสนอความคดิ เหน็ ต่อผเู้ รยี นทง้ั หมด
- การเรยี นรูแ้ บบการเขยี นบนั ทึก (Keeping journals or logs) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ผี ู้เรยี น
จดบนั ทึกเรื่องราวตา่ ง ๆ ท่ีได้พบเหน็ หรอื เหตุการณ์ทีเ่ กิดข้ึนในแต่ละวนั รวมทั้งเสนอความคิดเพ่ิมเติมเก่ียวกับ
บันทึกที่เขยี น
- การเรยี นรู้แบบการเขียนจดหมายขา่ ว (Write and produce a newsletter) คือการจัดกจิ กรรมการ
เรยี นรู้ทใี่ หผ้ ู้เรียนรว่ มกนั ผลติ จดหมายข่าว อันประกอบด้วย บทความ ข้อมูลสารสนเทศ ขา่ วสาร
และเหตุการณ์ทเ่ี กิดข้ึน แล้วแจกจา่ ยไปยงั บุคคลอนื่ ๆ
- การเรยี นรแู้ บบแผนผงั ความคิด (Concept mapping) คอื การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีใหผ้ เู้ รยี น
ออกแบบแผนผงั ความคดิ เพื่อนาํ เสนอความคดิ รวบยอด และความเชื่อมโยงกนั ของกรอบความคิด โดยการใช้
เสน้ เป็นตัวเช่อื มโยง อาจจดั ทําเป็นรายบคุ คลหรืองานกลุม่ แลว้ นําเสนอผลงานต่อผู้เรยี นอน่ื ๆ จากนั้นเปิด
โอกาสให้ผูเ้ รียนคนอื่นได้ซักถามและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเตมิ
กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบให้ผเู้ รียนได้ปฏบิ ัติ สามารถใชไ้ ด้กับผเู้ รียนทกุ ระดับ
โดยผู้เรียนสามารถเรียนร้เู ป็นรายบคุ คล เรียนรูแ้ บบกลุ่มเล็ก และเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ โดยกระบวนการจัดการ
เรียน การสอนในรปู แบบน้ีจะเปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนมีส่วนรว่ มในการปฏิบัติและการเรยี นรู้สูงสดุ ผู้เรยี นมีความ
รบั ผดิ ชอบร่วมกนั การมีวนิ ยั ในการทํางาน การแบง่ หนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ และส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการบูรณาการข้อมลู ขา่ วสาร ซึง่ ผู้สอนจะเปน็ ผอู้ าํ นวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพ่ือให้
ผู้เรียนเป็นผ้ปู ฏบิ ัติ ด้วยตนเอง ความรู้เกดิ จากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของ
ผเู้ รียน
9
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนแบบเน้นใหผ้ ู้เรียนไดป้ ฏบิ ตั ิ ผู้สอนเปน็ ผูท้ ี่มบี ทบาทสาํ คัญ โดยทัว่ ไป
ผู้สอนจะมีคุณสมบัติและมสี มรรถนะในด้านต่าง ๆ ทสี่ าํ คัญหลายประการ ซงึ่ สมรรถนะเหล่านี้ จะชว่ ยใหเ้ กดิ
กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบเนน้ ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี โดยทววี ฒั น์ วฒั นกลุ เจริญ (2547)
ไดก้ ลา่ ววา่ ผสู้ อนควรมีบทบาท ดังน้ี
- จัดใหผ้ ู้สอนเป็นศูนยก์ ลางของการเรยี น กิจกรรม หรือเป้าหมายทตี่ ้องการสะท้อนความตอ้ งการ
ท่ีจะพฒั นาผู้เรยี น และเนน้ การนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตจรงิ ของผูเ้ รยี น
- สรา้ งบรรยากาศของการมสี ่วนร่วม และการเจรจาโตต้ อบท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมปี ฏสิ มั พันธท์ ี่ดีกับผ้สู อน
และเพ่ือนในช้นั เรยี น
- จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหเ้ ปน็ พลวตั ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมสี ่วนรว่ มในทุดกจิ กรรมที่สนใจ
รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรยี นประสบความสําเรจ็ ในการเรียน กิจกรรมที่เปน็ พลวตั ได้แก่ การฝกึ แกป้ ัญหาการศึกษา
ด้วยตนเอง เป็นตน้
- จดั สภาพการเรยี นรู้แบบร่วมมือ สง่ เสริมใหเ้ กิดการร่วมมือในกลุ่มผเู้ รียน
- จัดกิจกรรมการเรียนสอนให้ท้าทาย และใหโ้ อกาสผู้เรียนไดร้ ับวธิ ีการสอนท่ีหลากหลายมากกวา่
การบรรยายเพยี งอย่างเดยี ว แม้รายวชิ าทเี่ นน้ ทางด้านการบรรยาย หลกั การ และทฤษฎีเปน็ หลกั กส็ ามารถ
จัดกิจกรรมเสรมิ อาทิ การอภิปราย การแก้ไขสถานการณ์ท่ีกําหนด เสรมิ เขา้ กบั กจิ กรรมการบรรยาย
- วางแผนในเรอ่ื งของเวลาการสอนอย่างชดั เจน ทง้ั ในเร่ืองของเนื้อหา และกจิ กรรมในการเรียน
- ใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเห็นทผ่ี ู้เรยี นนาํ เสนอ
ผู้สอนเปน็ ผ้ทู จ่ี ะชีแ้ นะแนวทางการในการเรียนรู้จากกระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบเน้นให้
ผเู้ รยี นไดป้ ฏบิ ัติ ดังน้นั ผูส้ อนจงึ ตอ้ งมีความรู้ความเข้าใจด้านเนอ้ื หา การออกแบบและพัฒนากระบวนการเรยี น
ของผ้เู รยี น รวมทัง้ จะต้องมีการจงู ใจ การวางแผนบรู ณาการ และการติดต่อส่ือสารกบั ผ้เู รียน เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถปฏิสัมพันธ์กบั ผ้สู อนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สง่ ผลให้ผเู้ รยี นสนกุ กับการเรียน ลดความกังวลในการเรยี น
มีความกระตือรือร้น และอาจจะ ทําให้ผลการเรียนดีขนึ้
10
5. เทคนคิ และวิธีการสอน
จากคํากล่าวท่วี ่า "การวธิ กี ารสอนน้ันตอ้ งใชท้ ัง้ ศาสตร์และศลิ ป์" ซ่ึงศาสตร์ คอื ตวั เนื้อความรทู้ มี่ อี ยู่ใน
ผสู้ อน สว่ นศิลป์ คือ ศลิ ปะความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาไปสูผ่ เู้ รยี น บางครัง้ เนอื้ หาเดยี วกนั ผ้สู อนตา่ งกนั
ยอ่ มมีศลิ ปะในการถ่ายทอดต่างกันด้วย การใชศ้ าสตร์และศลิ ปต์ ้องใช้อยา่ งผสมผสานกลมกลนื กัน การสอน
คอมพวิ เตอร์กเ็ ช่นกนั เมื่อผูส้ อนทม่ี ีพน้ื ฐานความรเู้ กย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ดีอยู่แลว้ ควรต้องพิจารณาเพม่ิ ศลิ ปะ
ในการสอน นั่นคือการนาํ ความร้ทู างทฤษฎกี ารสอนและเทคนิควิธกี ารสอน ไปใช้เพ่ือจัดกจิ กรรมการเรยี นการ
สอนทฤษฎกี ารสอนของนักการศกึ ษาหลาย ๆ ท่าน ได้เสนอทฤษฎกี ารสอนไวม้ ากมายหลายทฤษฎี ซง่ึ สามารถ
สรปุ เปน็ 4 ทฤษฎใี หญ่ ๆ ด้วยกนั ดังน้ี (ไชยยศ เรืองสวุ รรณ, 2533:65-67)
5.1 ทฤษฎกี ารสอนของกาเย (Gagne) เปน็ แนวคดิ เก่ียวกับการรู้ กลา่ วถึงการเรียนรขู้ องบุคคลวา่
จะเกดิ ข้ึนได้ดีหรือไมเ่ พยี งใดข้ึนอยกู่ ับสภาพการณ์ทั้งภายในและภายนอกผเู้ รียน (Internal and External
Conditions) และเหตุการณ์ในการเรียน (Events of Lerning) จัดเปน็ ลําดบั สภาพการณ์ในการเรียนรู้
เป็น 9 ขั้น คือ
5.1.1 การเรา้ ความสนใจ
5.1.2 แจง้ จุดมุ่งหมายแกผ่ เู้ รียน
5.1.3 สรา้ งสถานการณเ์ พอื่ ดึงความรเู้ ดิม
5.1.4 เสนอบทเรียน
5.1.5 ชี้แนวทางการเรียนรู้
5.1.6 ใหผ้ ูเ้ รยี นลงมือปฏิบัติ
5.1.7 การให้ข้อมูลยอ้ นกลับ
5.1.8 การจดั การปฏิบตั ิ
5.1.9 ย้ําให้เกดิ ความจาํ และการถา่ ยโอนความรู้
5.2 ทฤษฎีการสอนของเมอร์รลิ ไรเกลท (Merrill - Reigelath) แสดงทศั นะวา่ การสอนเป็นกระบวนการ
ทเ่ี สนอเปน็ ข้นั ตอนท่ลี ะเอยี ดและต่อเนื่อง ดงั น้ี
5.2.1 เลือกหัวข้อปฏิบัติท้ังหลายท่ีจะสอนดว้ ยการวเิ คราะห์ภารกิจ
5.2.2 ตัดสนิ ใจวา่ จะสอนข้อภารกจิ ใดเป็นอนั ดบั แรก
5.2.3 จัดลาํ ดับก่อนหลงั ของข้อภารกิจที่เหลอื
5.2.4 บง่ ชีเ้ นือ้ หาท่สี นบั สนนุ การปฏิบตั ภิ ารกจิ
5.2.5 จัดเนื้อหาเข้าบทเรยี นและจัดลําดบั บทเรียน
5.2.6 จัดลําดบั การสอนภายในบทเรยี นต่าง ๆ
5.2.7 ออกแบบการสอนในแต่ละบทเรยี น
11
5.3 ทฤษฎกี ารสอนของเคส (Case) ให้แนวคดิ เก่ยี วกบั การสอนดา้ นพฤติกรรมในระหว่างการสอน
แตล่ ะขั้นของพฒั นาการทางสตปิ ญั ญาน้นั ข้ึนกบั การเพ่มิ ความซบั ซ้อนของยุทธศาสตร์การคดิ ผูเ้ รียนจะใช้
ความคิดท่ีซบั ซ้อนไดเ้ มื่อได้รบั ประสบการณ์อยา่ งมีขั้นตอนการจดั การสอนลักษณะนีจ้ ดั ลําดับตามความมุง่ หมาย
ของภารกจิ ที่ จะเรยี น จัดลาํ ดับขน้ั การปฏิบัติเพอ่ื นาํ ไปสคู่ วามมุ่งหมายน้ัน ๆ โดยการเปรียบเทยี บการคิด
กับทักษะที่ผ้เู รียนได้รบั มีการจดั ระดบั ความสามารถและการปฏบิ ัตขิ องผู้เรียน มแี บบฝึกหดั หรอื ตัวอย่างให้
ผเู้ รียนไดศ้ กึ ษา
5.4 ทฤษฎีการสอนของลันดา (Landa) เป็นการดาํ เนนิ การสอนโดยใช้การจัดลาํ ดบั ขนั้ การแก้ปญั หา
โดยบ่งช้ีกจิ กรรมการเรียนกอ่ นทผ่ี ู้เรียนจะลงมือเรียน และจัดให้ผเู้ รยี นฝึกปฏบิ ตั ิการตามทีไ่ ด้ออกแบบไว้
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตล่ ะคร้งั ผู้สอนมักนาํ ทฤษฎกี ารสอนท้งั 4 ประการ มาประยุกต์ใช้
ในการสอนของตน การจะเลอื กใชท้ ฤษฎีการสอนใดนน้ั ควรขน้ึ กับจุดประสงคร์ ายวชิ า จุดประสงค์การสอน
และเนื้อหาการสอนแตล่ ะคร้ังอาจใช้ทฤษฎกี ารสอนหลายประการผสมผสานกนั กไ็ ด้ และจากทฤษฎีการสอนนี้
ครูอาจารย์ ผสู้ อน วิทยากรที่มีหนา้ ทสี่ อน และใหม้ ีการอบรมเก่ยี วกับคอมพิวเตอร์อาจมองเหน็ แนวทาง
ทจี่ ะนาํ ไปประยุกต์ใช้กบั การสอนของตน
12
บทที่ 3
วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย
1. ประชากร
นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 40 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
โรงเรยี นบ้านบุ่งอ้ายเจ้ยี ม
2. กลุ่มตัวอยา่ ง
นักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/2 จาํ นวน 20 คน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565
โรงเรยี นบา้ นบ่งุ อ้ายเจ้ียม
3. วิธดี าเนนิ การวจิ ยั
1. ครูเตรยี มแผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ)
เรอ่ื ง การแสดงอัลกอรทิ ึมดว้ ยผงั งาน (Flowchart) และออกแบบกจิ กรรมเสริมทักษะการคดิ ที่เน้นให้ผเู้ รยี น
ไดท้ าํ กิจกรรมแบบกระบวนการกลุม่ และเรยี นรู้ด้วยตนเอง
2. ดาํ เนินกจิ กรรมตามแผนการจัดการเรียนร้โู ดยมีกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning
ภายในหอ้ งเรียน
3. สงั เกต พฤติกรรมโดยรวมของนักเรียนระหวา่ งทํากิจกรรมภายในห้อง
4. ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทีเ่ กดิ ขึ้นกบั ผู้เรยี นหลังทาํ กิจกรรมการเรยี นการสอน
5. รวบรวมและสรุปผลการวจิ ัยเพอื่ นาํ เสนอ
4. เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจัย
1. แผนการจดั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ)
เรอ่ื ง การแสดงอัลกอริทึมด้วยผงั งาน (Flowchart)
2. ใบกิจกรรมกลุ่ม
3. แบบทดสอบวดั ทักษะการเขยี นผงั งาน
4. แบบประเมินทักษะการเขียนผงั งาน
5. แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรยี นดว้ ยกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ Active Learning
13
5. วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ผ้วู ิจัยเก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเองเป็นข้อมูลปฐมภมู ิ โดยเก็บข้อมลู ในคาบเรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ว14101 ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/2 ทั้งหมดเป็นระยะเวลา 3 สปั ดาห์
รวมทง้ั สิน้ 3 คาบเรยี น โดยมีขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1. จบั กลุ่มคละความสามารถ และใหผ้ ูเ้ รียนน่ังประจําทีข่ องตนเอง
2. แนะนําเครื่องมือให้ผ้เู รียนเขา้ ใจ
3. คณุ ครูอธิบายหลักการเขยี นโปรแกรมในแตล่ ะหวั ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั ชีวติ ประจําวนั ของผเู้ รียน
แลว้ ยกตัวอย่างปัญหาทสี่ อดคลอ้ งกับแตล่ ะเรื่อง
4. ผสู้ อนมอบสถานการณป์ ญั หาท่ีพบในชวี ิตประจําวันใหผ้ ู้เรยี นแต่ละกล่มุ โดยแต่ละกลุ่ม
จะไดส้ ถานการณท์ ่ไี ม่ซา้ํ กนั
5. ให้ผู้เรียนเขยี นผังงานเพ่ือแก้ปญั หาท่ีกลุม่ ผ้เู รียนไดร้ ับ
6. ผู้สอนเปน็ ผู้อาํ นวยความสะดวกในการเดินดูผเู้ รยี นรายกล่มุ ใหค้ าํ แนะนําและชว่ ยเหลือนกั เรียน
7. ทดสอบผเู้ รยี นรายบคุ คล
6. การวเิ คราะหข์ ้อมลู
1. การวเิ คราะหข์ ้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft Excel โดยใช้สถิติ ไดแ้ ก่ ค่าเฉลีย่ และร้อยละ
โดยนําคะแนนจากการประเมินตามเกณฑใ์ นการทดสอบแต่ละครง้ั มาคดิ คา่ เฉล่ียและคํานวณเปน็ ร้อยละ
แลว้ เทียบกบั เกณฑ์การประเมินดังน้ี
ร้อยละ 80 ขึน้ ไป หมายความวา่ ดีมาก
ร้อยละ 70 ขึน้ ไป หมายความวา่ ดี
ร้อยละ 60 ขนึ้ ไป หมายความวา่ พอใช้
ตํ่ากวา่ ร้อยละ 60 หมายความว่า ตอ้ งปรบั ปรงุ
ตารางการประเมนิ
รายการประเมนิ ครงั้ ที่ 1 คร้งั ที่ 2 คร้งั ท่ี 3 ครัง้ ท่ี 4 คะแนนเฉลี่ย คดิ เปน็ รอ้ ยละ
การวิเคราะห์โจทย์
ปญั หา
การออกแบบผงั งาน
14
เกณฑ์การประเมิน
รายการ ดมี าก (3) ดี (2) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (0)
ประเมนิ
ผ้เู รยี นสามารถ ผู้เรียนสามารถ ผเู้ รยี นสามารถ ผเู้ รียนสามารถ
การวิเคราะห์ วิเคราะห์ปัญหาและ วิเคราะห์ปญั หาและ
โจทย์ปัญหา วิเคราะหป์ ัญหาและ วเิ คราะหป์ ญั หา เขยี นลาํ ดับขั้นตอน เขียนลําดับข้นั ตอน
การแกป้ ัญหาได้ ผดิ การแกป้ ัญหาได้ ผิด
การออกแบบ เขยี นลาํ ดบั ขน้ั ตอน และเขยี นลาํ ดบั ไม่เกินร้อยละ 50 มากกวา่ ร้อยละ 50
ผังงาน
การแกป้ ัญหาได้ ขน้ั ตอนการ
อยา่ งถูกต้อง แก้ปัญหาได้ ผิดไม่
ครบถว้ น เกนิ รอ้ ยละ 20
ผู้เรียนสามารถ ผเู้ รยี นสามารถ ผเู้ รียนสามารถ ผ้เู รยี นสามารถ
ออกแบบผงั งานได้ ออกแบบผังงานได้ ออกแบบผังงานไดผ้ ิด ออกแบบผงั งานได้ผดิ
อยา่ งถูกต้อง ผดิ ไม่เกนิ ร้อยละ ไม่เกนิ ร้อยละ 50 มากกวา่ ร้อยละ 50
ครบถว้ น 20
2. วเิ คราะหร์ ะดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนดว้ ยการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active
Learning เร่ือง การแสดงอัลกอรทิ ึมดว้ ยผงั งาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยรวมคะแนนแล้ววเิ คราะห์หาค่าเฉล่ยี
นําไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ ซ่ึงเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณคา่
(Rating Scale) โดยใชเ้ กณฑ์การแปลความหมาย ดงั น้ี
ระดับ 5 4.51 – 5.00 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ
ระดบั 4 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก
ระดับ 3 2.51 – 3.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
ระดับ 2 1.51 - 2.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั น้อย
ระดบั 1 1.00 – 1.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ุด
15
7. สถิติท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
หาคา่ สถิติพื้นฐาน ไดแ้ ก่ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนท่ีได้จากการทดสอบ
วดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
1. ร้อยละ (Percentage) โดยใช้สูตร P
5.1.2 ค่าเฉลย่ี (Arithmetic Mean) โดยคํานวณจากสตู ร ดงั น้ี
16
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
พัฒนาทักษะกระบวนการคิด เรื่อง การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน (Flowchart) ด้วยกิจกรรม
การเรียนรู้แบบ Active Learning สําหรับนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 มลี าํ ดบั การนาํ เสนอดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด เรอ่ื ง การแสดงอลั กอรทิ ึมด้วยผังงาน (Flowchart)
ดว้ ยกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4/2
ตารางที่ 1 ผลประเมินการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง การแสดงอลั กอริทึมด้วยผงั งาน (Flowchart)
ลาดับ ชอ่ื –สกลุ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ ด้าน
ท่ี ของนกั เรียน แบบทดสอบ กระบวนการ คุณลักษณะฯ
วดั ทักษะ แบบประเมนิ
1 ด.ช.ทัยวัต วงคส์ วุ รรณ์ การเขียนผงั งาน ใบงาน พฤติกรรม
2 ด.ช.ปภาวนิ ท์ นว่ มฉาํ่ คะแนน ร้อยละ ระดบั คะแนน
3 ด.ช.ภูริ คนั ธริ าช 7 80.00 ระดบั คะแนน
4 ด.ช.จิรวชั ร ดีก่อผล 9 90.00 2 3
5 ด.ช.วิทยา ไตรปกั ษ์ 10 100 3 2
6 ด.ช.ธนภทั ร ฉมิ จิ๋ว 9 90.00 3 3
7 ด.ช.ธีระพล ปุย้ โส 9 90.00 3 3
8 ด.ช.จรี พฒั น์ พันธวงค์ 7 80.00 3 2
9 ด.ช.กิตตพิ งษ์ พรมดาษ 6 70.00 2 3
10 ด.ช.ภวู ดล ตดั ปว่ ง 8 80.00 1 2
11 ด.ช.สทิ ธิเดช บุญส่ง 7 80.00 2 2
12 ด.ญ.เขมิกา กมลเอี่ยม 9 90.00 2 2
13 ด.ญ.ณฐั วรินทร์ พมุ่ เถื่อน 6 60.00 3 2
14 ด.ญ.ธราทพิ ย์ บานเยน็ งาม 10 100 1 2
15 ด.ญ.พันธิตรา ราชมะโรง 10 100 3 3
16 ด.ญ.อรนภิ า สังขท์ อง 10 100 3 3
17 ด.ญ.หทัยทัด วารี 8 90.00 3 3
18 ด.ญ.อลิสา ทัพเสลา 9 90.00 2 3
19 ด.ญ.ณัฐมน ชอ่ รัมย์ 10 100 3 3
20 ด.ญ.จิราภร สะแกนอก 8 80.00 3 3
10 100 2 2
รวม 10 100 3 3
172 86.00 3 3
2.50 2.60
17
ดา้ นความรู้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดา้ นคุณลกั ษณะ ฯ
รอ้ ยละ 70 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นทักษะการทางาน 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดง
พฤติกรรมครบทกุ องคป์ ระกอบ
3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรม 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดง
ครบทกุ องค์ประกอบ พฤติกรรมบางองค์ประกอบ
2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรม 1 คะแนน ไมป่ ฏบิ ัติหรอื แสดง
บางองคป์ ระกอบ พฤติกรรมเลย
1 คะแนน ไม่ปฏบิ ัตหิ รอื แสดง
พฤติกรรมเลย
จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผลการประเมนิ การจัดการเรียนรู้ ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4/2 จาํ นวนท้ังสนิ้
20 คน มผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ 20 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ผลคะแนนเฉลยี่ X = 86.00
- นกั เรียนจํานวน 18 คน มผี ลการประเมิน เรื่อง การแสดงอลั กอริทึมด้วยผังงาน ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป
- นกั เรียนจาํ นวน 2 คน มีผลการประเมนิ เร่ือง การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีต่อการเรยี นดว้ ยกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning
ตารางที่ 2 ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรียนหลงั การเรียนดว้ ยการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
แบบ Active Learning เรอ่ื ง การแสดงอลั กอรทิ ึมดว้ ยผังงาน สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4/2
รายการประเมิน ̅ S.D. ระดับ
ความพงึ พอใจ
1. บรรยากาศของการเรยี นเปิดโอกาสให้นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในการทํากจิ กรรม 4.32 0.7 มาก
2.บรรยากาศของการเรยี นทําใหน้ กั เรยี นมคี วามกระตือรือรน้ ในการเรยี น 4.55 0.6 มากที่สดุ
3.เรื่องทีเ่ รียนเกี่ยวข้องกบั ชวี ิตประจาํ วันจงึ สามารถนาํ ความร้ไู ปใช้ใน 4.75 0.4 มากทสี่ ุด
ชีวิตประจาํ วนั ได้
4.มกี ารสร้างความเข้าใจเก่ยี วกบั วัตถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายของการ 4.57 0.5 มากที่สดุ
จัดการเรียนการสอน
5.ใชว้ ธิ ีการสอนหลากหลาย และเหมาะสมกบั เนื้อหาวชิ าทเ่ี รียน 4.61 0.5 มากท่ีสดุ
6. มกี ารใช้ส่ือในการสอน เพอ่ื ส่งเสริมการเรยี นรใู้ หมแ่ กน่ ักเรยี น 4.50 0.6 มากท่ีสุด
อยา่ งเหมาะสม
7.มกี จิ กรรมการเรียนการสอนสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนได้พัฒนาการคดิ ไดอ้ ภิปราย 4.45 0.6 มาก
ซกั ถามและแสดงความคิดเห็น
8.การจัดการเรยี นรู้ช่วยให้นักเรียนสร้างความรู้ ความเขา้ ใจดว้ ยตนเองได้ 4.50 0.6 มากทีส่ ดุ
9.มีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมใหน้ กั เรยี นมีความรแู้ ละ 4.36 0.7 มาก
ทกั ษะในการนาํ ไปปฏบิ ัติไดจ้ รงิ
10. . กจิ กรรมการเรยี นการสอนน้ีทาํ ใหไ้ ดท้ าํ งานรว่ มกับผู้อน่ื 4.61 0.5 มากทส่ี ดุ
รวม 4.52 0.57 มากท่สี ุด
จากตารางท่ี 2 พบว่า ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นพบว่า โดยรวมอยใู่ นระดับพึงพอใจมาก
ท่ีสดุ โดยมคี ่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.52 และมีสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.57
18
บทท่ี 5
สรุปผลการวิจัย
5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย
1. ผลการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ เรื่อง การแสดงอัลกอริทึมดว้ ยผังงาน (Flowchart)
ด้วยกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning สําหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า ผลการประเมนิ
การจัดการเรียนรู้ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4/2 จาํ นวนทั้งสนิ้ 20 คน มผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์ 20 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 100 ผลคะแนนเฉล่ีย X = 86.00 นักเรียนจํานวน 18 คน มผี ลการประเมินร้อยละ 80 ข้นึ ไป
นกั เรยี นจาํ นวน 2 คน มผี ลการประเมนิ ร้อยละ 70 ขน้ึ ไป
2. ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนหลงั การเรียนด้วยการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active
Learning เรอ่ื ง การแสดงอลั กอรทิ ึมดว้ ยผงั งาน สาํ หรบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ในภาพรวมอยู่ในระดบั
พึงพอใจมากท่ีสดุ มคี ่าเฉล่ีย ( X = 4.52 , S.D. = 0.57 )
5.2 อภปิ รายผล
จากการดาํ เนนิ งานวจิ ัยการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ เร่อื ง การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน
(Flowchart) สําหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active learning
รายวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 พบวา่ หลังจากจดั กจิ กรรม
การเรยี นรู้แบบ Active Learning สง่ ผลให้ผู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการทํากิจกรรมตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง กล้าแสดงออก
ไดฝ้ กึ กระบวนการคิด การวเิ คราะห์ และสามารถเขยี นถา่ ยทอดออกมาเปน็ ผังงาน ผู้เรยี นมีสมาธิ และมีความ
มุง่ มั่นตั้งใจในเนอ้ื หาบทเรยี นเพมิ่ มากขึ้น ส่งผลต่อผลสมั ฤทธแ์ิ ละคะแนนเฉลย่ี โดยนักเรียนทุกคนมีผลสมั ฤทธ์ิ
ผา่ นเกณฑ์ ซ่ึงจะเห็นไดว้ ่าการจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning นัน้ สง่ ผลดตี ่อผู้เรยี นโดยตรง
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ปัญหาหรือคาํ ถามท่ีจะมอบหมายเปน็ ประเด็นให้ผเู้ รียน ควรตง้ั ปญั หาทท่ี า้ ทายและเก่ียวขอ้ งกบั
ชีวติ ประจําวันของผเู้ รยี น เพ่ือกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนสนใจและเห็นถึงความสาํ คัญของเนื้อหาที่สอน
2. หากมีสถานท่ีและเวลาทเี่ หมาะสม นอกจากการต้ังปัญหาโดยใชใ้ บงาน ควรสร้างปญั หาหรอื
สถานการณ์ทห่ี ลากหลาย และควรเพิ่มกจิ กรรมให้ผูเ้ รยี นได้เคลอ่ื นไหวรา่ งกายมากขึน้
3. การจบั กลมุ่ ควรหมุนเวียนบา้ ง อาจใชก้ ารจบั กลุม่ แบบสุ่มหรือการคละความสามารถของผู้เรียน
เพ่อื ใหเ้ กิดกระบวนการกลุ่มท่ีหลากหลาย การได้ทาํ งานร่วมกับหลายบคุ คล ทําให้ไดพ้ บกับประสบการณ์
ทแ่ี ตกต่างกัน
19
บรรณานกุ รม
คณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ, ส านักงาน. (2545). พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: บรษิ ัทพรกิ หวานกราฟฟคิ จํากดั .
เดชดนยั จุยชมุ , เกษรา บาวแชมชอย, และศริ ิกัญญา แกนทอง. (2559). การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
เรอ่ื ง ทักษะการคิดของนกั ศึกษาในรายวชิ าทกั ษะการคดิ (Thinking Skills) รหสั วิชา 11-024-112
ประจําภาคเรยี นที่1 ปการศึกษา 2558 ด้วยการเรยี นรแู บบมสี ่วนร่วม (Active Learning).นราธวิ าส:
คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนราธวิ าสราชนครินทร.
เมษ ทรงอาจ. (2558). รูปแบบการเรยี นการสอน รายวิชาจิตวทิ ยาสาํ หรบั ครู(200 204) โดยใชก้ ารสอน
แบบมีส่วนร่วมของนิสิตปริญญาตรมี หาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ .
ขอนแก่น: คณะครุศาสตร์มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วทิ วสั ดวงภมุ เมศ. (2560). การจัดการเรยี นร้ใู นยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ดว้ ยการเรียนรู้อยา่ งกระตือรือร้น Learning
Management in Thailand 4.0 with Active Learning. วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
บัณฑิตวทิ ยาลยั , 11(2), 1-14.
สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). คณุ ภาพผูเ้ รยี น เกดิ จากกระบวนการเรียนร.ู้ สระแก้ว: คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร
มหาวทิ ยาลยั บูรพา วทิ ยาเขตสระแก้ว.
ณฏั ฐวฒุ ิทรัพย์อุปถัมภ.์ (2553).การจัดการเรยี นแบบใฝ่รู้ (Activc Learning) ที่มีผลต่อพฤติกรรมการเรยี นรู้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพงึ พอใจในการเรียนรายวิชาภูมปิ ัญญาไทย เพอื่ การพฒั นา
คุณภาพชวี ติ (0021311) ของนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราํ ไพพรรณี.
รายงานวจิ ัยคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราํ ไพพรรณ.ี
ณัฐธรี ์ เรขะพรประสิทธ์ิ.(2555).การประยุกต์ใชท้ ฤษฎกี ระบวนการเรยี นรกู้ ระตือรือร้นในการออกแบบ
และพฒั นาเคร่อื งมือสื่อบทเรียนอเิ ล็กนิกส์แบบออนไลนส์ ําหรบั วิชาความร้เู บือ้ งตน้ เกย่ี วกับทฤษฎี
พัสดคุ งคลงั .ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ.
ญาณญั ฎา ศิรภัทรธ์ าดา.(2553).การพฒั นาพฤติกรรมการเรียนและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักศึกษา
ในการเรยี นวชิ าหลกั การตลาดโดยการสอบแบบมสี ว่ นร่วม (Active Learning). รายงานวจิ ยั
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ทิศนา แขมมณี. (2548).การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้การวจิ ยั เป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการเรียนรู้.กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
20
ภาคผนวก
21
แบบทดสอบวัดทักษะการเขยี นผงั งาน
คาชีแ้ จง ให้นักเรียนพิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปนี้ เรียงลําดบั ขอ้ ความใหถ้ กู ต้อง
กิจกรรมที่ 1 รปู แบบโครงสรา้ ง........................................................................................................
22
กิจกรรมท่ี 2 รปู แบบโครงสรา้ ง........................................................................................................
23
เฉลย
ใบกจิ กรรมเร่ือง การเดินทางดว้ ยแผนผัง
คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ เรยี งลําดับขอ้ ความให้ถกู ต้อง
กิจกรรมที่ 1 รปู แบบโครงสรา้ ง.....เ.ร..ีย..ง..ล..า..ด..ับ......................................................................................
เร่มิ ตน้
ตื่นนอน
แปรงฟัน
อาบน้า
เชด็ ตัว
แต่งตวั
ทานอาหารเชา้
เดนิ ทางไปโรงเรียน
ถงึ โรงเรยี น
จบ
24
กจิ กรรมที่ 2 รูปแบบโครงสร้าง......ท..า..ง..เ.ล..ือ..ก.......................................................................................
เริม่ ต้น
ออกจากบา้ น
รอรถประจาทาง
มี ไมม่ ี
มีรถหรอื ไม่
ขนึ้ รถ เรยี กแท็กซ่ี
ขึ้นแทก็ ซ่ี
ลงปา้ ยรถประจาทาง
เดินเขา้ ซอย
ถึงบา้ นคุณยาย
25
ใบกิจกรรมกลมุ่
26
ตวั อย่างใบงานนักเรยี น
27
ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน
28