ก
คำนำ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 มาตรา 48 กำหนดให้หน่วยงานต้น
สังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพ
ภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ตรัง ได้ดำเนินการตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 จำนวน 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน
สัมพันธ์และเชื่อมโยงกับการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จำนวน 5 ด้าน ซึ่งเป็น
มาตรฐานที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนดไว้เป็นกรอบหรือแนวทางในการดำเนินงานของ
สถานศึกษาในสงั กัด ปีการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยฯ ได้กำหนดมาตรฐานสถานศึกษาตามแนวทางมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา พ.ศ.2561 จำนวน 3 มาตรฐาน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่กำหนด โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ เทคโนโลยี รวมท้ัง คา่ นยิ ม คุณธรรมจริยธรรม
รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report) ประจำปีการศึกษา 2563 ฉบับน้ี
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในรอบปีตาม
มาตรฐานสถานศึกษา ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของ
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ 3 ประเด็นการประเมิน มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา 4
ประเด็นการประเมิน มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2 ประเด็นการประเมิน ซึ่งเชื่อมโยงกับ
คณุ ภาพของสถานศึกษา 5 ด้าน 25 ขอ้ การประเมินดังน้ี ด้านผเู้ รยี นและผูส้ ำเร็จการศึกษา ดา้ นหลักสูตรและ
การจัดการเรียนการสอน ด้านครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการมีส่วนร่วมและด้านปัจจัยพื้นฐาน
โดยใช้กรอบและเกณฑ์การประเมนิ ตามท่สี ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากำหนด เปน็ แนวทางในการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการภายในและการบริการชุมชน ทั้งนี้เพื่อนำผลการ
ประเมินไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาต่อไป
รายงานการประเมนิ ตนเองฉบับนี้ เป็นการรายงานผลการดำเนนิ งานตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และ
ชุมชนท่เี กี่ยวข้องกบั การจดั การศึกษาของวทิ ยาลยั ฯ และใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาสถานศึกษาให้ดยี ง่ิ ข้ึน
ต่อไป
(นายเจษฎา ธนะสถิตย์)
ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรงั
ข
สารบญั หน้า
ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง 1
สว่ นท่ี ๑ บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ าร 6
สว่ นท่ี ๒ ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา 25
ส่วนท่ี ๓ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 28
สว่ นที่ ๔ รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 44
สว่ นที่ ๕ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
51
พ.ศ.๒๕๖๑
สว่ นท่ี ๖ ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามบรบิ ทของสถานศึกษา 52
55
ท่กี ำหนดเพิ่มเติม (ถ้าม)ี 56
ส่วนที่ ๗ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 57
ภาคผนวก
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจำปีการศึกษา 2563
คำสง่ั แต่งตัง้ คณะกรรมการดำเนินงานการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
ประจำปกี ารศึกษา 2563
สารบัญตาราง ค
ตารางท่ี ๑ ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ี ๑ หน้า
ในแต่ละประเด็นการประเมิน 44
46
ตารางท่ี ๒ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ ๑ 49
ในแตล่ ะประเด็นการประเมิน 50
ตารางที่ ๓ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานที่ ๑
ในแต่ละประเด็นการประเมิน
ตารางที่ ๔ สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพทางการศึกษาของสถานศึกษาโดยรวม
1
ส่วนท่ี 1
บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหาร
การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ประกอบดว้ ยการสรุป
สาระสำคญั ดงั น้ี
1. การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาใน
รอบปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ประกอบด้วย
1.1 ผลสัมฤทธิ์
จากผลการประเมนิ ตนเองตามหลกั เกณฑ์ของการประกันคุณภาพการจัดการอาชวี ศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จำนวน ๓
มาตรฐาน ตามระดบั การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ดังน้ี
มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของผสู้ ำเร็จการศึกษาอาชวี ศึกษาที่พึงประสงค์
ดา้ นความรู้ รอ้ ยละ 86.96 ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม
ดา้ นทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้ รอ้ ยละ 92.00 ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ด้านความรู้
ร้อยละ 93.68 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานที่ ๒ การจดั การอาชวี ศึกษา
ดา้ นหลกั สูตรอาชีวศึกษา ร้อยละ 100.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม
ด้านการจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษา
ร้อยละ97.65 ระดบั คุณภาพ ยอดเยยี่ ม
ด้านการบรหิ ารจดั การ ร้อยละ 87.69 ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม
ด้านการนำนโยบายสกู่ ารปฏิบตั ิ รอ้ ยละ 80.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ ๓ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ด้านความรว่ มมือในการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
ร้อยละ 88.89 ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม
ดา้ นนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั
ร้อยละ 60.00 ระดบั คุณภาพ ดี
2
สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพทางการศึกษาของสถานศกึ ษา ร้อยละ 87.43 ระดับคุณภาพ ยอดเยยี่ ม
1.1.1 ผลผลติ (Output)
ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำนวน ๙๕ คนจำแนกเป็น ระดับ ปวช.
๔๖ คน ระดับ ปวส. ๔๙ คน ซึ่งเมือ่ เทยี บกบั จำนวนนักเรยี นนักศกึ ษาแรกเข้าคิดเป็นร้อยละ ๖๕.๕๑ อยใู่ น
เกณฑ์ ดี และ ผู้เรยี นที่ผา่ นการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพอาชวี ศึกษา คิดเป็นร้อยละ 81.37 อยูใ่ นเกณฑ์
ยอดเย่ียม
๑.๑.๒ ผลลพั ธ์ (Outcome)
ผสู้ ำเร็จการศกึ ษา ระดับ ปวช. และระดบั ปวส. ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ มงี านทำ
ในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอสิ ระ หรือ ศึกษาตอ่ จำนวน 102 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00
๑.๑.๓ ผลสะท้อน (Impact)
ผู้สำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปวช.และ ปวส. ในปกี ารศึกษา 2562 มงี านทำใน
สถานประกอบการ หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน ผลการประเมินระดบั ความพึงพอใจ อยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม
1.2 จดุ เดน่
๑.๒.๑ ในการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยตี รัง ได้เชญิ
ผทู้ รงคณุ วุฒจิ ากสถานประกอบการที่เป็นผู้มีความเชีย่ วชาญเฉพาะสาขาวชิ า/สาขางานและมชี ือ่ เสียงเป็นท่ี
ยอมรบั ในสาขางานนัน้ ๆ มาเปน็ คณะกรรมการร่วมประเมิน
๑.๒.๒ มีสถาบนั การศกึ ษาเฉพาะทางรองรับผู้สำเรจ็ การศึกษาเพ่ือการศึกษาต่อ ตลอดจน
มสี ถานประกอบการรองรบั ผู้สำเร็จการศึกษา เนอื่ งจากมีคุณสมบัติดา้ นทักษะปฏบิ ตั ิ มีความรู้ความสามารถ
พรอ้ มเข้าทำงาน
๑.๒.๓ สถานศึกษามกี ระบวนการในการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมและพฒั นาภาวะผนู้ ำ
ของผู้เรยี น โดยใชก้ ระบวนการ “เรียนรูด้ ้วยงานการฝกึ หัด ปฏิบตั ิเพอ่ื หวังทางศึกษา หาเล้ียงชีพเพื่อชีวติ
พัฒนา ใช้วชิ าบรกิ ารงานสงั คม” ขององค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
สมเดจ็ พระเทพพระรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มาพฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ ป็นคนดี
1.3 จดุ ทคี่ วรพฒั นา
ควรนำเทคโนโลยสี มยั ใหม่ เข้ามาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนและการพัฒนาระบบการ
บรหิ ารจัดการงานฟารม์ เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง และมุง่ เน้นผลติ และพัฒนากำลงั พลตาม
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ โดยม่งุ เน้นผลติ ผู้สำเร็จการศึกษาภาคเกษตร ใหเ้ ปน็ เกษตรกรยุคใหม่
"เกษตร ๔.๐"
3
1.4 ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
๑.๔.๑ การพัฒนาหลักสูตรทางภาคเกษตรทงั้ ต้นนำ้ กลางน้ำ และปลายนำ้ โดยนำ
เทคโนโลยีสมยั ใหม่มาใช้ เช่น การนำระบบ IoT (Internet of Thing) เพื่อการเกษตร มาใช้กับระบบการ
จดั การงานฟารม์ ระบบการจัดการฐานข้อมลู เพื่อประมวลผลทางสถติ ิของการบริหารงานฟาร์มใหเ้ กิด
ประสทิ ธิภาพ
๑.๔.๒ การขับเคลอื่ นและสนับสนนุ เกษตรกรในชมุ ชน ในการผลติ ผลผลิตทางการเกษตร
เข้าสมู่ าตรฐานเกษตรปลอดภัยและมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
2. การสรา้ งความเช่อื มน่ั ให้แกผ่ ู้ทม่ี สี ่วนเกยี่ วขอ้ ง
สถานศกึ ษามีการสรา้ งความเชอ่ื มัน่ ใหก้ บั ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง โดยจำแนกเป็น ๓ ดา้ น ดังน้ี
๒.๑ การสรา้ งความเชื่อม่นั ให้แกผ่ ูป้ กครอง
โดยใช้ระบบดแู ลผูเ้ รยี นตามโครงการแกป้ ัญหาการออกกลางคนั การสนับสนนุ
ทุนการศึกษาใหแ้ กผ่ ้เู รยี นที่มีฐานะยากจน เรยี นดี และบริการสังคมดเี ดน่ ท้ังทนุ การศึกษาตอ่ เนื่องจนถึง
ระดับปรญิ ญาตรี และ ทุนการศกึ ษาอื่นทสี่ นับสนนุ ในชว่ งระยะเวลาสน้ั ๆ โดยแหล่งทุนทีร่ ะดมจากท้ัง
ภาครัฐและเอกชน
๒.๒ การสร้างความเชื่อมน่ั ให้แกส่ ถานประกอบการและสถานศึกษา
โดยมกี ารจดั การเรียนการสอนท่ีมุง่ เน้นสมรรถนะ เพ่ือให้ผู้เรยี นมคี วามพร้อมในการศกึ ษา
ตอ่ และมีงานทำ มีการเตรยี มความพร้อมให้กบั นักเรยี นนักศึกษากอ่ นออกฝกึ งาน ใหม้ ที ักษะเบ้ืองตน้ การ
นิเทศติดตามระหว่างการฝึกงาน และการทดสอบสมรรถนะ หลงั การฝกึ งาน
๒.๓ การสรา้ งความเชือ่ ม่นั ให้แกช่ มุ ชนและประชาชนท่วั ไป
สถานศกึ ษามีการออกหนว่ ยใหบ้ รกิ ารชุมชน ท้งั ในด้านการบรกิ ารทางวิชาการ การ
บริการทางดา้ นวชิ าชีพ และร่วมกบั ชุมชนในเขตพื้นท่รี ับผดิ ชอบในการทำกิจกรรมจติ อาสา ผ่านโครงการ
Fix It Center
3. การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่บี รรลเุ ปา้ ประสงคข์ องหน่วยงานตน้ สงั กัด
เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ป้าประสงคข์ องหน่วยงานตน้ สังกดั วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยตี รงั ไดจ้ ัด
การศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบดว้ ย มาตรฐาน ๓ มาตรฐาน ๙ ประเด็นการ
ประเมิน
4
4. การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาท่เี ป็นแบบอยา่ งทด่ี ี (Best Practice)
ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี (Best Practice) วทิ ยาลยั
เกษตรและเทคโนโลยีตรัง ได้ดำเนนิ โครงการปรบั ปรุงและพฒั นาระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรข์ องวิทยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยตี รงั ประกอบด้วยรายละเอียด ดงั น้ี
4.1 ความเปน็ มาและความสำคญั
เนื่องจาก ปัจจุบัน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของวิทยาลัยฯ อยู่ในสภาพเก่าและชำรดุ
อปุ กรณ์เครอื ข่ายบางตัวผ่านการซอ่ มบำรงุ มาหลายครัง้ ตลอดจนอปุ กรณไ์ ม่รองรับการใช้งานกับระบบงานที่
เพิ่มขึ้น รวมถึงระบบเครือข่ายไม่ครอบคลุมพื้นที่การใช้งานภายในวิทยาลัย ซึ่งส่งผลต่อระบบการบริหาร
จัดการ การจัดการเรียนการสอน และการจัดการข้อมูลสารสนเทศ ประกอบกับ ในสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึง
อยู่ในภาวะการแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-๑๙ การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนระบบการบริหารจัดการ
จำเป็นต้องปรับให้มีความเหมาะสม เช่น การจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์ ดังนั้น จึงมีความ
จำเป็นต้องปรับปรุงและพฒั นาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธภิ าพและขยายพื้นท่ีการให้บริการที่
ครอบคลุมการใช้งานภายในวิทยาลัยฯ ตลอดจน มีระบบความปลอดภัยจากภัยคุกคามระบบเครือข่ายจาก
ภายนอก มีการตรวจสอบสถานะ และบริหารจัดการทรัพยากรเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รองรับ
เทคโนโลยใี หมๆ่ รวมทั้งรองรบั การขยายตวั ของการใชง้ านและระบบงานท่เี พ่ิมขน้ึ ในอนาคต
4.2 วตั ถุประสงค์
๔.๒.๑ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบโครงสร้างพืน้ ฐานด้านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ของ
วทิ ยาลยั ฯ
๔.๒.๒ เพ่ือปอ้ งกนั และรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่ายเทคโนโลยแี ละข้อมูล
สารสนเทศของวทิ ยาลยั ฯ
๔.๒.๓ เพอื่ ตรวจสอบสถานะและบริหารจดั การทรัพยากรเครือข่ายได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
4.3 กรอบแนวคิด (ถา้ ม)ี
ระบบการบริหารจดั การทดี่ ี - การดำเนนิ งานที่มีประสิทธภิ าพ
- ความพงึ พอใจของผใู้ ช้บรกิ ารดีข้ึน
- ความปลอดภัยของระบบมากข้ึน
5
4.4 วธิ กี ารดำเนนิ งาน
๔.๔.๑ สำรวจและประเมินรายการวัสดุ อปุ กรณ์ และกำหนดจุดติดต้ัง
๔.๔.๒ ดำเนินการจัดซื้อ/จดั จา้ ง ตามรายการทีป่ ระเมนิ
๔.๔.๓ ดำเนนิ การตดิ ตง้ั อปุ กรณ์ และ System Configuration
๔.๔.๒ ตรวจสอบผลการดำเนินงาน
4.5 ผลการดำเนินงาน
ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรข์ องวิทยาลยั ฯ เป็นระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ครอบคลุม
พนื้ ทีใ่ ช้งานของสถานศึกษา 1,600 Mbps โดยมกี ารใชบ้ ริการหลัก 2 เส้นทาง ไดแ้ ก่ ผใู้ ห้บรกิ าร UniNET
ความเร็ว 1,000/1,000 Mbps และผู้ให้บริการ TOT ความเร็ว 600/600 Mbps มีระบบผู้รับผิดชอบ
ดูแล และบริหารจัดการข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล ระบบความปลอดภัยในการจัดเก็บและใช้ข้อมูล มีระบบ
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ครอบคลุมพื้นที่ใช้งานภายในสถานศึกษา มีระบบสารสนเทศเชื่อมโยงการบริหาร
จัดการภายนอกสถานศึกษา และ มีคะแนนการประเมินความพึงพอใจ 4.68 ผลการประเมินอยู่ในระดับ
ยอดเยยี่ ม
4.6 ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ
๔.๖.๑ ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรข์ องวิทยาลยั ฯ สามารถใชง้ านได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
มีขอบข่ายการใหบ้ ริการครอบคลมุ พืน้ ที่การใชง้ านไดต้ ามที่กำหนด
๔.๖.๒ ระบเทคโนโลยแี ละข้อมลู สารสนเทศของวิทยาลัยฯ มคี วามปลอดภยั ต่อการใช้งาน
๔.๖.๑ สามารถตรวจสอบสถานะและบรหิ ารจัดการทรัพยากรเครือข่ายไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รองรับเทคโนโลยใี หมๆ่ และการขยายตัวของการใชง้ าน
6
สว่ นท่ี 2
ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา
ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ยสาระทีส่ ำคัญ ดังน้ี
2.1 ขอ้ มูลเก่ยี วกบั สถานศกึ ษา
2.1.1 ทต่ี ัง้
ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง ที่อยู่ 99 หมู่ 7 ต.นาท่ามเหนือ อ.เมือง
ตรัง จ.ตรัง รหสั ไปรษณยี ์ 92190 โทรศพั ท์ 075-284152 โทรสาร 075-284039 E-mail
[email protected]
2.1.2 ประวัติสถานศกึ ษา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2478 เป็นโรงเรียน
ประถมวิสามัญเกษตรกรรม เปิดสอนหลักสูตรวิสามัญเกษตรกรรม ในปี พ.ศ.2480 กระทรวงศึกษาธิการ
ได้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดขึ้นในโรงเรียนประถมวิส ามัญเกษตรกรรมอีกแผนกหน่ึง
และได้เปล่ียนช่อื เปน็ โรงเรยี นเกษตรกรรมตรงั ในปี พ.ศ. 2481 เปิดสอนในระดับประโยคมัธยมอาชีวศึกษา
ตอนต้น (แผนกเกษตรกรรม) โดยรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมปีที่ 4 เข้าศึกษาต่อ 2 ปี ในปี พ.ศ.
2496 เปิดสอนระดับอาชีวศึกษาตอนปลาย (แผนกเกษตรกรรม) โดยรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น (แผนกเกษตรกรรม) และผู้ที่สำเร็จมัธยมปีที่ 3 (ม.3 เดิม) เข้าศึกษาต่อ 2 ปี ต่อมา
พ.ศ.2507 เปิดสอนระดับมัธยมตอนปลายสายอาชีพ (แผนกเกษตรกรรม) โดยรับผู้สำเร็จการศึกษาช้ัน
มธั ยมอาชวี ศึกษาตอนปลาย (แผนกเกษตรกรรม) และผูท้ สี่ ำเรจ็ ชน้ั มธั ยมปที ่ี 6 (ม.6 เดิม) เขา้ เรยี นตอ่ อีก 3
ปี และงดรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาประถมปีที่ 4 (ป.4) เข้าเรียนประโยคอาชีวศึกษาตอนต้น (เกษตรต้น) ปี
พ.ศ.2518 เปิดสอนหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ.4, 5) แผนกเกษตรกรรมแทนหลักสูตรประโยค
มธั ยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ แผนกเกษตรกรรม ปี พ.ศ.2519 เปดิ สอนหลักสตู รระดบั ประกาศนียบัตร
วิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) แผนกเกษตรกรรม โดยรับผู้สำเร็จการศึกษาช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายอาชพี แผนก
เกษตรกรรม (ม.ศ.6 เกษตรกรรม)
ปี พ.ศ.2520 ได้ยกวทิ ยฐานะเปน็ วทิ ยาลยั เกษตรกรรมตรงั เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบตั ร
วชิ าชพี (ปวช.) แผนกเกษตรกรรม แทนหลักสตู ร ม.ศ. 6 เกษตรกรรม และเปิดสอนการศึกษาพิเศษ (นอก
ระบบ) โดยหน่วยฝกึ อบรมวชิ าชพี เกษตรกรรมเคลื่อนที่และเปิดสอนหลักสตู รฝกึ วิชาชพี เกษตรกรรมระยะ
สั้นในปี พ.ศ.2521
7
ต่อมา ในปี พ.ศ.2527 เปิดสอนหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี เทคนิค (ปวท.) แผนกวิชาชพี
เกษตรกรรม สาขาไมผ้ ล–ไมย้ ืนตน้ และสาขาพชื ไร่ ในปี พ.ศ.2531 เปดิ สอนหลกั สตู รประกาศนียบัตร
วชิ าชพี พิเศษ (ปวช.พเิ ศษ) ตามโครงการอาชวี ศกึ ษาเพ่ือแก้ปัญหาความยากจนในชนบท (อศ.กช.) ซึ่งต่อมา
เปลยี่ นช่อื เป็นอาชีวศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาชนบท
ปี พ.ศ.2538 ไดจ้ ัดตง้ั วิทยาลยั ชมุ ชนสิทธไิ ชยภักดใี นวทิ ยาลยั เกษตรกรรมตรังอกี สถานศกึ ษาหนงึ่
เพอื่ ดำเนินการสอนหลักสูตรนอกเหนือจากประเภทวชิ าชพี เกษตรกรรม โดยได้เปิดสอนระดบั
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม และประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สงู (ปวส.)
ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกจิ
พ.ศ.2539 เปิดสอนหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี เกษตรกรรม ตามโครงการปฏริ ูปการศกึ ษา
เกษตรเพ่อื ชีวติ ภายใตน้ โยบาย “เรียนฟรี อยู่ประจำ ทำโครงการ” ในปี พ.ศ.2539 ได้เปลย่ี นชอ่ื เป็น
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยตี รงั ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ที่ 26 กนั ยายน พ.ศ. 2539
จนถงึ ปัจจุบนั
ในปี พ.ศ. 2543 ไดเ้ ปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ประเภทวชิ าคหกรรม สาขาวชิ า
อาหารและโภชนาการ และในปี พ.ศ. 2546 เปิดสอนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ สูง (ปวส.)
ประเภทวชิ าคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขางานธุรกจิ อาหาร
2.1.3 การจัดการศึกษา
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยตี รงั จัดการเรียนการสอน 2 ระบบ คอื
1. การจัดการศึกษาในระบบ
1.1 หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562
1.1.1 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม
- สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- สาขางานการเกษตร
- สาขางานการผลติ พืช
- สาขางานการผลติ สตั ว์
- สาขางานธรุ กจิ เกษตร
- สาขางานอตุ สาหกรรมเกษตร
- สาขางานผลติ สตั ว์น้ำ
1.1.2 ประเภทวิชาคหกรรม
- สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ
- สาขางานอาหารและโภชนาการ
8
1.1.3 ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม/บรหิ ารธุรกิจ
- สาขาวชิ าการบญั ชี
- สาขางานการบัญชี
- สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
- สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ
1.2 หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู พุทธศักราช 2563
1.2.1 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม
- สาขาวชิ าพชื ศาสตร์
- สาขางานพชื สวน
- สาขาวิชาสัตวศาสตร์
- สาขางานการผลติ สัตว์
- สาขาวิชาเทคโนโลยภี ูมทิ ศั น์
- สาขางานเทคโนโลยภี ูมิทศั น์ (ทวิภาค)ี
- สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- สาขางานเกษตรศาสตร์
1.2.2 ประเภทวชิ าประมง
- สาขาวิชาเพาะเล้ยี งสตั ว์น้ำ
- สาขางานเพาะเลยี้ งสตั วน์ ้ำ
1.2.3 ประเภทวิชาคหกรรม
- สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ
- สาขางานอาหารและโภชนาการ (ทวิภาคี)
1.2.4 ประเภทวชิ าพาณิชกรรม/บริหารธรุ กิจ
- สาขาวิชาการบญั ชี
- สาขางานการบญั ชี
- สาขางานคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ
2. การจัดการศึกษานอกระบบ
2.1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสำหรับโครงการอาชีวศึกษาเพื่อการ
พัฒนาชนบท (อศ.กช.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขางานเกษตรศาสตร์
2.2 การบริการชุมชนในดา้ นวชิ าชพี และดา้ นตา่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ กษตรกรและประชาชน
ผูส้ นใจทัว่ ไป สามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชพี ในท้องถ่นิ และชมุ ชนของตนเองได้ เช่น หลักสตู รระยะ
สั้น โครงการขับเคล่ือนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการ Fix It Center และโครงการ 108
อาชพี เป็นต้น
9
2.1.4 สภาพชมุ ชน เศรษฐกิจ และสงั คมของสถานศึกษา
สภาพชมุ ชน
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ 7 ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมือง
จงั หวัดตรัง รหสั ไปรษณยี ์ 92190 มีเนื้อท่ี 2,384 ไร่ ด้านหนา้ วิทยาลัยฯ ตดิ กับถนนเพชรเกษม ห่างจาก
ตัวจังหวัดตรัง 13 กิโลเมตร ทิศเหนือติดกับตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ทิศใต้ติดกับชุมชน
บ้านคลองเต็ง และชุมชนบ้านนานอน อยู่ในเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล
นาท่ามเหนอื ประชาชนสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม
สภาพเศรษฐกจิ
ประชาชนในพื้นที่บริเวณโดยรอบวิทยาลัยฯ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การ
ทำสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน สวนผลไม้ เลี้ยงสัตว์ และประกอบอาชีพรับจ้างในภาคเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม บางส่วนประกอบอาชีพทั้งภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมควบคู่กัน ในส่วนของ
วิทยาลัยฯ ได้มีส่วนช่วยชุมชนทางด้านเศรษฐกิจ โดยจัดบริการเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การ
ฝกึ อบรมวิชาชีพเกษตรกรรมระยะส้ัน การฝึกอบรมโครงการ 108 อาชีพ ให้บรกิ ารศนู ยซ์ ่อมสรา้ งเพ่ือชุมชน
(Fix It Center) ตลอดจนพื้นที่ของวิทยาลัยที่มีขนาดใหญ่ ส่วนหนึ่งจัดเป็นพื้นที่ป่าสงวนที่ยังมีความอุดม
สมบูรณ์ ประมาณ 700 ไร่ ซึ่งประชาชนโดยรอบสามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ และพักผ่อนได้ และพื้นที่อีก
ประมาณ 384 ไร่ โครงการชัยพัฒนาได้ขอใช้พื้นที่เป็นแปลงทดลอง เพื่อรวบรวมข้อมูลในการเผยแพร่
ความรู้ทางการเกษตรให้กบั ประชาชนต่อไปได้ พ้นื ท่ีสว่ นท่เี หลอื วิทยาลัยฯ ไดด้ ำเนินการจดั ทำแปลงปาล์ม
น้ำมัน แปลงยางพารา แปลงไม้ผล และฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านงานฟาร์ม และจัดสรรพื้นที่
ประมาณ 5 ไร่ เป็นศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตรผสมผสาน ซึ่งสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตรที่ดี
ใหก้ บั นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชนทัว่ ไปในการนำไปปรบั ใชก้ ับการประกอบอาชพี ต่อไปได้
สภาพสังคม
ชมุ ชนโดยรอบวิทยาลัยฯ จัดเปน็ ชุมชนกึ่งเมืองกงึ่ ชนบท ความสัมพนั ธเ์ ชงิ สังคมระหว่างวิทยาลัย
ฯ กับชุมชนโดยรอบในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยวิทยาลัยฯ มีส่วนร่วมและช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ ของ
ชุมชนอย่างสม่ำเสมอ อาทิ เช่น การทำบุญทอดกฐิน การทำบุญแห่เทียนพรรษา การจัดงานประเพณีต่างๆ
รว่ มกบั ชมุ ชน การจัดกจิ กรรมพฒั นาชมุ ชนในพน้ื ที่ต่างๆ
10
2.1 แผนภมู ิบรหิ ารสถานศึกษา
2.3 ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสถานศกึ ษา
2.3.1 ข้อมลู ดา้ นผ้เู รียนและผู้สำเรจ็ การศึกษา
ข้อมูลผู้เรียน ปีการศึกษา 2563
ระดบั ชั้น ปกติ ทวภิ าคี ทวิศึกษา รวม
0 46
ปวช.1 46 0 0 55
ปวช.2 55 0 0 57
ปวช.3 57 0 0 158
รวม ปวช. 158 0
11
ระดบั ช้ัน ปกติ ทวิภาคี รวม
ปวส.1 98 22 120
ปวส.2 34 24 58
รวม ปวส. 132 46 178
ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา แรกเขา้ สำเรจ็ การศึกษา มีงานทำ หรือศึกษาต่อ
ปีการศกึ ษา 2562 74 40 40
ระดับชั้น 75 62 62
149 102 102
ปวช.3
ปวส.2
รวม
ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา แรกเขา้ สำเร็จการศกึ ษา
ปกี ารศึกษา 2563 46
49
ระดับชัน้ 95
ปวช.3 80
ปวส.2 65
รวม 145
12
2.3.2 ดา้ นบุคลากรของสถานศกึ ษา
ข้อมูลบุคลากร ปีการศึกษา 2563
ประเภท ท้ังหมด มีใบประกอบวิชาชีพ สอนตรงสาขา
ผู้บรหิ าร/ ผูร้ ับใบอนญุ าตผจู้ ัดการ/ (คน) (คน) (คน)
ผอู้ ำนวยการ/ รองผู้อำนวยการ/ ผูช้ ่วย
ผู้อำนวยการ 33 -
ขา้ ราชการคร/ู ครเู อกชนที่ได้รบั การบรรจ/ุ
ผู้ที่ไดร้ ับการรับรอง 16 16 16
3- -
ข้าราชการพลเรือน
พนักงานราชการครู 22 2
พนกั งานราชการ(อนื่ ) 2- -
ครพู เิ ศษสอน 77 7
เจา้ หนา้ ท่ี / บุคลากรทางการศกึ ษา 10 - -
7 - -
บุคลากรอืน่ ๆ 25 25 25
(นกั การภารโรง/ ยามรักษาการ/ พนกั งานขบั รถ/
ฯ)
รวม ครู
รวมท้ังสนิ้ 50 25 25
13
2.3.3 ดา้ นหลักสูตรที่จดั การเรียนการสอน
จำนวนสาขาวิชาท่เี ปดิ สอนแยกตามประเภทวชิ า
ประเภทวิชา ระดับ ปวช. ระดับ ปวส. รวม
(สาขาวิชา) (สาขาวิชา) (สาขาวิชา)
อุตสาหกรรม 000
พาณิชยกรรม 224
ศิลปกรรม 000
คหกรรม 112
เกษตรกรรม 145
ประมง 0 1 1
อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 000
อตุ สาหกรรมส่งิ ทอ 000
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 000
รวมท้ังส้ิน 4 8 12
14
2.3.4 ด้านหลกั อาคารสถานท่ี จำนวน
ข้อมูลอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2563 6 หลัง
9 หลัง
รายการ 1 หลงั
1 หลัง
อาคารเรียน 10 หลงั
อาคารปฏบิ ัติการ 59 หอ้ ง
อาคารวิทยบริการ / อาคารห้องสมดุ 59 หอ้ ง
อาคารอเนกประสงค์ 59 ห้อง
อาคารอืน่ ๆ
ห้องเรียน หอ้ งปฏิบัติการทใี่ ช้ในการจัดการเรียนการสอนท้ังหมดของสถานศกึ ษา
หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั ิการท่มี รี ะบบอินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สูงในการจดั การเรียนการสอน
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการพัฒนาให้เอื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้
15
2.3.5 ดา้ นงบประมาณ จำนวนเงิน (บาท)
รายการ 17,353,945.73
1. งบบุคลากร 17,353,945.73
(เงินเดือน, เงนิ ประจำตำแหนง่ , เงนิ วทิ ยฐานะ, คา่ จา้ งลูกจ้างประจำ,
1,322,277.72
คา่ ครองชีพ, ค่าตอบแทนพนังงานราชการ) 302,499.35
รวม 69,600
2. งบดำเนนิ งาน 1,694,377.07
2.1 งบ ปวช.
2.2 งบ ปวส. 1,650,630.00
2.3 งบ ฝกึ อบรมระยะสน้ั
รวม 20,000.00
2,495,819.30
3. งบลงทุน
รวม 30,000.00
75,000.00
4. งบอดุ หนนุ 61,320.00
4.1 โครงการสง่ เสริมนวัตกรรม 2,682,139.30
4.2 อุดหนนุ คา่ ใช้จา่ ยเรียนฟรี 15 ปี
4.3 อดุ หนนุ ฝึกอบรมระยะสัน้ 289,545.00
4.4 อดุ หนนุ ทุนเฉลมิ ราชกมุ ารี
4.5 อุดหนนุ อกท. 117,600.00
รวม 150,000.00
70.000.00
5. งบรายจา่ ยอน่ื ๆ 22,000.00
5.1 โครงการพัฒนารปู แบบและยกระดับคุณภาพศนู ย์ซอ่ มสรา้ งเพอ่ื 105,000.00
10,000.00
ชมุ ชน (Fixit Center) 764,145.00
5.2 โครงการจัดหาบุคลากรสนับสนนุ เพื่อคนื ครใู หน้ ักเรียน
5.3 โครงการจ้างครูวชิ าชีพผู้ทรงคุณคา่ 3,757,630.23
5.4 โครงการปลกู จติ สำนกึ รักษาทรัพยากรป่าไม้ 3,757,630.23
5.5 โครงการลดปญั หาการออกกลางคันของผเู้ รียนอาชีวศกึ ษา 27,902,867.33
5.6 โครงการพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นอาชีวศึกษาในการเปน็ ผู้ประกอบการ
5.7 โครงการยกระดับการผลิตสนิ ค้าเกษตรสมู่ าตรฐาน (GAP)
รวม
6. เงนิ นอกงบประมาณ
6.1 เงินรายได้สถานศึกษา
รวม
รวมงบดำเนินการทง้ั สิ้น
16
2.4 ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา
ปรชั ญา สำนึกตอ่ หน้าทีแ่ ละความรบั ผิดชอบ
อตั ลกั ษณ์ อดทน มุ่งมน่ั สรา้ งสรรคง์ าน
เอกลกั ษณ์ สถานศกึ ษานอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2.5 วิสยั ทัศน์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ ยุทธศาสตร์ และกลยุทธก์ ารพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของ
สถานศกึ ษา
วิสยั ทศั น์
“ผลิตและพัฒนากำลงั คนอาชีวศึกษาให้มคี ุณภาพสนองตลาดแรงงานและสังคม”
พนั ธกจิ
พันธกิจที่ 1 พฒั นาการศึกษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษาตามความตอ้ งการของ
ตลาดแรงงานและสังคม
พนั ธกิจท่ี 2 สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือภาครัฐ เอกชน ชมุ ชนในการศึกษาอาชีพ และขยายโอกาส
ทางการศึกษา
พนั ธกจิ ที่ 3 บรหิ ารจัดการโดยยดึ หลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
พนั ธกจิ ที่ 4 บริการวชิ าการและวิชาชพี แก่ชุมชน สร้างทางเลอื กในการประกอบอาชีพ
พนั ธกจิ ที่ 5 พฒั นางานวิจัย นวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และองค์ความรเู้ พ่ือการพฒั นา
งานอาชพี
เปา้ ประสงค์
1. ผลติ และพัฒนาผ้เู รยี นอาชีวศกึ ษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา และตามความต้องการ
ของตลาดแรงงานและสังคม
2. พัฒนาครผู ู้สอนให้มศี ักยภาพในการจดั การเรียนการสอน การจดั สภาพแวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อการ
จัดการเรียนการสอน พัฒนาระบบสารสนเทศ ตลอดจนสนบั สนนุ งบประมาณในการจัดการเรยี นการสอน
และพฒั นาทกุ แผนกวชิ าให้เป็นแหลง่ เรียนรู้
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือจากภาครฐั เอกชน และชุมชน ในการพฒั นาการจัดการศึกษาดา้ น
อาชีวศกึ ษาและขยายโอกาสทางการศึกษาสู่ระดบั ชมุ ชน ท้องถนิ่
4. พัฒนางานฟาร์มเด่นเชงิ ธรุ กิจ และสร้างศนู ย์การเรยี นรอู้ ยา่ งยงั่ ยืน โดยความร่วมมือกับภาคี
เครือข่าย เพ่ือสร้างรายได้ให้กับวทิ ยาลัยฯ นกั ศึกษา และเป็นแหล่งเรียนร้ผู เู้ รยี นและชมุ ชน
5. การบรหิ ารจัดการวทิ ยาลยั ฯ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าลและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย
อาศัยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับการบริหารจัดการ
6. การให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ เพอื่ สร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพของคนในชุมชน
ท้องถ่ิน
7. พฒั นางานวิจัย นวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ และองค์ความรู้ เพ่ือตอบสนองการพัฒนา
งานอาชีพ
17
ยุทธศาสตร์
1. ยกระดบั คณุ ภาพผเู้ รียนเข้าสู่มาตรฐานสากล
2. เพิ่มปรมิ าณผเู้ รียนสายอาชีพให้เพียงพอตอ่ ความต้องการของประเทศ
3. ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มจากทุกภาคส่วนในการจดั อาชีวศึกษา
4. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยใช้หลักธรรมาภบิ าล
กลยุทธ์
1. พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ และสอดคล้องกบั ตลาดแรงงาน
และสังคม
2. เพม่ิ ศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของครู
3. ระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาอาชีวศึกษาร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
4. พัฒนางานฟารม์ เชิงธุรกจิ และจดั ต้ังศูนย์การเรียนรู้อย่างยัง่ ยืน
5. เพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าลและหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โดยใช้ ICT เป็นฐาน
6. ใหบ้ รกิ ารวชิ าการและวิชาชีพสสู่ ังคม
7. เพม่ิ ขีดความสามารถในดา้ นนวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรคแ์ ละงานวจิ ัย
2.6 เกยี รติประวัตขิ องสถานศึกษา ไดแ้ ก่ รางวัลและผลงานของสถานศึกษาปีการศึกษาทจี่ ดั ทำรายงานผล
การประเมนิ ตนเอง
2.6.1 รางวลั และผลงานของสถานศึกษา
1. การประกวดฟาร์มมาตรฐานโครงการเกษตรเพื่อชีวิต “เกษตรกรรุ่นใหม่ ใส่ใจมาตรฐาน”
ปี 2563 ขอบข่ายประมง การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำจืด (มกษ.
7417-2559) โครงการเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยตามระบบ GAP โดย สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและ
อาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ ผลการประกวด ไดร้ างวลั ชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 1
2. การประเมนิ ศูนย์บ่มเพาะผ้ปู ระกอบการอาชีวศกึ ษาระดับจงั หวัด ผลการประเมนิ ได้ระดับ
3 ดาว โดยอาชวี ศกึ ษาจงั หวัดตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
2.6.2 รางวลั และผลงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 18
ปกี ารศึกษา 2563
รางวลั
ชอื่ รายการ รางวลั อื่น ๆ
ระดับ ชาติ
นางภาวนา ชงู าน ครดู ีศรีอาชวี โดย สำนกั งานคณะกรรมการ ชนะเลศิ
การอาชวี ศึกษา ระดับ ชาติ
นางกญั ญารตั น์
รกั ษาแกว้ ครทู ปี่ รกึ ษา โครงการเลย้ี งปลาดุกตามระบบ GAP ชนะเลิศ
โดย สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ระดับ ชาติ
นางสาวนนั ณภัชสรณ์ แหง่ ชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วรรณจันทร์ รางวัลอืน่ ๆ
ครูท่ปี รกึ ษา โครงการเลย้ี งปลาดุกตามระบบ GAP ระดับ จงั หวดั
นายทรัทย์ โดย สำนกั งานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
พรประยุทธ แหง่ ชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รางวลั อื่น ๆ
ระดบั จงั หวัด
นางวิไลรัตน์ ครผู ู้ทรงคุณคา่ ปฏบิ ัตหิ น้าท่เี ป็นแบบอย่างที่ดี
นิ้มสันติเจรญิ ด้านการศึกษาและมีคุณธรรมจรยิ ธรรม รางวัลอื่น ๆ
โดย วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีตรัง สำนกั งาน ระดบั ภาค
นายทรัทย์ คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
พรประยทุ ธ รางวลั อน่ื ๆ
ครูผูท้ รงคุณคา่ ปฏิบตั ิหน้าทเี่ ป็นแบบอย่างที่ดี ระดับ ภาค
นางพรรธน์ญสรณ์ ด้านการศึกษาและมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
สง่ เสริม โดย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรงั สำนักงาน รางวลั อน่ื ๆ
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ระดบั ภาค
นายจกั รชยั
ชวี จตุรภทั ร ผู้ทำคุณประโยชนใ์ หก้ บั อกท.ภาคใต้ ปกี ารศึกษา รางวัลอ่ืน ๆ
นายจริ ัฐติกาล 2563 ระดบั จังหวดั
โพธ์ินางดำ โดย สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ผู้ทำคุณประโยชนใ์ หก้ บั อกท.ภาคใต้ ปีการศึกษา
2563
โดย สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ผทู้ ำคณุ ประโยชนใ์ หก้ บั อกท.ภาคใต้ ปกี ารศึกษา
2563
โดย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
ครูจติ อาสา ปฏบิ ตั หิ น้าทดี่ ว้ ยความอตุ สาหะ
และเสียสละ
โดย วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีตรัง
สำนกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา
19
ชอื่ รายการ รางวัล
นางสาววภิ าวี รางวัลอน่ื ๆ
แกว้ วิจติ ร ครจู ิตอาสา ปฏิบตั หิ น้าท่ีด้วยความอุตสาหะและ ระดับ จงั หวดั
เสยี สละ
นายจักรชยั โดย วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรงั รางวัลอ่ืน ๆ
ชีวจตุรภทั ร สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ระดบั จงั หวัด
ครจู ติ อาสา ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความอุตสาหะและ
นางสาวปรีดาวรรณ เสียสละ รางวัลอื่น ๆ
ไทยกลาง โดย วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยตี รงั สำนกั งาน ระดับ จังหวัด
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
นายกติ ตินันท์ ครูจติ อาสา ปฏิบัติหนา้ ทดี่ ว้ ยความอุตสาหะและ รางวลั อนื่ ๆ
ระวังสุข เสียสละ ระดับ จังหวัด
โดย วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยตี รัง
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ครูจิตอาสา ปฏบิ ตั หิ น้าทด่ี ้วยความอุตสาหะและ
เสียสละ
โดย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
20
2.6.3 รางวลั และผลงานของผู้เรียน
ปกี ารศึกษา 2563
ชื่อ รายการ รางวัล
นายวฒั นา การประกวดโครงการฟาร์มมาตรฐาน โครงการเกษตรเพ่ือชีวิต “เกษตรกร ชนะเลิศ
สมนวน รนุ่ ใหม่ ใส่ใจมาตรฐาน” ปี 2563 ขอบขา่ ยประมง การปฏบิ ัติทางการ ระดบั ชาติ
เพาะเลย้ี งสตั ว์นำ้ ทีด่ ีสำหรบั ฟารม์ เลี้ยงสตั วน์ ้ำจืด (มกษ.7417-2559)
น.ส.วรรณพร โครงการเลี้ยง โดย สำนกั งานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ ชนะเลศิ
เครือทอง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกบั สำนักงานคณะกรรมการการ ระดบั ชาติ
อาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
นายเดชา การประกวดโครงการฟาร์มมาตรฐาน โครงการเกษตรเพื่อชีวิต “เกษตรกร ชนะเลศิ
พัลพัฒน์ รุ่นใหม่ ใสใ่ จมาตรฐาน” ปี 2563 ขอบข่ายประมง การปฏิบตั ิทางการ ระดบั ชาติ
เพาะเลยี้ งสตั ว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสตั ว์นำ้ จดื (มกษ.7417-2559)
นายพงษ์ศักดิ์ โครงการเล้ยี ง โดย สำนักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ ชนะเลิศ
โพธ์ิทอง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รว่ มกับสำนกั งานคณะกรรมการการ ระดับ ชาติ
อาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
น.ส.อรทยั การประกวดโครงการฟาร์มมาตรฐาน โครงการเกษตรเพื่อชีวติ “เกษตรกร ชนะเลศิ
ดอนมงุ คณุ รุ่นใหม่ ใสใ่ จมาตรฐาน” ปี 2563 ขอบข่ายประมง การปฏิบัติทางการ ระดบั ชาติ
เพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำทด่ี ีสำหรับฟารม์ เลี้ยงสตั ว์นำ้ จดื (มกษ.7417-2559)
โครงการเลี้ยง โดย สำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกบั สำนกั งานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
การประกวดโครงการฟาร์มมาตรฐาน โครงการเกษตรเพ่ือชวี ิต “เกษตรกร
รุ่นใหม่ ใสใ่ จมาตรฐาน” ปี 2563 ขอบขา่ ยประมง การปฏิบัติทางการ
เพาะเลย้ี งสตั ว์น้ำทด่ี สี ำหรับฟาร์มเล้ยี งสตั วน์ ำ้ จดื (มกษ.7417-2559)
โครงการเลย้ี ง โดย สำนกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รว่ มกับสำนกั งานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
การประกวดโครงการฟาร์มมาตรฐาน โครงการเกษตรเพื่อชีวิต “เกษตรกร
รนุ่ ใหม่ ใส่ใจมาตรฐาน” ปี 2563 ขอบข่ายประมง การปฏบิ ัตทิ างการ
เพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้ ทีด่ สี ำหรับฟาร์มเลี้ยงสตั วน์ ้ำจดื (มกษ.7417-2559)
โครงการเลย้ี ง โดย สำนกั งานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
21
ชอื่ รายการ รางวัล
นาย สงิ่ ประดิษฐ์ ประเภทท่ี 3 : สงิ่ ประดิษฐเ์ พอื่ การอนรุ ักษ์พลังงาน ชอ่ื ผลงาน : รางวลั อื่นๆ
เกยี รติศกั ดิ์ Tower ตาก-อบ พลงั งานแสงอาทิตย์ (Solar Tower) โดย อาชวี ศึกษา ระดับ
ราหมาน ศกึ ษาจังหวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา จังหวัด
สิ่งประดิษฐ์ ประเภทท่ี 3 : สง่ิ ประดษิ ฐ์เพอ่ื การอนรุ ักษ์พลังงาน ชื่อผลงาน :
นายณฐั วุฒิ Tower ตาก-อบ พลังงานแสงอาทติ ย์ (Solar Tower) โดย อาชีวศึกษา รางวลั อน่ื ๆ
แตงสวน ศึกษาจังหวัดตรงั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดบั
สิ่งประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 3 : สงิ่ ประดิษฐเ์ พื่อการอนรุ กั ษ์พลังงาน ช่อื ผลงาน : จงั หวัด
นายชัยพร Tower ตาก-อบ พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Tower) โดย อาชวี ศึกษา
สงมา ศึกษาจังหวัดตรงั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รางวัลอน่ื ๆ
สิง่ ประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 3 : สง่ิ ประดษิ ฐเ์ พือ่ การอนรุ กั ษ์พลังงาน ช่ือผลงาน : ระดบั
นายกฤษฎา Tower ตาก-อบ พลงั งานแสงอาทิตย์ (Solar Tower) โดย อาชีวศกึ ษา จงั หวัด
ศกึ ษาจังหวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
บษุ บงกไ์ พฑรู ย์ สิง่ ประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 3 : สง่ิ ประดษิ ฐเ์ พอ่ื การอนรุ กั ษ์พลังงาน ชอ่ื ผลงาน : รางวัลอ่นื ๆ
Tower ตาก-อบ พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Tower) โดย อาชวี ศกึ ษา ระดับ
นายวศิ รตุ ศกึ ษาจังหวดั ตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จังหวัด
ศรวี โิ รจน์
สิ่งประดิษฐ์ ประเภทท่ี 4 ผลิตภณั ฑ์อาหาร ช่ือผลงาน : กระชายดอง 3 รส รางวลั อน่ื ๆ
ปารชิ าติ โดย อาชวี ศึกษาศึกษาจังหวดั ตรงั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ระดับ
แกว้ รักษ์ จงั หวดั
ส่ิงประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 4 ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร ชื่อผลงาน : กระชายดอง 3 รส
น.ส.ชตุ ิมณฑ์ โดย อาชวี ศกึ ษาศึกษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา รางวัลอื่นๆ
ศรจี ะระ ระดับ
สง่ิ ประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 4 ผลิตภณั ฑ์อาหาร ช่ือผลงาน : คุกกีถ้ วั่ หรงั่ ลด จังหวดั
น.ส. ไขมันทรานส์
สกาวเดือน โดย อาชวี ศกึ ษาศึกษาจังหวดั ตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา รางวลั อื่นๆ
ขวัญเมือง ส่งิ ประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 4 ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร ชื่อผลงาน : คกุ ก้ถี ่วั หร่งั ลด ระดับ
น.ส. ไขมนั ทรานส์ จงั หวดั
กลั ยาณนิ โดย อาชีวศึกษาศึกษาจังหวดั ตรัง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
สมาธิ สิ่งประดิษฐ์ ประเภทที่ 4 ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร ช่ือผลงาน : คกุ ก้ีถวั่ หรั่งลด รางวัลอื่นๆ
น.ส. ไขมนั ทรานส์ ระดบั
สรุ างคณา โดย อาชวี ศึกษาศึกษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา จังหวัด
งามเพยี ร
รางวัลอน่ื ๆ
ระดบั
จังหวัด
รางวัลอื่นๆ
ระดบั
จังหวัด
22
ชอื่ รายการ รางวัล
น.ส.โสภดิ า ส่ิงประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 4 ผลติ ภัณฑอ์ าหาร ชื่อผลงาน : คกุ กถ้ี ั่วหรงั่ ลด รางวัลอื่นๆ
เหียนหา ไขมันทรานส์ ระดับ
โดย อาชีวศึกษาศึกษาจังหวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา จังหวัด
น.ส.อุมากร ส่ิงประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 4 ผลิตภัณฑอ์ าหาร ชื่อผลงาน : คกุ ก้ถี ่วั หรั่งลด
ชุมนาคราช ไขมนั ทรานส์ รางวลั อน่ื ๆ
โดย ส่ิงประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 4 ผลิตภัณฑอ์ าหาร ชื่อผลงาน : คกุ กีถ้ ั่วหร่งั ลด ระดบั
น.ส. ไขมันทรานส์ อาชีวศกึ ษาศึกษาจงั หวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการ จังหวัด
จุฬาลักษณ์ อาชีวศึกษา
ถนอมนวล รางวลั อน่ื ๆ
สิ่งประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 4 ผลติ ภัณฑ์อาหาร ชื่อผลงาน : หมสู ม้ แดดเดยี ว ระดบั
น.ส.สุดารัตน์ โดย อาชีวศึกษาศึกษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จงั หวัด
บญุ รอด
สงิ่ ประดิษฐ์ ประเภทท่ี 4 ผลิตภัณฑ์อาหาร ชื่อผลงาน : หมูส้มแดดเดยี ว รางวัลอน่ื ๆ
น.ส.วศิ รทิพย์ โดย อาชีวศึกษาศึกษาจังหวดั ตรัง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ระดับ
โพธ์สิ วุ รรณ จังหวัด
สิ่งประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 4 ผลติ ภัณฑ์อาหาร ชื่อผลงาน : หมูสม้ แดดเดียว
น.ส. โดย อาชีวศกึ ษาศึกษาจังหวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา รางวัลอ่นื ๆ
มณีกานต์ ระดับ
ครฑุ ธิราช ส่งิ ประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 4 ผลติ ภณั ฑ์อาหาร ชื่อผลงาน : หมูสม้ แดดเดียว จงั หวดั
โดย อาชวี ศึกษาศึกษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
น.ส.ฑิฆัมพร รางวลั อื่นๆ
คงรกั สิ่งประดษิ ฐ์ ประเภทที่ 4 ผลิตภัณฑอ์ าหาร ช่ือผลงาน : หมูสม้ แดดเดียว ระดับ
โดย อาชีวศึกษาศึกษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จงั หวดั
น.ส.
กฤติยากร สิง่ ประดิษฐ์ ประเภทที่ 4 ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร ช่ือผลงาน : ข้าวเกรยี บถัว่ หร่ัง รางวัลอื่นๆ
วดั แผ่นลำ โดย อาชวี ศึกษาจงั หวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ระดับ
จงั หวดั
น.ส.นัฐมล สิง่ ประดิษฐ์ ประเภทท่ี 4 ผลิตภณั ฑ์อาหาร ช่ือผลงาน : ขา้ วเกรียบถวั่ หรัง่
หม่ืนโพธิ์ โดย อาชวี ศึกษาจังหวดั ตรัง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา รางวลั อื่นๆ
ระดบั
น.ส.ชลธชิ า ส่ิงประดิษฐ์ ประเภทท่ี 4 ผลติ ภัณฑอ์ าหาร ชื่อผลงาน : ข้าวเกรยี บถ่วั หร่งั จงั หวัด
เหียนหา โดย อาชวี ศกึ ษาจังหวัดตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
รางวัลอน่ื ๆ
ระดบั
จงั หวัด
รางวัลอื่นๆ
ระดบั
จังหวัด
23
ช่ือ รายการ รางวัล
นายภูวดล สิ่งประดิษฐ์ ประเภทท่ี 5 หตั ถศิลป์ ชอ่ื ผลงาน : เครื่องประดับศีรษะ รางวัลอื่นๆ
มะนะโส โบฮเี มียน ระดับ
โดย อาชีวศึกษาจงั หวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา จังหวัด
น.ส.ศภุ รตั น์ สง่ิ ประดิษฐ์ ประเภทท่ี 5 หัตถศิลป์ ชอ่ื ผลงาน : เครือ่ งประดับศรี ษะ
ยอดทอง โบฮเี มียน รางวลั อน่ื ๆ
น.ส โดย อาชวี ศกึ ษาจังหวดั ตรงั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดบั
ดารารัตน์ สิ่งประดิษฐ์ ประเภทท่ี 5 หัตถศลิ ป์ ช่อื ผลงาน : เคร่ืองประดบั ศรี ษะ จงั หวัด
อินคง โบฮเี มียน
น.ส.พาขวัญ โดย อาชวี ศึกษาจังหวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา รางวลั อน่ื ๆ
สาขยงั สง่ิ ประดิษฐ์ ประเภทท่ี 5 หตั ถศิลป์ ชือ่ ผลงาน : เครื่องประดบั ศีรษะ ระดบั
โบฮีเมียน จงั หวัด
น.ส.เมวดี โดย อาชีวศกึ ษาจงั หวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
จติ ร์แกว้ สง่ิ ประดิษฐ์ ประเภทท่ี 5 หัตถศลิ ป์ ชื่อผลงาน : เครอ่ื งประดับศีรษะ รางวัลอน่ื ๆ
โบฮีเมียน ระดับ
นายวัฒนา โดย อาชีวศึกษาจังหวัดตรัง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จงั หวัด
สมนวน สิ่งประดิษฐ์ ประเภทท่ี 8 : เทคโนโลยชี วี ภาพ ชอื่ ผลงาน : สารสกดั จาก
หมากสงรักษาแผลปลา รางวลั อ่นื ๆ
น.ส.อรทัย โดย อาชวี ศึกษาจังหวัดตรัง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ระดับ
ดอนมุงคุณ ส่งิ ประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 8 : เทคโนโลยีชวี ภาพ ช่อื ผลงาน : สารสกดั จาก จงั หวดั
หมากสงรักษาแผลปลา
น.ส.อจั ฉรา โดย อาชวี ศกึ ษาจังหวดั ตรัง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา รางวัลอื่นๆ
จันปาน สิ่งประดิษฐ์ ประเภทที่ 8 : เทคโนโลยชี วี ภาพ ชอ่ื ผลงาน : สารสกดั จาก ระดับ
หมากสงรักษาแผลปลา จงั หวดั
นายกาจพล โดย อาชีวศกึ ษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
คงชูศรี รางวลั อื่นๆ
สิ่งประดิษฐ์ ประเภทที่ 8 : เทคโนโลยีชีวภาพ ชอ่ื ผลงาน : ตฟู้ กั ไข่พอเพียง ระดับ
นายพศวัต โดย อาชีวศึกษาจงั หวัดตรัง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา จังหวดั
ศรที อง
สง่ิ ประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 8 : เทคโนโลยีชวี ภาพ ชอื่ ผลงาน : ตู้ฟกั ไข่พอเพยี ง รางวลั อื่นๆ
โดย อาชีวศกึ ษาจังหวัดตรงั สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ระดบั
จังหวัด
รางวลั อน่ื ๆ
ระดบั
จงั หวัด
รางวัลอื่นๆ
ระดบั
จังหวัด
24
ชื่อ รายการ รางวลั
นายตรีธวชั สิง่ ประดษิ ฐ์ ประเภทท่ี 8 : เทคโนโลยีชวี ภาพ ชอ่ื ผลงาน : ตฟู้ ักไข่พอเพียง รางวัลอ่นื ๆ
ชุมเชื้อ โดย ระดบั
โดย อาชวี ศกึ ษาจงั หวัดตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัด
นายวิเศษศิฐ
คงอ่อนศรี สง่ิ ประดิษฐ์ ประเภทที่ 8 : เทคโนโลยีชวี ภาพ ช่อื ผลงาน : ตฟู้ กั ไข่พอเพียง รางวลั อนื่ ๆ
โดย อาชีวศกึ ษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ระดบั
นายเครือ จังหวัด
ณรงค์ สิ่งประดิษฐ์ ประเภทที่ 8 : เทคโนโลยีชีวภาพ ชอื่ ผลงาน : ตฟู้ กั ไข่พอเพียง
แก้วยอด โดย อาชวี ศึกษาจังหวดั ตรงั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา รางวัลอ่ืนๆ
ระดับ
จงั หวัด
25
สว่ นท่ี 3
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้สถานศึกษาระบุมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาท่ี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด และสถานศึกษาสามารถกำหนดมาตรฐานการศึกษา
หรือประเดน็ การประเมินเพ่ิมเตมิ ตามบริบทของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็น
การประเมิน ดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คุณลกั ษณะของผ้สู ำเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์
การจัดการอาชีวศึกษา เปน็ การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาให้มีความรู้ มี
ทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ประกอบด้วยประเดน็ การประเมนิ ดงั น้ี
๑.๑ ด้านความรู้
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฎี และแนว
ปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทำงาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎี และหรือข้อเท็จจริง
เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาแต่ละระดับการศึกษา
๑.๒ ดา้ นทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะวิชาชีพ และทักษะ
ชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีพศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
และการดำรงชีวติ อยูร่ ่วมกบั ผ้อู ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมสี ขุ ภาพทดี่ ี
๑.๓ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ
นิสัยทด่ี ี ภูมใิ จและรกั ษาเอกลกั ษณข์ องชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธขิ องผ้อู ่ืน มคี วามรบั ผิดชอบตาม
บทบาทหน้าทข่ี องตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มจี ิตสาธารณะ และ
มีจติ สำนกึ รักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม
26
มาตรฐานที่ ๒ การจัดการอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะใน
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีความสำเร็จในการดำเนินการตามนโยบายสำคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่
กำกบั ดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมนิ ดังนี้
๒.๑ ดา้ นหลักสูตรอาชีวศึกษาหลกั
สถานศกึ ษาใช้หลกั สูตรฐานสมรรถนะทสี่ อดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรียน ชุมชนสถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวิชาเดิม หรอื กำหนดรายวิชาใหม่ หรือกลมุ่ วิชาเพมิ่ เติมให้ทัน
ต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถาน
ประกอบการหรอื หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง
๒.๒ ด้านการจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับการพัฒนา
อย่างเป็นระบบต่อเน่ือง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและ
วิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัย
ทำงาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวฒุ อิ าชีวศึกษาแต่ละระดับการศกึ ษา ตามระเบยี บหรอื ข้อบังคับเกี่ยวกับ
การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแลให้ครู
จัดการเรยี นการสอนรายวชิ าใหถ้ ูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์
๒.๓ ดา้ นการบริหารจดั การ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ
งบประมาณของสถานศกึ ษาทมี่ ีอยู่อย่างเตม็ ศักยภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
๒.๔ ด้านการนำนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ
สถานศกึ ษามีความสำเรจ็ ในการดำเนินการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ตามนโยบายสำคัญที่
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู
บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน
ประกอบการและหน่วยงานที่เกยี่ วข้องท้ังภาครัฐและภาคเอกชน
27
มาตรฐานท่ี ๓ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
สถานศึกษาร่วมกับมือบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทำ
นวัตกรรมสง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ประกอบด้วยประเดน็ การประเมิน ดังน้ี
๓.๑ ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ ในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทาง
วิชาการและวิชาชพี โดยใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสม เพอ่ื พฒั นาผ้เู รียนและคนในชมุ ชนส่สู งั คมแห่งการเรยี นรู้
๓.๒ ด้านนวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั
สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้มีการจัดทำนวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย
โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆที่สามารถนำไปใช้
ประโยชนไ์ ด้ตามวตั ถุประสงค์ และเผยแพร่สสู่ าธารณชน
28
ส่วนที่ 4
รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาในแตล่ ะ
มาตรฐานและประเด็นการประเมิน ดงั น้ี
4.1 มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของผสู้ ำเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษาท่ีพงึ ประสงค์
4.๑.๑ ด้านความรู้ ผลสมั ฤทธใ์ิ นการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชวี ศึกษาทพ่ี งึ
ประสงคด์ า้ นความรู้ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธ์ิ
1.1) ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ
1.1.1) เชงิ ปรมิ าณ : ผเู้ รียนผา่ นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพรอบแรก
จำนวน 83 คน
1.1.2) เชงิ คุณภาพ : ผเู้ รยี นผา่ นการประเมินมาตรฐานวิชาชพี รอบแรก
คดิ เปน็ ร้อยละ 81.37
1.1.3) ผลสะทอ้ น : สถานศึกษามกี ารประเมินมาตรฐานวิชาชพี นกั ศึกษาที่
ลงทะเบียนครบตามโครงสร้างหลักสูตรทั้งระดับปวช. และปวส.เป็นไป
ตามทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากำหนด โดยกระบวนการ
ประเมินทุกสาขาวชิ ามีสถานประกอบการ และผเู้ ช่ยี วชาญทางดา้ นสาขา
วชิ าชีพเขา้ ร่วมประเมินอย่างเปน็ ระบบ
1.2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นอาชวี ศกึ ษา (V-NET)
- ยกเลกิ การประเมิน อ้างอิงตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง นโยบายการ
ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านอาชวี ศกึ ษา (V-NET) ลงวันที่ 16 กันยายน
พ.ศ. 2562
29
4.๑.๑ ดา้ นทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้ ผลสมั ฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผูส้ ำเรจ็
การศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านทกั ษะและการประยกุ ตใ์ ช้ตามรายการประเมนิ คุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธ์ิ
1.1) ผ้เู รียนมีสมรรถนะในการเปน็ ผ้ปู ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอสิ ระ
1.1.1) เชิงปริมาณ : 1. ผู้เรยี นกล่มุ เปา้ หมายทีผ่ า่ นการพฒั นาการเป็น
ผ้ปู ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ จำนวน 40 คน
2. ผเู้ รียนทปี่ ระสบความสำเร็จสกู่ ารเป็นผปู้ ระกอบการ
หรอื การประกอบอาชีพอสิ ระ จำนวน 34 คน
1.1.2) เชงิ คุณภาพ : ผลการประเมนิ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ
อาชวี ศกึ ษาระดบั จังหวดั ได้ระดบั 3 ดาว
1.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลยั จดั อบรมให้ความรู้แก่ผเู้ รยี นกลมุ่ เป้าหมาย
การพฒั นาการเปน็ ผ้ปู ระกอบการหรอื การประกอบอาชพี อิสระ
จำนวน 40 คน ประสบความสำเรจ็ ส่กู ารเปน็ ผ้ปู ระกอบการหรือการ
ประกอบอาชีพอิสระ จำนวน 34 คน ส่งผลใหก้ ารประเมินศูนยบ์ ่ม
เพาะผ้ปู ระกอบการอาชีวศกึ ษาระดบั จังหวัด ได้ระดบั 3 ดาว
1.2) ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ
1.2.1) เชงิ ปริมาณ : ผู้เรียนท่ไี ด้รับรางวัลจากการแข่งขนั ทักษะวชิ าชพี ระดับ
จงั หวัด (ระดบั สถานศึกษา) จำนวน 158 คน
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ผูเ้ รยี นที่ไดร้ ับรางวลั จากการแข่งขนั ทักษะวชิ าชีพระดับ
จงั หวดั (ระดบั สถานศึกษา) จำนวน 158 คน
*การแข่งขันระดบั ภาค และระดบั ชาติ เลือ่ นการแขง่ ขันตามสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรน่า 2019 (CO-VID-19)*
1.2.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาสง่ เสริมสนบั สนนุ ใหผ้ ู้เรียนได้รับการพฒั นา
สมรรถนะวิชาชพี ในการเข้าร่วมการแข่งขนั ทักษะวชิ าชีพ ทัง้ ในระดับ
สถานศกึ ษา ระดับภาค ระดบั ชาติ ผู้เรียนทไ่ี ด้รบั รางวัลจากการแขง่ ขนั
ทกั ษะวชิ าชีพระดับจังหวดั (ระดับสถานศกึ ษา) จำนวน 158 คน *
การแข่งขนั ระดับภาค และระดับชาติ เล่อื นการแข่งขันตามสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2019 (CO-VID-19)*
30
1.3) อนื่ ๆ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนด
1.3.1) เชงิ ปริมาณ : วทิ ยาลยั ฯ ได้รับรางวัลชนะเลศิ อนั ดับ 1 ขอบข่ายประมง
ในการประกวดฟาร์มมาตรฐานสินคา้ เกษตร จำนวน 5 คน
1.3.2) เชิงคุณภาพ : วทิ ยาลยั ฯ เขา้ รว่ มโครงการเกษตรเพอื่ ชีวิต “เกษตรกรร่นุ
ใหมใ่ ส่ใจมาตรฐาน" ไดร้ บั รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ไดแ้ ก่ โครงการการ
เลยี้ งปลาดกุ บิ๊กอุยตามระบบ GAP จากวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ตรงั ประกอบดว้ ย นายวฒั นา สมนวน นายพงศักด์ิ โพธ์ิทอง นายเดชา
พลั พัฒน์ นางสาวอรทัย ดอนมงุ คุณ และนางสาววรรณพร เครอื ทอง
1.3.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ เข้าร่วมโครงการเกษตรเพื่อชีวิต “เกษตรกรรนุ่
ใหมใ่ สใ่ จมาตรฐาน”จดั โดยสำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร
แห่งชาติ - มกอช.ประจำปี 2563 ในการประกวดฟาร์มมาตรฐาน
สินคา้ เกษตร ขอบขา่ ยประมง เรอ่ื ง การปฏิบัติทางการเพาะเล้ยี งสัตว์
นำ้ ที่ดสี ําหรบั ฟาร์มเลี้ยงสตั วน์ ้ำจดื (มกษ. 7417- 2559) ผลการ
ประกวดได้รางวลั ชนะเลิศ อันดับหนึง่ ได้แก่ โครงการการเลยี้ งปลา
ดุกบก๊ิ อุยตามระบบ GAP จากวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยตี รัง
ประกอบด้วย นายวฒั นา สมนวน นายพงศักด์ิ โพธิ์ทอง นายเดชา
พัลพัฒน์ นางสาวอรทยั ดอนมุงคุณ และนางสาววรรณพร เครอื ทอง
4.๑.๓ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ผลสัมฤทธิ์ในการพฒั นา
คุณลักษณะของผสู้ ำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาทีพ่ ึงประสงค์ดา้ นดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ
คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ตามรายการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1.1) การดูแลและแนะแนวผูเ้ รียน
1.1.1) เชงิ ปรมิ าณ : ผู้สำเร็จการศึกษาประจำปกี ารศกึ ษา 2563
จำนวน 95 คน
1.1.2) เชงิ คุณภาพ : ผู้สำเร็จการศึกษา คิดเปน็ ร้อยละ 65.52
1.1.3) ผลสะทอ้ น : วทิ ยาลัยมีการดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น มกี ารแต่งตั้งครูท่ี
ปรกึ ษา ครปู กครอง และหนว่ ยงานภายนอกในการสนบั สนุน ชว่ ยเหลือ
ดูแลผู้เรียนโครงการระดมทนุ เพ่อื การศึกษา โครงการรณรงคป์ อ้ งกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติด จัดประชมุ ผปู้ กครองเพอื่ ทำความเขา้ ใจและ
ช่วยดูแลผูเ้ รยี น ลดปญั หาการออกกลางคัน เย่ียมบ้านติดตามผู้เรยี นให้
ความช่วยเหลือ เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลกั สตู ร
31
กำหนด รวมทั้งส่งเสริมสนบั สนุนกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรเพื่อสง่ เสริม
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ให้ผูเ้ รียนมคี ุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
1.2) ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
1.2.1) เชงิ ปรมิ าณ : ผูเ้ รยี นทมี่ ีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่พึงประสงค์
จำนวน 333 คน
1.2.2) เชงิ คุณภาพ : ผเู้ รียนทม่ี คี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์
คดิ เป็นร้อยละ 99.11 ผลการประเมินหนว่ ย อกท.ดีเดน่ ระดบั
ภาคใต้ ได้มาตรฐานเหรียญเงิน
1.2.3) ผลสะทอ้ น : วทิ ยาลัยฯ เข้ารบั การตรวจประเมนิ หน่วย อกท.ดเี ด่น
ระดับ ภาคใต้ โดยคณะกรรมการประเมินระดับภาค ผลการประเมิน
หน่วย อกท.ดเี ด่น ระดบั ภาคใต้ อกท.หนว่ ยตรงั ได้รับมาตรฐาน
เหรียญเงิน
1.3) การมีงานทำและศึกษาต่อของผ้สู ำเร็จการศึกษา
1.3.1 เชิงปริมาณ : ผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช.และ ปวส. ในปีการศกึ ษา
2562 มงี านทำในสถานประกอบการ หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน
ประกอบอาชีพอสิ ระหรือศึกษาต่อ จำนวน 102 คน
1.3.2) เชงิ คุณภาพ : ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาระดบั ปวช.และ ปวส. ในปกี ารศกึ ษา
ท่ีผ่านมา มงี านทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครฐั และเอกชน
ประกอบอาชีพอิสระหรอื ศึกษาต่อ คิดเปน็ ร้อยละ 100.00
1.3.3) ผลสะท้อน : ผ้สู ำเร็จการศกึ ษาระดับ ปวช.และ ปวส. ในปกี ารศึกษา
2562 มีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ผลการประเมนิ ระดับความพงึ พอใจ อยใู่ นระดบั ยอดเย่ยี ม
32
2) จดุ เดน่
การประเมินมาตรฐานวิชาชพี ทกุ สาขาวชิ ามีการประเมนิ อย่างเปน็ ระบบทุกทักษะ
โดยการมีส่วนร่วมของผู้เชี่ยวชาญ สถานประกอบการ วิทยาลัยสนับสนุนให้ผู้เรียนเข้าร่วมแข่งขันทักษะ
วิชาชีพ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย (อกท.) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเป็น
ผู้ประกอบการ การดูแลผู้เรียน วิทยาลัยแต่งตั้งครูที่ปรึกษา ครูปกครอง ครูแนะแนว ในการให้ความ
ช่วยเหลือดูแลผู้เรียน ทางด้านทุนการศึกษา จัดอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด จัดกิจกรรมการเป็นผู้นำ
ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อบรมคุณธรรมจริยธรรม เพื่อให้ผู้เรียนจบ
การศึกษาตามเกณฑ์ท่กี ำหนด และเปน็ บุคคลที่มคี ณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของสงั คมต่อไป
3) จุดทีค่ วรพัฒนา
ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาล่าช้ากวา่ เกณฑ์ทกี่ ำหนด จำนวนหนึ่ง ซึ่งเปน็ ผู้ทขี่ าดความพร้อมใน
ด้านปัจจัยสว่ นบุคคล ได้แก่ รายได้ของครอบครัว มีปัญหาครอบครัว ส่งผลให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้
ตามกำหนด
4) ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
1. สำรวจนักเรยี น นักศึกษาท่ียังไม่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด
2. ใชก้ ระบวนการดูแลผ้เู รียน โดยครทู ี่ปรึกษา เปน็ ผู้ดูแล กำกับ ติดตาม จัดแผนการ
เรยี นใหผ้ ู้เรยี นสามารถสำเรจ็ การศึกษาภายในระยะเวลาตามกำหนดของหลกั สตู ร
3. ใชร้ ะบบดแู ลผเู้ รียนรายบคุ คลในการชว่ ยเหลอื ดา้ นอ่ืนๆ ได้แก่ การใหท้ ุนการศึกษา
การเย่ียมบา้ น เป็นตน้
4.2 มาตรฐานท่ี ๒ การจดั การอาชีวศกึ ษา
4.๒.๑ ดา้ นหลกั สูตรอาชวี ศึกษา ผลสัมฤทธใ์ิ นการพัฒนาการจัดการอาชวี ศึกษาดา้ นหลกั สตู ร
อาชีวศกึ ษาตามรายการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธ์ิ
1.1) การพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะอย่างเปน็ ระบบ
1.1.1) เชงิ ปริมาณ : ประเภทวิชาทจี่ ัดการเรียนการสอนมีการพัฒนาให้เป็น
หลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00
1.1.2) เชิงคุณภาพ : สถานศึกษามีการศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน
เพอื่ การพัฒนาหรือการปรับปรุงหลกั สตู ร มกี ารประสานงานกับสถาน
ประกอบการอย่างต่อเนื่อง ในการพฒั นาหรือปรับปรงุ หลักสูตร มกี าร
พัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะในสาขางานหรือรายวชิ าร่วมกับสถาน
ประกอบการหรือหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนมีสมรรถนะอาชีพ
สอดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีและความตอ้ งการของ
33
ตลาดแรงงาน มีการใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้จากการพัฒนา มีการ
ตดิ ตามประเมนิ ผล และปรับปรุงหลกั สูตรฐานสมรรถนะทีไ่ ด้จากการ
พัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง
1.1.3) ผลสะท้อน : สาขาวชิ าท่จี ัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรของ สอศ.มี
การพฒั นาใหเ้ ป็นหลกั สตู รฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ มีการศึกษา
ความต้องการของตลาดแรงงานเพือ่ การพฒั นาหรอื การปรับปรงุ
หลักสูตร มกี ารประสานงานกับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง ในการ
พัฒนาหรอื ปรับปรุงหลักสตู ร มีการพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะใน
สาขางานหรอื รายวิชาร่วมกบั สถานประกอบการหรอื หนว่ ยงานท่ี
เกย่ี วข้อง เพ่อื ให้ผเู้ รียนมสี มรรถนะอาชพี สอดคลอ้ งกับการเปลยี่ นแปลง
ของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน
1.2) การพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะหรือปรับปรงุ รายวิชา หรอื ปรบั ปรุงรายวชิ า
เดมิ หรอื กำหนดรายวชิ าเพม่ิ เติม
1.2.1) เชงิ ปรมิ าณ : สาขาวิชาท่ีมกี ารพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือ
ปรบั ปรุงรายวชิ าหรอื ปรับปรุงรายวชิ าเดิมหรือกำหนดรายวิชาเพม่ิ เตมิ
จำนวน 13 สาขาวิชา
1.2.2) เชงิ คณุ ภาพ : สาขาวชิ าท่มี ีการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะหรือ
ปรับปรงุ รายวชิ าหรือปรบั ปรุงรายวิชาเดิมหรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม
คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00
1.2.3) ผลสะท้อน : หลักสตู รของ สอศ. มีการพัฒนาใหเ้ ป็นหลักสูตรฐาน
สมรรถนะอยา่ งเป็นระบบ ทัง้ สาขาวชิ าหรอื สาขางานทม่ี กี ารพฒั นา
หลกั สูตรฐานสมรรถนะหรือปรบั ปรงุ รายวชิ าหรือปรบั ปรงุ รายวิชาเดิม
หรือกำหนดรายวชิ าเพ่ิมเติม จำนวน 13 สาขาวชิ า
4.๒.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา ผลสมั ฤทธิใ์ นการพัฒนาการจัดการ
อาชวี ศึกษาดา้ นการจดั การเรียนการสอนอาชีวศกึ ษาตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
อาชีวศกึ ษา ดังน้ี
1) ผลสัมฤทธ์ิ
1.1) คณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏบิ ตั ิ
1.1.1) เชงิ ปรมิ าณ : แผนการจัดการเรียนร้สู กู่ ารปฏิบตั ทิ ่ีมีคุณภาพ
คิดเป็นร้อยละ 100.00
1.1.2) เชงิ คุณภาพ : ผลการประเมนิ คุณภาพแผนการจดั การเรยี นรู้ ครูผู้สอนมี
การวเิ คราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า เพือ่ กำหนดหน่วยการเรยี นร้ทู ม่ี งุ่ เนน้
สมรรถนะอาชีพ มีการบรู ณาการคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม
34
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคแ์ ละปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มกี าร
กำหนดรปู แบบการเรียนรู้สกู่ ารปฏิบตั ิและจดั กิจกรรมการเรียนร้ทู ่ี
หลากหลาย กำหนดการใช้สื่อ เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์และเทคโนโลยกี าร
จดั การเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมนำมาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน มีการ
กำหนดแนวทางการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยรูปแบบ
วิธีการหลากหลาย
1.1.3) ผลสะท้อน : ครผู ้สู อนมีการวิเคราะห์หลักสตู รรายวชิ า เพ่ือกำหนด
หน่วยการเรยี นรทู้ ม่ี งุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี มีการบูรณาการคุณธรรม
จรยิ ธรรม ค่านิยม คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคแ์ ละปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มีการกำหนดรปู แบบการเรยี นรู้สู่การปฏบิ ัตแิ ละจดั กิจกรรม
การเรียนร้ทู หี่ ลากหลาย กำหนดการใช้สื่อ เครื่องมือ อุปกรณแ์ ละ
เทคโนโลยีการจดั การเรยี นรู้ที่เหมาะสมนำมาใชใ้ นการจดั การเรียนการ
สอน มกี ารกำหนดแนวทางการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ด้วย
รูปแบบวธิ ีการหลากหลาย
1.2) การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรสู้ กู่ ารปฏิบตั ิทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญและนำไปใช้
ในการจัดการเรียนการสอน
1.2.1) เชงิ ปรมิ าณ : ครูผู้สอนจดั แผนการจัดการเรยี นรสู้ ู่การปฏิบัตทิ ่ีเน้น
ผู้เรียนเปน็ สำคญั และนำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
จำนวน 33 คน
1.2.2) เชงิ คุณภาพ : ครผู สู้ อนจดั แผนการจดั การเรยี นรู้สู่การปฏิบตั ิทีเ่ นน้
ผู้เรียนเป็นสำคญั และนำไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00
1.2.3) ผลสะท้อน : ครูผสู้ อนจดั แผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติท่ีเนน้ ผู้เรยี น
เปน็ สำคญั และนำไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน จำนวน 33 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 100.00
1.3) การจัดการเรยี นการสอน
1.3.1) เชงิ ปรมิ าณ : 1. ครผู ้สู อนที่มีคุณวุฒิทางการศึกษาตรงตามสาขาวิชา
ทส่ี อน จำนวน 33 คน
2. ครูผูส้ อนมีแผนการจดั การเรยี นรูค้ รบทุกรายวิชาที่
สอน จำนวน 33 คน
3. ครูผสู้ อนมีการจดั การเรยี นการสอนตรงตามแผนการ
35
จัดการเรยี นรดู้ ้วยเทคนิควธิ กี ารสอนหลากหลาย มกี ารวดั และ
ประเมนิ ผลตามสภาพจริง จำนวน 33 คน
4. ครูผู้สอนมกี ารใชส้ ือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยกี ารศกึ ษา
และแหลง่ เรยี นรใู้ นการจดั การเรียนการสอน จำนวน 33 คน
5. ครูผูส้ อนมีการทำวจิ ยั เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการจัดการ
เรยี นรู้และแกป้ ัญหาการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 13 คน
1.3.2) เชิงคณุ ภาพ : ครูผสู้ อนทม่ี ีคุณภาพในการจดั การเรียนการสอน
คดิ เป็นร้อยละ 87.87
1.3.3 ผลสะท้อน : ครูผสู้ อนทมี่ ีคุณวฒุ ิทางการศกึ ษาตรงตามสาขาวชิ าที่สอน
มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ สอดคล้องกบั
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า มเี ทคนคิ วิธีการสอนหลากหลาย
มีการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง มีการใช้สื่อนวัตกรรม
เทคโนโลยีการศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้ในการจดั การเรียนการสอน
มีการทำวจิ ัยเพือ่ พัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนรู้และแกป้ ัญหาการ
จดั การเรียนรู้
1.4) การบรหิ ารจัดการชนั้ เรียน
1.4.1) เชงิ ปริมาณ : 1. ครูผสู้ อนทีจ่ ดั ทำข้อมลู ผเู้ รียนรายบุคคล
จำนวน 33 คน
2. ครผู สู้ อนมขี อ้ มลู สารสนเทศและเอกสารประจำช้ัน
เรยี นและรายวิชาเป็นปัจจุบัน จำนวน 33 คน
3. ครผู สู้ อนมีการใชเ้ ทคนิควิธีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรียน
ให้มีบรรยากาศทเี่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ จำนวน 33 คน
4. มีการใชว้ ิธีการเสริมแรงให้ผู้เุ รยี นมคี วามมุ่งม่นั ตั้งใจใน
การเรียน จำนวน 33 คน
5. มกี ารดแู ลช่วยเหลือผเู้ รียนรายบคุ คลดา้ นการเรียน
และด้านอื่นๆ จำนวน 33 คน
1.4.2) เชงิ คุณภาพ : ครผู ู้สอนมีความสามารถในการบรหิ ารจัดการช้ันเรียน
คดิ เป็นร้อยละ 100.00
1.4.3) ผลสะทอ้ น : ครูผ้สู อนทจี่ ัดทำข้อมูลผูเ้ รียนรายบุคคล มีขอ้ มลู
สารสนเทศและเอกสารประจำชั้นเรยี นและรายวชิ าเป็นปจั จบุ ัน มกี าร
ใชเ้ ทคนิควิธกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นใหม้ บี รรยากาศทีเ่ อื้อตอ่ การ
เรยี นรู้ มกี ารใช้วธิ ีการเสรมิ แรงให้ผู้เรียนมคี วามมุ่งม่ันตงั้ ใจในการเรียน
36
มกี ารดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี นรายบคุ คลด้านการเรยี นและดา้ นอืน่ ๆและ
ครผู ูส้ อนมีความสามารถในการบริหารจดั การช้ันเรียนท้งั หมด
จำนวน 33 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00
1.5) การพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ
1.5.1) เชิงปริมาณ : 1. ครผู สู้ อนจดั ทำแผนพัฒนาตนเองและเข้ารว่ มการ
พฒั นาวชิ าชพี จำนวน 21 คน
2. ครูผ้สู อนทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาตนเองอยา่ งน้อย 12
ช่ัวโมงต่อปี จำนวน 24 คน
3. ครผู ้สู อนที่นำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา
วิชาชพี มาใช้ในการจดั การเรยี นการสอน จำนวน 24 คน
4. ครผู สู้ อนที่มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและการ
พัฒนาวิชาชพี จำนวน 18 คน
5. ครผู ู้สอนทใ่ี ชน้ วตั กรรมจากการพฒั นาตนเองและการ
พัฒนาวชิ าชพี ท่ไี ดร้ บั การยอมรับหรอื เผยแพร่ จำนวน 14 คน
1.5.2) เชิงคุณภาพ : ครูผู้สอนที่ไดร้ บั การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชพี
คิดเป็นร้อยละ 80.80
1.5.3) ผลสะท้อน : ครูผูส้ อนจัดทำแผนพฒั นาตนเองและเข้ารว่ มการพฒั นา
วชิ าชพี จำนวน 21 คน ไดร้ บั การพฒั นาตนเองอยา่ งน้อย 12 ชวั่ โมง
ต่อปี จำนวน 24 คน นำผลจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นา
วชิ าชีพมาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน จำนวน 24 คน มผี ลงานจาก
การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวชิ าชีพ จำนวน 18 คน ใชน้ วตั กรรม
จากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชีพทไี่ ด้รบั การยอมรบั หรอื
เผยแพร่ จำนวน 14 คน และครูผ้สู อนท่ไี ดร้ บั การพฒั นาตนเองและ
การพฒั นาวชิ าชีพ คดิ เปน็ ร้อยละ 80.80
1.6) การเข้าถึงระบบอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สงู เพื่อการจัดการเรียนการสอนในชน้ั เรยี น
1.6.1) เชิงปริมาณ : หอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารท่ีมีระบบอนิ เตอร์เนต็ ความเร็ว
สงู .ในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 59 หอ้ ง
1.6.2) เชิงคณุ ภาพ : ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารที่มีระบบอินเตอรเ์ น็ตความเรว็
สงู ในการจัดการเรยี นการสอน คิดเป็นร้อยละ 100.00
1.6.3) ผลสะทอ้ น : สถานศึกษามีการพัฒนาระบบอนิ เตอร์เนต็ ความเร็วสูง
เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ครผู ู้สอนใช้ในการจัดการเรยี นการสอน และมีห้องเรียน
ห้องปฏิบัตกิ ารท่มี ีระบบอนิ เตอร์เนต็ ความเรว็ สูง จำนวน 59 หอ้ ง
ผู้เรยี นมีความพึงพอใจในการจัดการเรยี นการสอน ระดับ ดีมาก
37
4.๒.๓ ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ผลสมั ฤทธิใ์ นการพฒั นาการจดั การอาชีวศึกษาด้านการบริหาร
จดั การตามรายการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา ดงั นี้
1) ผลสัมฤทธ์ิ
1.1) การบรหิ ารจดั การระบบฐานข้อมลู สารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การสถานศึกษา
1.1.1) เชงิ ปริมาณ : มอี ินเตอรเ์ น็ตความเร็วสูง 1,600 Mbps สำหรับบรหิ าร
จดั การภายในสถานศึกษาครบทุกฝ่ายอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
1.1.2) เชงิ คณุ ภาพ : ผลการประเมนิ การพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่
การจดั การสถานศกึ ษา อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม
1.1.3) ผลสะท้อน : ผ้บู ริหารสถานศึกษาจดั ให้มีข้อมูลพ้นื ฐานทจี่ ำเป็นในการ
บรหิ ารจัดการศึกษา จดั ให้มีระบบข้อมูลสารสนเทศสำหรับการบรหิ าร
จัดการดา้ นตา่ งๆ มกี ารนำเทคโนโลยีมาใช้ในการในการบริหารจดั การ
ขอ้ มลู สารสนเทศ มีการประเมินประสทิ ธิภาพระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ และมีการนำผลการประเมินไปใชพ้ ฒั นาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพ่ือใช้ในการบรหิ ารจดั การศึกษา โดยสนับสนนุ ส่งเสริมให้
ดำเนนิ การเก่ยี วการจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศพื้นฐานครอบคลุมการใช้
งานและเปน็ ปัจจบุ ัน ประกอบดว้ ยข้อมูลพื้นฐาน 9 ประการ นำระบบ
สารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจัดการสถานศึกษา ไดแ้ ก่ ระบบ ศธ.02
ออนไลน์, ระบบ E-Office, การรับ-ส่งหนงั สอื อเลก็ ทรอนิคส์, ระบบ
Scan น้วิ มกี ารทำโครงการในปงี บประมาณ 2563 ดังน้ี
1. โครงการพฒั นาคณุ ภาพงานการบำรุงเครื่องคอมพวิ เตอร์และ
อุปกรณ์ต่อพว่ งให้พร้อมใชง้ านตลอดเวลา งบประมาณ 43,095 บาท
2. โครงการปรับปรุงและพฒั นาระบบเครือข่ายของวิทยาลัยฯ
งบประมาณ 429,700 บาท
1.2) อาคารสถานที่ ห้องเรียน หอ้ งปฏิบัตกิ าร โรงฝกึ งานหรอื งานฟาร์ม
1.2.1) เชงิ ปรมิ าณ : ห้องเรยี น หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร โรงฝกึ งานหรืองานฟารม์ ท่ีได้รับ
การพฒั นาใหเ้ อ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.00
1.2.2) เชงิ คณุ ภาพ : ผลการประเมนิ และข้อมลู อาคารสถานท่ี ห้องเรียน
ห้องปฏบิ ตั ิการ โรงฝกึ งาน หรืองานฟาร์ม ผลการประเมินอยูใ่ นระดับ
ยอดเยย่ี ม
1.2.3) ผลสะทอ้ น : หอ้ งเรยี น ห้องปฏบิ ัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟารม์ ที่ได้รับ
การพฒั นาให้เอื้อต่อการจดั การเรียนรู้ สถานศกึ ษามีอาคารสถานที่
หอ้ งเรียน ห้องปฏบิ ตั ิการ แหลง่ การเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟารม์
และส่งิ อำนวยความสะดวกในการให้บรกิ ารผเู้ รยี นเพียงพอต่อความ
38
ตอ้ งการ และมีการพัฒนาดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทศั น์ของสถานศึกษา
ใหเ้ ออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ มีแผนงานโครงการและดูแลสภาพแวดลอ้ ม
ภูมทิ ศั น์ อาคารสถานท่ี ห้องเรยี น ห้องปฏบิ ตั ิการ แหลง่ การเรยี นรู้ โรง
ฝกึ งาน หรอื งานฟารม์ และสง่ิ อำนวยความสะดวกใหม้ ีความพร้อมและ
เพยี งพอต่อการใช้งานของผ้เู รียนหรอื ผรู้ ับบริการโดยการมสี ่วนร่วมของ
ครู บุคคลและผเู้ รยี น มีการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมทิ ัศน์
อาคารสถานท่ี ห้องเรยี น หอ้ งปฏิบตั กิ าร แหลง่ การเรยี นรู้ โรงฝึกงาน
หรืองานฟาร์ม และสิง่ อำนวยความสะดวกตามแผนงาน โครงการที่
กำหนด จดั สภาพแวดลอ้ ม ภูมิทศั น์ อาคารสถานที่ หอ้ งเรียน
ห้องปฏบิ ัติการ แหลง่ การเรยี นรู้ โรงฝึกงาน หรอื งานฟาร์ม และสงิ่
อำนวยความสะดวกทเี่ อ้อื ต่อการจัดการเรียนรู้ ปรับปรงุ และพัฒนา
สภาพแวดลอ้ ม ภมู ทิ ัศน์ อาคารสถานท่ี หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบตั กิ าร
แหล่งการเรยี นรู้ โรงฝกึ งาน หรอื งานฟารม์ และส่งิ อำนวยความสะดวก
ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
1.3) ระบบสาธารณปู โภคพนื้ ฐาน
1.3.1) เชิงปริมาณ : ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ไดแ้ ก่ ระบบไฟฟ้า ระบบ
ประปา การคมนาคมภายในสถานศกึ ษา ระบบการสอ่ื สารภายใน และ
ระบบรักษาความปลอดภยั ได้รับการบำรงุ รักษาและพฒั นาอย่าง
ต่อเนื่อง
1.3.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลระบบสาธารณปู โภคพนื้ ฐาน
ผลการประเมนิ อย่ใู นระดับ ดี
1.3.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษามีการบรหิ ารจัดการระบบสาธารณปู โภค
พนื้ ฐาน ได้แก่ ระบบส่งกำลัง ระบบควบคุม ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบัติการ โรงฝกึ งานหรอื งานฟารม์ สภาพวัสดอุ ปุ กรณ์
ของระบบไฟฟ้าให้อยใู่ นสภาพพร้อมใช้งาน และปลอดภยั มรี ะบบ
ประปาหรือน้ำด่มื น้ำใชเ้ พียงต่อความต้องการ ถนน ช่องทางเดนิ หรอื
ระบบคมนาคมในสถานศึกษาทส่ี ะดวก ปลอดภัย มีระบบระบายน้ำ
ระบบกำจัดขยะภายในสถานศกึ ษาทส่ี อดคล้องกบั บริบทของ
สถานศึกษา มรี ะบบการสื่อสารภายใน และภายนอกท่ที ันสมยั สะดวก
รวดเร็ว มีระบบรกั ษาความปลอดภยั ได้รบั การบำรุงรกั ษาและพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินความพึงพอใจของผ้ใู ช้บรกิ าร
ระบบสาธารณูปโภคพน้ื ฐาน อยู่ในระดับ 4.27 ผลการประเมนิ อย่ใู น
ระดับ มาก
39
1.4) แหล่งเรยี นรแู้ ละศูนยว์ ิทยบรกิ าร
1.4.1) เชงิ ปรมิ าณ : ผู้เรียนท่ใี ชบ้ รกิ ารแหลง่ เรียนรูแ้ ละศูนย์วิทยบริการ
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.08
1.4.2) เชงิ คณุ ภาพ : ผลการประเมนิ และข้อมลู แหล่งเรยี นรูแ้ ละ
ศูนยว์ ิทยบรกิ าร ผลการประเมิน อยใู่ นระดับ ดเี ลศิ
1.4.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษามีแผนงาน โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรูแ้ ละ
ศนู ย์วิทยบรกิ ารหรอื ห้องสมดุ อย่างต่อเน่ือง ศนู ย์วทิ ยบรกิ ารหรือ
ห้องสมุดมีสภาพแวดลอ้ มเอื้อต่อการศึกษา คน้ คว้าของครู บุคลากร
ทางการศึกษาและผู้เรียนหรือผูส้ นใจ มจี ำนวนหนงั สือตอ่ จำนวนผูเ้ รยี น
เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานท่ีกำหนด สถานศึกษามีการสร้างแรงจงู ใจให้
ผเู้ รียนเขา้ ใช้บรกิ ารศูนย์วิทยบริการหรอื ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของ
ผ้เู รียนทง้ั หมดของสถานศกึ ษา มแี หล่งเรียนรู้ สอ่ื อปุ กรณ์ ห้องเรยี น
เฉพาะทางครบทุกสาขาวิชา ผลการประเมินความพึงพอใจของ
ผูใ้ ชบ้ ริการที่มีต่อแหลง่ เรียนรู้และศนู ย์วทิ ยบริการ อยู่ในระดับ 4.23
ผลการประเมินอยใู่ นระดบั มาก
1.5) ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพอื่ การใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา
1.5.1) เชงิ ปรมิ าณ : สถานศึกษามรี ะบบอนิ เตอรเ์ น็ตความเรว็ สงู ครอบคลมุ
พนื้ ท่ใี ชง้ านของสถานศึกษา 1,600 Mbps
1.5.2) เชิงคณุ ภาพ : ผลการประเมนิ และข้อมูลระบบอนิ เตอร์เนต็ ความเร็วสงู
เพือ่ ใช้ในงานสารสนเทศภายในสถานศึกษา ผลการประเมินอยู่ในระดบั
ดีเลิศ
1.5.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษามรี ะบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสงู ครอบคลุม
พืน้ ท่ีใช้งานของสถานศึกษา 1,600 Mbps โดยมกี ารใชบ้ ริการหลกั
2 เส้นทาง ไดแ้ ก่ ผ้ใู หบ้ ริการ UniNET ความเร็ว 1,000/1,000
Mbps และผใู้ หบ้ ริการ TOT ความเรว็ 600/600 Mbps มีระบบ
เครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพเหมาะสมกับการใช้งาน มี
ผู้รับผิดชอบดูแล และบรหิ ารจัดการข้อมูล การเขา้ ถึงข้อมูล ระบบ
ความปลอดภยั ในการจดั เกบ็ และใชข้ อ้ มูล มีระบบอินเตอร์เนต็ ความเร็ว
สูง ครอบคลมุ พืน้ ที่ใช้งานภายในสถานศกึ ษา มีระบบสารสนเทศ
เช่ือมโยงการบริหารจัดการภายนอกสถานศึกษา ผลการประเมนิ ความ
พงึ พอใจ อยูใ่ นระดบั 4.68 ผลการประเมินอย่ใู นระดบั มากทีส่ ดุ
40
4.๒.๔ ดา้ นการนำนโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้าน
การนำนโยบายสูก่ ารปฏิบตั ิตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดงั นี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1.1) การจดั การอาชวี ศึกษาสู่ระบบทวภิ าคี
1.1.1) เชงิ ปรมิ าณ : 1. สาขาวชิ าที่จัดการเรยี นการสอนในระบบทวิภาคี
จำนวน 2 สาขาวิชา คอื สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
และสาขาวิชาเทคโนโลยภี ูมิทัศน์
2. ผ้เู รยี นทศี่ ึกษาในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ
100.00
1.1.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมลู การจัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี
ผลการประเมินอยใู่ นระดับ ดี
1.1.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนในระบบทวภิ าคี
จำนวน 2 สาขาวชิ าคือ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ และสาขาวิชา
เทคโนโลยีภมู ทิ ศั น์ สถานศึกษาจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี
ประกอบด้วยข้ันตอนดงั นี้ 1) เตรยี มความพรอ้ มในการจัดการ
อาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี 2) วางแผนในการจดั การอาชวี ศึกษาระบบ
ทวิภาคี 3) จัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี 4) ตดิ ตาม
ตรวจสอบคุณภาพในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี 5) สรุป
รายงานผลการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยมีหน่วยงาน สถาน
ประกอบการมีส่วนร่วมจัดการเรียนการสอน ฝึกทักษะประสบการณ์
ให้กับนกั ศกึ ษาทั้ง 2 สาขาวชิ าทัง้ 2 ภาคเรยี น
2) จุดเด่น
1. วทิ ยาลยั ฯ มีครูท่ีมีคุณวุฒิตรงตามสาขาวชิ า มีทักษะความชำนาญในการจัดการ
เรียนการสอน ใหเ้ ป็นไปตามสมรรถนะของหลักสูตร
2. วิทยาลยั ฯ ใช้หลกั สูตรฐานสมรรถนะของ สอศ.ทมี่ ีการพัฒนาหลกั สูตรอย่างเป็น
ระบบ
3. วิทยาลยั ฯ มรี ะบบอนิ เตอรค์ วามเรว็ สงู ในการจดั การเรยี นการสอนและการบรหิ าร
จัดการภายในองค์กร
4. วิทยาลัยฯ มีแหล่งเรียนรคู้ รอบคลมุ บรบิ ทของสถานศกึ ษา
5. วทิ ยาลัยฯ จดั การศึกษารว่ มกบั สถานประกอบทั้งภาคปกตแิ ละทวิภาคี
6. บูรณาการทรพั ยากรท่ีไดร้ ับการจัดสรร มาบริหารจดั การอย่างมีประสทิ ธิภาพ
สอดคลอ้ งในการดำเนินการตามนโยบายสำคญั ของหน่วยงานต้นสังกัด
41
3) จดุ ท่คี วรพัฒนา
1. ควรพฒั นาหลักสูตรรายวชิ าให้สอดคล้องกบั สภาพเศรษฐกจิ และสงั คมของท้องถิ่น
ให้มากข้ึน
2. แสวงหาความรว่ มมอื ในการจดั การศึกษากบั สถานประกอบการ หน่วยงานราชการ
อืน่ ๆ อย่างเปน็ รูปธรรม เพ่ือใหผ้ ้มู สี ่วนได้สว่ นเสียในการจดั การศกึ ษาระบบทวภิ าคีได้ประโยชน์สูงสดุ และ
เทา่ เทยี มกนั และจดั ทำความรว่ มมือในการจัดการศกึ ษาให้เป็นรปู ธรรม
3. ควรปรบั ปรุงห้องเรียน หอ้ งปฏิบตั ิการใหท้ นั สมัยเหมาะกบั การพัฒนาเทคโนโลยใี น
ปัจจบุ นั
3. ควรพฒั นาระบบสาธารณูปโภคให้เพยี งพอต่อความต้องการ
4) ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
1. นำจดุ ท่คี วรพฒั นามาจัดทำแผนการพฒั นาสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของ
บุคลากรทุกฝา่ ย
4.3 มาตรฐานที่ ๓ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
4.๓.๑ ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ในการสร้างสังคมแห่ง
การเรียนรู้ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ดงั น้ี
1) ผลสัมฤทธ์ิ
1.1) การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม
1.1.1) เชงิ ปริมาณ : ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามสี ว่ นรว่ มในการบริหาร
สถานศกึ ษา คดิ เป็นร้อยละ 100.00
1.1.2) เชงิ คุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลการบริหารสถานศึกษาแบบ
มสี ่วนรว่ ม ผลการประเมิน อยู่ในระดบั ดีเลิศ
1.1.3) ผลสะท้อน : ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีส่วนรว่ มในการกำหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา การจัดทำแผนพฒั นาสถานศกึ ษา
และแผนปฏบิ ัติการประจำปี คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ
บริหารสถานศกึ ษามีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
1.2) การระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การเรียนการสอน
1.2.1) เชงิ ปริมาณ : สาขาวิชาท่ีมีการระดมทรัพยากรเพื่อการจดั การเรยี น
การสอน คดิ เป็นร้อยละ 100.00
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลการระดมทรัพยากรเพ่ือการ
จดั การเรยี นการสอน ผลการประเมิน อยู่ในระดับ ดีเลิศ
42
1.2.3) ผลสะทอ้ น : สถานศึกษามีแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรที่
หลากหลายในการจดั การอาชีวศึกษา ท้ังในประเทศและหรือ
ต่างประเทศ มเี ครือข่ายความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการหรอื
หน่วยงานอ่ืน ทงั้ ภาครัฐและเอกชน มีการจัดใหค้ รูพิเศษ ครูภูมิปญั ญา
ทอ้ งถ่ิน ครผู ้เู ชยี่ วชาญ ผทู้ รงคณุ วุฒิในสถานประกอบการทั้งในและ
ตา่ งประเทศร่วมพฒั นาผูเ้ รียน มีการระดมทรัพยากรเพอื่ พัฒนาการจดั
การศึกษา และปรากฏผลการพัฒนาตามวตั ถุประสงคข์ องการระดม
ทรัพยากรอย่างเป็นรูปธรรม มีการประเมนิ ผลการดำเนินงานตามแผน
โครงการในการระดมทรัพยากรในการจดั การอาชวี ศกึ ษากับเครอื ข่าย
เพ่อื การปรับปรงุ และพฒั นาอย่างตอ่ เนือง ,มีผลให้สาขาวชิ าทมี่ กี าร
ระดมทรัพยากรเพื่อการจดั การเรยี นการสอน คดิ เป็นร้อยละ 100.00
และผลการประเมิน อยู่ในระดับ ดีเลิศ
1.3) การบรกิ ารชมุ ชนและจิตอาสา
1.3.1) เชิงปริมาณ : กจิ กรรมในการบริการชุมชนและจติ อาสา
จำนวน 6 กิจกรรม
1.3.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมนิ และกิจกรรมการบริการชมุ ชนและ
จิตอาสา ผลการประเมิน อยใู่ นระดบั ยอดเย่ียม
1.3.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาจดั กจิ กรรมใหผ้ ู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการ
ศกึ ษา และผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมบริการชุมชน เขา้ รว่ มกจิ กรรมบริการ
วิชาการ เข้ารว่ มกจิ กรรมบรกิ ารวิชาชพี เข้ารว่ มกิจกรรมจติ อาสา
สถานศึกษามีนวตั กรรมการบรกิ ารชมุ ชน วชิ าการ วิชาชีพ และจติ อาสา
ของสถานศกึ ษา จำนวน 5 กจิ กรรม ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั
ยอดเยี่ยม
4.๓.๒ ดา้ นนวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย ผลสัมฤทธ์ใิ นการสรา้ งสังคมแห่ง
การเรยี นรู้ดา้ นนวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษาอาชีวศึกษา ดงั น้ี
1) ผลสัมฤทธิ์
1.1) ผลงานของผเู้ รยี นด้านนวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวจิ ยั
1.1.1) เชงิ ปริมาณ : ผลงานของผูเ้ รียนด้านนวตั กรรม สิง่ ประดิษฐ์
งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวจิ ยั ทั้งหมด จำนวน 9 ชิ้น
43
1.1.2) เชิงคุณภาพ : ผลงานของผูเ้ รยี นท่ีได้จาการประกวดนวตั กรรม
ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื งานวจิ ยั ระดบั จังหวดั
จำนวน 9 รางวลั ระดบั ภาค จำนวน 0 รางวัล ระดบั ชาติ
จำนวน 1 รางวัล
1.1.3) ผลสะท้อน : ผลงานของผู้เรียนท่ไี ดจ้ ากการประกวดด้านนวตั กรรม
สิง่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวจิ ยั ทั้งหมด จำนวน 9 ชิน้
เชิงคณุ ภาพ ผลงานของผเู้ รยี นด้านนวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งาน
สร้างสรรค์ หรอื งานวจิ ยั ระดับจงั หวดั จำนวน 9 รางวลั ระดับภาค
จำนวน 0 รางวัล ระดบั ชาติ จำนวน 1 รางวัล
- ระดับจงั วัด จำนวน 9 รางวลั จัดโดย อาชีวศึกษาจงั หวดั ตรงั
- ระดบั ชาติ จำนวน 1 รางวัล จัดโดย สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร
และอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2) จดุ เดน่
1. การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน ในส่วนของทนุ การศึกษา
วิทยาลยั ฯ ไดร้ ับการสนับสนุนทนุ การศึกษาจาก หน่วยงาน ครอู าจารยใ์ นสถานศกึ ษา ผมู้ ีจิตศรทั ธา องคก์ ร
ภาครฐั และเอกชน ด้วยดีตลอดมา
2. มเี ครือขา่ ยความร่วมมือของนกั วิชาการ เกษตรกร ปราชญช์ มุ ชน หนว่ ยงาน
ราชการอื่นๆ และเครือข่ายศิษย์เกา่ ในการสรา้ งสงคมแหง่ การเรียนรู้ ส่งเสริมและสนบั สนุนทรัพยากรในการ
จดั ทำ นวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ และงานวจิ ยั
3. ครู บคุ ลากร นกั ศึกษารว่ มกิจกรรมบริการวิชาการใหแ้ ก่ชุมชนและจิตอาสาอยา่ ง
สมำ่ เสมอ
3) จุดทค่ี วรพัฒนา
1. สร้างแรงจูงใจ สนับสนนุ ใหค้ รบู คุ ลากรนำองค์ความรู้มาใชใ้ นการคดิ ค้น พัฒนา
นวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั ตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาให้มากขึ้น
4) ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
ควรนำหลักการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมเพ่ือนำความรู้ ความสามารถของบคุ ลากรที่
หลากหลายมาบูรณาการเพื่อบรรลเุ ป้าหมายและวัตถุประสงค์
44
ส่วนท่ี 5
ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน
การอาชวี ศึกษา พ.ศ.2561
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.
๒๕๖๑ จำนวน ๓ มาตรฐาน ตามระดบั การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ดังนี้
๕.๑ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ลกั ษณะของผู้สำเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาท่ีพงึ ประสงค์
ตารางที่ ๑ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ ๑ ในแต่ละประเด็นการ
ประเมนิ
ประเด็นการประเมนิ ท่ี ๑ ดา้ นความรู้
คะแนนท่ไี ด้
ข้อการประเมิน ค่าน้ำหนกั ค่าคะแนน (ค่าน้ำหนกั x ค่า
คะแนน)
๑.๑ ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชพี ๒๐ 5 100
๑.๒ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ น 3 - -
อาชีวศึกษา (V-NET )
ผลรวมคะแนนที่ได้ 100
รอ้ ยละของคะแนน ประเดน็ การประเมนิ ท่ี ๑ = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ x ๑๐๐) / ๑๑๕ 100.00
ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมนิ ที่ ๑ ดา้ นความรู้
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) ○ ดีเลิศ (ร้อยละ ๗๐.๗๗ - ๗๙.๙๙) ○ ดี (ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙)
○ ปานกลาง (ร้อยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙) ○ กำลังพฒั นา (นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐)
45
ประเด็นการประเมนิ ท่ี ๒ ด้านทักษะและการประยกุ ต์ใช้
ขอ้ การประเมิน คา่ น้ำหนัก คา่ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้
(คา่ นำ้ หนัก x ค่าคะแนน)
๒.๑ ผู้เรยี นมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือ ๓ 5 15
การประกอบอาชพี อิสระ
๒.๒ ผลการแขง่ ขนั ทักษะวชิ าชพี ๒4 8
ผลรวมคะแนนที่ได้ 23
รอ้ ยละของคะแนน ประเด็นการประเมินท่ี ๒ = (ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ x ๑๐๐) / ๒๕ 92.00
ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ ๒ ด้านทักษะและการประยกุ ต์ใช้
ยอดเยีย่ ม (ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) ○ ดีเลิศ (ร้อยละ ๗๐.๗๗ - ๗๙.๙๙) ○ ดี (รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙)
○ ปานกลาง (ร้อยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙) ○ กำลังพฒั นา (นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕๐.๐๐)
ประเดน็ การประเมินที่ ๓ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
ขอ้ การประเมนิ คา่ นำ้ หนกั ค่าคะแนน คะแนนท่ีได้
(ค่านำ้ หนัก x คา่ คะแนน)
๓.๑ การดูแลและแนะแนวผเู้ รยี น ๒3 6
๓.๒ ผูเ้ รียนมีคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ๒5 10
๓.๓ การมงี านทำแลละศกึ ษาตอ่ ของผ้สู ำเรจ็ การศึกษา ๑๕ 5 75
ผลรวมคะแนนที่ได้ 91
ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ ๓ = (ผลรวมคะแนนที่ได้ x ๑๐๐) / ๙๕ 95.79
ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ที่ ๓ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) ○ ดีเลิศ (ร้อยละ ๗๐.๗๗ - ๗๙.๙๙) ○ ดี (รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙)
○ ปานกลาง (ร้อยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙) ○ กำลังพฒั นา (นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐)
46
๕.๒ มาตรฐานที่ ๒ การจดั การอาชีวศึกษา
ตารางที่ ๒ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ ๒ ในแต่ละประเด็นการ
ประเมิน
ประเด็นการประเมนิ ที่ ๑ ด้านหลักสูตรอาชีวศกึ ษา
ขอ้ การประเมิน ค่าน้ำหนกั ค่าคะแนน คะแนนท่ีได้
(คา่ นำ้ หนัก x คา่ คะแนน)
๑.๑ การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ ๒ 5 10
๑.๒ การพฒั นาหลักสูตรฐานสรรถนะ หรอื ปรับปรงุ
รายวิชา หรือปรบั ปรงุ รายวิชาเดมิ หรอื กำหนด ๓5 15
รายวิชาเพ่ิมเติม
ผลรวมคะแนนท่ีได้ 25
รอ้ ยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินที่ ๑ = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ x ๑๐๐) / ๒๕ 100.00
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเดน็ การประเมนิ ท่ี ๑ ด้านหลกั สูตรอาชวี ศึกษา
ยอดเยยี่ ม (ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) ○ ดเี ลศิ (ร้อยละ ๗๐.๗๗ - ๗๙.๙๙) ○ ดี (รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙)
○ ปานกลาง (ร้อยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙) ○ กำลังพฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐)