The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วีระ โชติธรรมาภรณ์, 2021-03-04 01:54:17

Packaging Printing Technology 02

Packaging Printing Technology 02

Keywords: Packaging Printing Technology

weera.ch weera.ch

weera.ch weera.ch

29

แผนบริหารการสอนประจ�ำ บทท่ี 2 weera.ch weera.ch
ระบบการพมิ พ์บรรจภุ ัณฑ์

หวั ข้อเน้ือหา
ความหมายของการพมิ พบ์ รรจุภณั ฑ์
ระบบการพมิ พ์บรรจภุ ณั ฑ์
การพิมพแ์ มพ่ ิมพพ์ ื้นนนู
การพมิ พแ์ ม่พิมพ์พน้ื ราบ
การพิมพแ์ ม่พมิ พ์พน้ื ลกึ
การพิมพแ์ มพ่ มิ พ์พน้ื ฉลุ
การพิมพ์ดจิ ิทลั

วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม
เมอ่ื ศกึ ษาบทเรยี นจบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ
1. อธบิ ายความหมายการพมิ พบ์ รรจุภัณฑ์ได้
2. จำ�แนกระบบการพมิ พบ์ รรจุภัณฑ์ได้
3. อธิบายความหมายและหลักการการพมิ พแ์ ม่พมิ พ์พื้นนนู ได ้
4. อธบิ ายความหมายและหลักการการพมิ พ์แม่พิมพพ์ ้ืนราบได้
5. อธบิ ายความหมายและหลกั การการพิมพแ์ ม่พิมพพ์ ้ืนลึกได้
6. อธิบายความหมายและหลักการการพิมพแ์ ม่พมิ พ์พื้นฉลุได้
7. อธิบายความหมายและหลักการการพิมพ์ดิจทิ ลั ได้

30 weera.ch weera.ch

วธิ สี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน
1. วิธีสอน
1.1 วธิ ีสอนแบบบรรยาย
1.2 วธิ ีสอนแบบอภิปราย
1.3 วิธีสอนแบบเนน้ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองผา่ นเวบ็ ไซต์
2. กิจกรรมการเรยี นการสอน
2.1 น�ำ บรรจุภณั ฑใ์ นลกั ษณะต่าง ๆ มาให้ผูเ้ รียนสังเกต แลว้ ต้งั ค�ำ ถาม เพื่อบรรยายเขา้ สู่
เน้อื หาทตี่ อ้ งการ
2.2 บรรยายเน้อื หา อธิบายความหมายของระบบการพิมพบ์ รรจุภัณฑ์ ให้ผูเ้ รยี นอธิบาย
ความหมายของระบบการพิมพ์บรรจุภณั ฑ์
2.3 ให้ผเู้ รยี นอภปิ รายและยกตวั อยา่ งบรรรจุภัณฑ์แต่ละประเภท
2.4 ฝึกปฏบิ ัตกิ ารใช้เครอื่ งพิมพร์ ะบบตา่ ง ๆ
2.5 ตอบค�ำ ถามทบทวนท้ายบทท่ี 2

สอ่ื การเรียนการสอน
1. บรรจุภณั ฑ์ต่าง ๆ
2. ส่อื นำ�เสนอประกอบการสอนผ่านเวบ็ ไซตผ์ สู้ อน
3. หนงั สืออา่ นประกอบที่เก่ยี วขอ้ ง
4. การสืบคน้ ข้อมลู ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต

การวัดผลและการประเมินผล
1. สงั เกตจากการตอบค�ำ ถามของผ้เู รียน
2. สงั เกตจากการอภปิ รายและซักถามของผเู้ รยี น
3. ตรวจสอบการตอบค�ำ ถามทบทวนท้ายบท

31

บทท่ี 2
ระบบการพมิ พ์บรรจุภัณฑ์

บรรจภุ ัณฑ์ในปจั จบุ นั ไม่วา่ จะเปน็ บรรจภุ ัณฑช์ ัน้ ใด จะตอ้ งมีการพิมพข์ อ้ ความ ภาพ weera.ch weera.ch
ประกอบต่าง ๆ ลงบนบรรจุภณั ฑ์ เทคโนโลยกี ารพมิ พใ์ นทกุ ๆ ระบบได้รบั การพัฒนาเปน็ อย่างมาก
สามารถพิมพล์ งบนวัสดพุ มิ พ์ (substrate) ได้เกอื บทุกชนดิ เทคโนโลยีการพิมพท์ ่ีใช้ในปัจจบุ ันมหี ลาย
ระบบ มีการแบ่งระบบของเทคโนโลยีการพิมพ์ออกมาตามลักษณะตา่ ง ๆ เชน่ แบ่งตามลักษณะของ
แมพ่ ิมพ์ แบ่งตามลกั ษณะการใชแ้ รงกด (Impact) หรือไรแ้ รงกด (Non-Impact) แบง่ ตามยคุ ของ
เทคโนโลยีการพมิ พแ์ บบดงั้ เดมิ (Conventional Printing) และเทคโนโลยีการพมิ พแ์ บบดิจทิ ลั (Digital
Printing) ซึ่งไม่วา่ จะแบ่งเทคโนโลยกี ารพมิ พ์ในรูปแบบลักษณะใด เทคโนโลยกี ารพมิ พแ์ ต่ละระบบก็
สามารถตอบสนองความตอ้ งการของบรรจภุ ัณฑ์ ในการที่จะพิมพ์บรรจภุ ัณฑใ์ ห้สวยงาม

ความหมายของการพมิ พบ์ รรจุภัณฑ์
การพิมพบ์ รรจภุ ณั ฑ์ (Packaging Printing) มีความหมายเช่นเดียวกับการพมิ พ์โดย
ท่วั ไป (Printing) คอื การทำ�ให้เกดิ ภาพหรอื ขอ้ ความต่าง ๆ บนวัสดพุ ิมพ์ เช่น กระดาษ กระดาษลูกฟกู
พลาสติก โลหะ แกว้ ไม้ ดว้ ยวิธใี ด ๆ กไ็ ด้ จะใชแ้ รงกดหรอื ไมใช้แรงกดในการท�ำ ให้เกิดภาพหรือ
ขอ้ ความข้ึนก็ได้ จะใช้เครื่องกล หรอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์กไ็ ด้ จะพมิ พล์ งบนวสั ดุโดยตรง (Direct Printing)
หรือพมิ พโ์ ดยออ้ ม (Indirect Printing) ลงบนวสั ดอุ ่ืนแลว้ นำ�ไปหอ่ หมุ้ หรือยดึ ตดิ กับบรรจุภัณฑ์ รวมถงึ
การทำ�ใหเ้ กิดให้ภาพหรอื ข้อความโดยไม่ใช่หมึกพิมพก์ ไ็ ด้ โดยอาจจะใชแ้ รงกดอัด การพิมพบ์ รรจภุ ณั ฑม์ ี
เทคโนโลยีการพิมพเ์ ชน่ เดียวการพมิ พท์ วั่ ไป ซึง่ ตามหลกั ความจริงแลว้ การพมิ พ์บรรจุภัณฑ์เป็นสว่ นหนง่ึ
ของการพิมพ์ เทคโนโลยกี ารพิมพ์ท่ใี ชเ้ ปน็ เทคโนโลยีตัวเดยี วกนั ไม่วา่ จะเป็นระบบการพิมพ์แมพ่ มิ พ์
พ้นื นนู การพิมพ์แม่พมิ พ์พน้ื ราบ การพิมพแ์ ม่พิมพ์พื้นลึก การพิมพ์แม่พมิ พ์พ้ืนฉลุ รวมทั้งการพิมพไ์ ร้
แมพ่ ิมพ์ อาจมีความแตกต่างในเร่ืองกระบวนการหลงั พมิ พ์และการแปรรูปทม่ี ีข้ันตอนการท�ำ ซบั ซ้อน
กว่าการพิมพ์ทั่วไป ดังนัน้ การเลือกใชเ้ ทคโนโลยกี ารพิมพร์ ะบบใดใหเ้ หมาะสมกบั การพิมพบ์ รรจภุ ณั ฑ์
ต้องข้นึ อย่ปู จั จยั หลายอย่าง เช่น วสั ดุทีใ่ ชพ้ ิมพ์ ความสามารถในการพิมพ์แต่ละระบบ จำ�นวนการผลิต
ต้นทนุ การผลติ ในแตล่ ะระบบ เปน็ ต้น

32 weera.ch weera.ch

ระบบการพมิ พบ์ รรจุภณั ฑ์
การพิมพบ์ รรจุภณั ฑ์ เปน็ การทำ�ใหเ้ กิดภาพหรือข้อความตา่ ง ๆ ตามที่ได้ออกแบบไว้
ซง่ึ ต้องอาศัยเทคโนโลยีการพิมพ์ในระบบต่าง ๆ มาใช้ ระบบการพมิ พ์ (Packaging Printing Solution)
ที่น�ำ ใช้พมิ พ์บรรจภุ ัณฑน์ ้นั มีการแบง่ ระบบในลักษณะตา่ ง ๆ หลายลักษณะ ในท่ีนจี้ ะแบ่งระบบการ
พมิ พ์ตามลกั ษณะของแมพ่ มิ พ์เป็นหลกั โดยแบ่งออกเปน็ 5 ระบบ ได้แก่
1. การพิมพแ์ มพ่ มิ พ์พ้นื นนู (Relief Printing)
2. การพิมพแ์ ม่พมิ พพ์ ื้นราบ (Planographic Printing หรือ Flat Plate Printing)
3. การพมิ พแ์ มพ่ มิ พ์พ้ืนลกึ (Recess Printing)
4. การพิมพแ์ มพ่ ิมพ์พื้นฉลุ (Stencil Printing)
5. การพิมพ์ดิจทิ ัล (Digital Printing)
ซงึ่ การพมิ พท์ ั้ง 5 ระบบนเ้ี ปน็ ระบบการพมิ พ์ที่มีคณุ ลกั ษณะแตกตา่ งกัน บางระบบก็
สามารถใช้พิมพ์บรรจภุ ัณฑไ์ ดห้ ลายรูปแบบ บางระบบกเ็ หมาะสำ�หรับบรรจุภณั ฑ์บางประเภท บาง
ระบบกช็ ว่ ยในการตกแต่งบรรจุภัณฑ์ให้ดูดีขึ้น ซึ่งสามารถอธบิ ายระบบการพมิ พท์ ใ่ี ชพ้ ิมพบ์ รรจุภณั ฑ์
แต่ละระบบไดด้ ังต่อไปนี้

การพิมพ์แม่พิมพพ์ น้ื นนู
ในระบบการพมิ พ์บริเวณท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดภาพหรอื ขอ้ ความ ซึง่ เราจะเรยี กวา่ บรเิ วณ
ภาพ (Image Areas) และบริเวณทไ่ี ม่ต้องการใหเ้ กิดภาพหรือข้อความ เราจะเรียกวา่ บริเวณไรภ้ าพ
(Non-Image Areas) การพมิ พ์แม่พิมพพ์ ื้นนนู (Relief Printing) เปน็ ระบบการพิมพ์ท่มี ลี ักษณะของ
ในบรเิ วณภาพจะนนู สูงขึน้ กว่าบรเิ วณไรภ้ าพ เม่ือหมึกผ่านบรเิ วณภาพบนแม่พมิ พ์ซง่ึ อยู่สงู หมกึ พมิ พจ์ ะ
เกาะบนแมพ่ ิมพ์ สว่ นท่ีไร้ภาพจะอย่ตู า่ํ กว่า จงึ ไม่มีหมกึ พิมพ์อยูบ่ นบรเิ วณไรภ้ าพ เมื่อถ่ายทอดหมกึ ไป
ยังวัสดุจะมีเพียงหมึกพิมพ์ท่ีติดอยู่บนแม่พิมพ์ท่ีเป็นบริเวณภาพเท่าน้ันที่จะสามารถถ่ายทอดหมึกพิมพ์
ไปยังวสั ดพุ ิมพ์ได้ ดงั แสดงในภาพท่ี 2.1

ภาพท่ี 2.1 หลกั การพิมพ์แมพ่ ิมพพ์ ืน้ นูน (lestaret wordpress, 2010)

weera.ch weera.ch 33

ระบบการพิมพแ์ มพ่ ิมพพ์ น้ื นูนทใี่ ชก้ ันในปจั จบุ ัน สามารถจำ�แนกตามช่ือของเทคโนโลยี
การพิมพแ์ ม่พิมพพ์ ้ืนนนู ได้ 3 ระบการพิมพ์ ไดแ้ ก่
1. การพิมพ์เลตเตอรเ์ พรสส์ (Letterpress Printing) เปน็ ระบบการพิมพท์ เี่ ก่าแกท่ ส่ี ุด
แต่ยังใช้เป็นระบบทยี่ ังใชง้ านไดใ้ นปัจจบุ ัน แต่อาจมีการพฒั นาการของเทคโนโลยไี มม่ ากนัก การพิมพ์
เลตเตอรเ์ พรสส์นเี้ ป็นระบบการพมิ พ์ทแ่ี มพ่ ิมพท์ �ำ จากวสั ดุ (Material) หลายชนิด ได้แก่
แมพ่ ิมพต์ วั รอ้ น (Hot Type) หรือแมพ่ ิมพต์ ัวเรยี งโลหะ บางทีกเ็ รยี ก Hot Metal
Typesetting ทำ�จากโลหะผสมระหวา่ ง พลวง ตะกวั่ และดบี กุ ดังแสดงในภาพที่ 2.2 ภาพซา้ ยมอื
ลกั ษณะจะเป็นตวั อักษรเป็นตวั ๆ แล้วนำ�มาเรียงตอ่ กันเป็นขอ้ ความหรือประโยคทเ่ี ราตอ้ งการ แม่พิมพ์
จะมีลักษณะเป็นตัวกลับจากซ้ายเป็นขวาจากขวาเปน็ ซ้าย แม่พิมพช์ นิดนไ้ี ม่สามารถท�ำ เปน็ ภาพตา่ ง ๆ
ได้ จงึ เหมาะแก่การพมิ พ์บรรจภุ ณั ฑท์ ีม่ ีแต่ตัวอกั ษร
แมพ่ มิ พ์บล็อกโลหะ (Metal Block) ท�ำ จากสังกะสผี สมดบี ุก ดังแสดงในภาพที่ 2.2
ภาพกลาง ลักษณะของแม่พมิ พจ์ ะเปน็ ตวั กลบั เช่นเดยี วกบั แม่พิมพ์ตวั รอ้ น สามารถทำ�ได้ท้ังลายเส้น
และภาพสกรนี เหมาะสำ�หรบั การพิมพ์ข้อความภาพต่าง ๆ ที่จะลงบนบรรจุภณั ฑ์ สามารถพิมพ์ได้ท้งั
งานพมิ พ์สเี ดียว งานพิมพห์ ลายสี และงานพิมพส์ อดสี
แม่พมิ พ์บลอ็ กพลาสตกิ หรือแม่พิมพบ์ ล็อกพอลิเมอร์ (Polymer Block) ท�ำ จากสาร
ไนลอนพวกพอลเิ มอร์ ดังแสดงในภาพที่ 2.2 ภาพขวามอื ลกั ษณะของแม่พิมพจ์ ะเปน็ ตัวกลบั เชน่ เดยี ว
กับแมพ่ ิมพ์ตัวร้อนและแม่พิมพ์บล็อกโลหะ สามารถทำ�ไดท้ ัง้ ลายเส้นและภาพสกรีน สามารถพมิ พ์ไดท้ ้งั
งานพมิ พส์ เี ดียว งานพิมพ์หลายสีและงานพมิ พส์ อดสี ปจั จบุ นั การท�ำ บลอ็ กพอลิเมอร์ได้รับการพัฒนา
จนสามารถพิมพง์ านท่ีมคี วามละเอยี ดไดค้ ่อนข้างสงู

แม่พิมพต์ วั รอ้ น แมพ่ มิ พบ์ ลอ็ กโลหะ แมพ่ ิมพ์บล็อกพลาสตกิ

ภาพที่ 2.2 แม่พมิ พ์การพิมพ์เลตเตอร์เพรสส์

34 weera.ch weera.ch

2. การพมิ พ์เฟล็กโซกราฟี (Flexography Printing) เดมิ เรยี กวา่ การพิมพแ์ อนลิ นี
(Aniline Printing) เป็นระบบการพิมพแ์ ม่พิมพ์พ้ืนนนู ทไ่ี ดร้ ับการนยิ มอยา่ งมาก ในการพิมพ์ลงบน
วัสดพุ มิ พ์ประเภทกระดาษลกู ฟูกและฟิล์มพลาสติก ปจั จบุ ันการพิมพ์เฟล็กโซกราฟีสามารถพมิ พง์ าน
ได้มีความละเอียดเทียบเท่ากับการพิมพอ์ ออฟเซต การพิมพ์เฟล็กโซกราฟีนอกจากพิมพ์ลงบนกระดาษ
กระดาษลูกฟูกและฟลิ ์มพลาสตกิ แลว้ ยงั สามารถพมิ พล์ งบนวัสดุพิมพ์ประเภทแผน่ เปลวอะลมู เิ นียม
ได้ด้วย บรรจุภัณฑ์ทพี่ มิ พด์ ว้ ยเฟลก็ โซกราฟี เช่น ถุงกระดาษ กล่องลกู ฟกู ถงุ พลาสตกิ พลาสติกสาน
กระดาษช�ำ ระ กระดาษปดิ ผนัง (Wallpaper) กระดาษน้าํ ตาล ถงุ พลาสตกิ บรรจอุ าหาร เป็นต้น
แม่พิมพ์เฟล็กโซกราฟีมีทั้งชนิดที่ทำ�จากยางธรรมชาติและทำ�จากสารสังเคราะห์ประเภท
พอลเิ มอร์ ดงั แสดงในภาพที่ 2.3 ซง่ึ แมพ่ มิ พย์ างธรรมชาติ (Rubber Plate) เป็นแมพ่ ิมพท์ ี่ท�ำ จาก
ยางพารา มคี วามหนาประมาณ 6-7 มิลลเิ มตร แมพ่ ิมพ์ยางธรรมชาติมักมปี ัญหาเรื่องการยดื หย่นุ ความ
คงทน การคงรูปหรือการคงสภาพของยาง และความเรียบไมส่ มาํ่ เสมอตลอดแผ่น จึงทำ�ใหค้ ุณภาพงาน
พิมพ์ที่ออกมาไม่สวยงามเทา่ ทคี่ วร ในปจั จุบนั จึงใชย้ างสังเคราะหป์ ระเภทพอลเิ มอรท์ ำ�แมพ่ ิมพม์ ากกวา่
ซึ่งมดี ้วยกันหลายชนิด ไดแ้ ก่ แม่พมิ พโ์ ฟโตพอลเิ มอร์ (Photopolymer Plate) เปน็ แม่พิมพท์ ่ีใชแ้ สง
ยูวีช่วยในการท�ำ ใหแ้ มพ่ ิมพ์แข็งตัว ลักษณะแม่พิมพจ์ ะคลา้ ยยางมคี วามยืดหยุน่ มีทัง้ ชนิดท่ีเปน็ แมพ่ มิ พ์
เปน็ แผ่น (Solid Photopolymer) และแมพ่ ิมพ์ชนดิ เหลว (Liquid Photopolymer) แม่พมิ พ์ดราย
เทอรม์ อลโฟโตพอลเิ มอร์ (Dry Thermal Photopolymer Plate) เปน็ แมพ่ ิมพ์ใช้ความรอ้ นชว่ ยท�ำ ให้
ลดการใช้ตัวทำ�ละลายหรือสารละลายนํ้า แม่พมิ พ์ดจิ ทิ ัลโฟโตพอลเิ มอร์ (Digital Photopolymer
Plate) เปน็ แมพ่ มิ พ์ทส่ี รา้ งภาพพิมพ์โดยไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยการตดิ แผน่ พอลเิ มอร์บนกระบอกท่ีจะใช้ท�ำ
เปน็ แมพ่ ิมพจ์ ากนั้นส่งสญั ญาณภาพในรูปของสัญญาณดิจทิ ลั สั่งใหแ้ สงเลเซอร์ยงิ ใหเ้ กดิ การสรา้ งภาพ
บนกระบอก จากน้ันกดั ผิวพอลิเมอรบ์ นกระบอกทำ�ให้เกิดเปน็ ภาพขึ้น

ภาพที่ 2.3 แมพ่ มิ พเ์ ฟล็กโซกราฟี (Flint Group, 2015)

35 weera.ch weera.ch

การพิมพเ์ ฟลก็ โซกราฟีเป็นระบบการพมิ พ์ทีใ่ ช้หมกึ เหลวในการพิมพ์ จงึ จำ�เปน็ ตอ้ งมตี วั
พาหมกึ พมิ พไ์ ปส่งบนแม่พมิ พ์ ซึ่งเราเรียกวา่ ลกู กลิง้ แอนิลอ็ กซ์ (Anilox Roller) หรือลูกกลง้ิ มเิ ตอร์
(Meter Roller) ดังแสดงในภาพที่ 2.4 เปน็ ลกู กลง้ิ โลหะโดยผิวส่วนบนเคลือบด้วยโครเมยี มหรือเซรามกิ
มลี ักษณะเป็นบอ่ เล็ก ๆ (Cell) สำ�หรับขังหมกึ ไว้ ซึ่งเรียกว่า บ่อหมึก เพือ่ ถ่ายทอดหมึกไปสู่แม่พมิ พ์

บอ่ หมกึ

ภาพท่ี 2.4 ลูกกลิง้ แอนลิ อ็ กซ์

3. การพมิ พอ์ อฟเซตแหง้ หรอื การพิมพด์ รายออฟเซต (Dry Offset Printing) บางที
ก็เรยี ก (Letterset Printing) เป็นระบบการพิมพ์แมพ่ มิ พพ์ น้ื นนู มลี กั ษณะของหลักการพิมพแ์ ตก
ตา่ งกับการพมิ พ์เลตเตอรเ์ พรสส์และการพิมพเ์ ฟลก็ โซกราฟี เพราะท้ังสองเทคโนโลยีจะเป็นการพิมพ์
โดยตรง (Direct Printing) หมายความว่าแมพ่ ิมพ์จะสมั ผัสกับวสั ดุพิมพโ์ ดยตรง ส่วนการพมิ พด์ รา
ยออฟเซตจะเป็นการพมิ พ์โดยอ้อม (Indirect Printing) โดยแม่พมิ พ์จะไม่สมั ผัสกบั วสั ดุพมิ พแ์ ต่จะมี
การถ่ายโอนหมึกจากแม่พิมพ์ไปสู่ตัวกลางในการรับถ่ายโอนหมึกแล้วจึงถ่านโอนหมึกจากตัวกลางไป
ส่วู สั ดพุ ิมพ ์ ซง่ึ ตัวกลางในการรับถา่ ยโอนหมกึ น้ีจะมลี กั ษณะเป็นโมผ้ายาง เราเรียกวา่ แบลง็ ค์แเคท็
(Blanket) หรือแบล็งค์เก็ท ลกั ษณะของแมพ่ ิมพ์ดรายออฟเซตก็จะเปน็ แม่พิมพ์ตัวตรงสามารถอา่ นได ้
ดังแสดง ในภาพที่ 2.5

ภาพที่ 2.5 แม่พมิ พ์ดรายออฟเซต

36

การพมิ พ์แม่พมิ พพ์ ืน้ ราบ
การพมิ พ์แมพ่ มิ พ์พื้นราบ (Planographic Printing หรือ Flat Plate Printing) เป็น
ระบบการพิมพท์ ี่บริเวณภาพและบริเวณไร้ภาพอยูใ่ นระนาบเดียวกัน การพิมพ์แมพ่ ิมพพ์ ้ืนราบทเ่ี รา
มาใชใ้ นการพมิ พ์บรรจุภณั ฑม์ ีเพียงระบบเดยี วคอื การพมิ พอ์ อฟเซตลิโทกราฟี (Offset Lithography
Printing) หรือเรามกั เรียกสั้น ๆ ว่า การพิมพ์ออฟเซต แมพ่ ิมพอ์ อฟเซตเป็นแมพ่ ้นื พนื้ ราบ การแบ่งแยก
กันระหวา่ งบริเวณภาพและบริเวณไรภ้ าพ อาศัยหลกั การน้าํ กบั นาํ้ มนั ไม่รวมกัน กล่าวคอื แมพ่ มิ พจ์ ะ
ผา่ นระบบนาํ้ ก่อน นํ้าจะเคลอื บบนแม่พมิ พ์ บรเิ วณภาพจะเปน็ ตวั รบั หมึกพมิ พ์และผลกั ดนั น้ําที่เคลือบ
อยู่ เพราะหมกึ พิมพ์มีคุณสมบัติเปน็ ไขมนั จึงไปจบั บนบริเวณภาพ ส่วนบรเิ วณไรภ้ าพจะรับน้าํ และผลกั
ดนั หมกึ ออก เพราะบริเวณไร้ภาพไม่มีส่วนของไขมนั จึงทำ�ใหน้ าํ้ เข้าไปอยใู่ นบรเิ วณนัน้ และท�ำ ใหห้ มึก
ไม่สามารถเขา้ ไปได้ การพิมพ์ออฟเซตเปน็ การพมิ พโ์ ดยอ้อมลักษณะเดียวกับการพิมพ์ดรายออฟเซต
ต่างกนั ตรงท่ีการพมิ พ์ดรายออฟเซตเปน็ แมพ่ มิ พ์พ้ืนนูน และไม่มนี ํ้ามาเกย่ี วขอ้ งกับกระบวนการพมิ พ์
ดังแสดงในภาพที่ 2.6
weera.ch weera.ch
ลกู กลิ้งนํ้า ลูกกล้ิงหมึก
โมแมพ่ มิ พ์

วสั ดพุ มิ พ์ โมผา้ ยาง
โมกดพมิ พ์

ภาพที่ 2.6 หลักการพิมพอ์ อฟเซต

แม่พมิ พอ์ อฟเซตทำ�จากวัสดุหลายประเภท เชน่ กระดาษเคลอื บ พลาสติกและ
อะลูมิเนียม วสั ดทุ ใ่ี ช้มากที่สุดคอื อะลมู เิ นียม ดงั แสดงในภาพท่ี 2.7 ขนาดของแมพ่ มิ พ์ขึ้นอยู่กับขนาด
ของเคร่อื งพมิ พ์ทจ่ี ะใชพ้ มิ พ์ การพมิ พอ์ อฟเซตเป็นระบบการพมิ พท์ ่ีใช้พิมพ์บรรจภุ ณั ฑ์กระดาษมากทส่ี ดุ

37

weera.ch weera.chภาพท่ี 2.7 แมพ่ ิมพ์ออฟเซต

การพิมพแ์ มพ่ มิ พพ์ ื้นลกึ
การพิมพแ์ ม่พมิ พ์พน้ื ลกึ (Recess Printing) เป็นระบบการพมิ พท์ ีบ่ รเิ วณในแมพ่ ิมพม์ ี
ความลกึ ลงไปกว่าพืน้ ปกติ แตร่ ะดับความลกึ ไม่ได้ลึกมากมหี น่วยเป็นไมครอน การพิมพ์แบบน้เี ปน็ การ
พมิ พโ์ ดยตรงท่แี ม่พมิ พ์จะสมั ผสั กับวัสดพุ ิมพ์โดยตรง โดยมีหลักการพิมพค์ อื หมกึ พิมพจ์ ะมีความเหลว
เพ่ือใหส้ ามารถไหลลงไปในพื้นทีล่ กึ ของแม่พิมพไ์ ด้ หมกึ พมิ พ์จะถกู ปาดลงบนแมพ่ มิ พ์สว่ นทเี่ ปน็ บรเิ วณ
ภาพจะขังหมึกไว้ ส่วนบริเวณไร้ภาพบนแมพ่ ิมพจ์ ะมหี มกึ พิมพเ์ ลอะอยจู่ งึ ต้องมีมดี ปาดหมึกหรือผา้ เช็ด
บริเวณไร้ภาพไม่ใหม้ หี มึกพิมพ์อยู่ จึงจะใชแ้ รงกดพมิ พใ์ นการกดอดั หมกึ พิมพ์ทข่ี งั อยู่ในแม่พมิ พ์ ถ่าย
โอนหมึกออกมาบนวสั ดพุ มิ พ์ ดงั แสดงในภาพที่ 2.8 การพิมพ์พืน้ ลึกทีเ่ ราน�ำ มาใช้ในการพิมพบ์ รรจภุ ณั ฑ์
มีดว้ ยกนั 2 ระบบการพมิ พ์ คอื การพิมพ์ระบบกราเวียร์ และการพิมพร์ ะบบแพด ซง่ึ สามารถอธิบายได้
ดงั น้ี

โมกดพมิ พ์

วสั ดพุ ิมพ์

โมแม่พิมพ์

มีดปาด

หมกึ พิมพ์

ภาพที่ 2.8 หลกั การพิมพ์แมพ่ มิ พ์พื้นลึก

38 weera.ch weera.ch

1. ระบบการพมิ พ์กราเวียร์ (Gravure Printing) หรือการพมิ พ์กราวัวรเ์ ป็นวธิ กี ารพมิ พ์
พนื้ ลึกท่นี ิยมใชใ้ นงานพิมพ์สง่ิ พิมพ์บรรจุภณั ฑ์ประเภทพลาสตกิ หมึกพิมพม์ คี วามใสท�ำ ใหพ้ มิ พ์ลงบน
ผิวพลาสติกได้สวยงาม แม่พิมพจ์ ะทำ�ดว้ ยโลหะประเภททองแดงและเคลือบด้วยโครเมียมบาง ๆ เพ่อื
ปอ้ งกันผวิ แม่พมิ พไ์ มใ่ หส้ กึ กร่อนไดง้ า่ ย มคี วามคงทนสูง สามารถพิมพส์ ่ิงพิมพ์ไดจ้ ำ�นวนมาก ๆ มี
ความเร็วในการพิมพส์ ูง ลกั ษณะของแม่พมิ พ์จะเป็นโมทรงกระบอก ดังแสดงในภาพท่ี 2.9 แมพ่ มิ พ์
มลี กั ษณะเปน็ บ่อเลก็ ๆ เรยี กวา่ เซลล์ (Cell) แตล่ ะเซลลจ์ ะแยกจากกันโดยมผี นงั เซลล์ (Wall Cell)
หรอื กำ�แพงมาก้นั ซง่ึ สว่ นทีเ่ ป็นผนังเซลล์น้คี ือสว่ นบรเิ วณไรภ้ าพของแม่พมิ พ์กราเวยี ร์ แมพ่ มิ พจ์ ะมีบ่อ
เลก็ ๆ นบั หม่ืนบอ่ ตอ่ ตารางนิว้ ขนาดของบ่อไมเ่ ท่ากนั แตค่ วามลกึ ของบอ่ เท่ากนั หรืออาจจะเปน็ ชนดิ
ขนาดของบอ่ เท่ากันแตค่ วามลึกของบ่อไม่เทา่ กัน บ่อเหลา่ นี้จะรบั หมึกพมิ พ์สำ�หรบั ถา่ ยโอนหมึกพิมพ์
ลงวสั ดพุ มิ พ์ เมือ่ วสั ดพุ ิมพถ์ ูกแรงกดลงบนผวิ แม่พิมพ์ ความเข้มของสหี มึกพมิ พ์ขึ้นอยู่กบั ความลกึ หรอื
ขนาดของบอ่ บรเิ วณสว่างของพ้นื ทบ่ี ริเวณภาพ (Highlight) บอ่ หมกึ จะมีขนาดเลก็ หรอื ตื้น สว่ นบริเวณ
เงามืดของพน้ื ทบ่ี รเิ วณภาพ (Shadow) บอ่ หมึกจะมีขนาดใหญ่หรือลกึ


ภาพที่ 2.9 แมพ่ มิ พก์ ราเวียร์

หมึกพิมพ์กราเวยี ร์จะมีลักษณะเหลว ไหลได้ดีเหมอื นนา้ํ มคี วามหนดื ตาํ่ ทัง้ นเ้ี พอื่ ให้หมึก
พิมพส์ ามารถเขา้ แทรกในบ่อหมกึ บนแม่พิมพไ์ ด้ดี หมกึ พมิ พจ์ ะแหง้ โดยการระเหย ซึ่งสว่ นใหญใ่ ชว้ ิธี
เปา่ ลมรอ้ นลงไปบนวัสดุพิมพ์เปน็ ผลใหห้ มกึ แห้งตัวทันที ตวั ท�ำ ละลายในพิมพก์ ราเวยี ร์ส่วนใหญเ่ ป็น
ตัวทำ�ละลายประเภทนาํ้ มัน เช่น คีโตน เอสเทอร์ โทลอู นี สารพวกนมี้ ีกลนิ่ แรงและอาจเปน็ อนั ตรายตอ่
ผ้ทู ต่ี อ้ งสมั ผัสเกยี่ วข้องกับหมึกพมิ พ์ ปัจจุบนั มีการพัฒนาให้หมึกพมิ พ์กราเวียร์สามารถใช้นํา้ เป็น
ตวั ทำ�ละลายได้บา้ ง แต่ยังไมส่ ามารถพมิ พ์ลงบนวสั ดุพิมพ์ได้ทกุ ชนิด

39 weera.ch weera.ch

2. ระบบการพมิ พแ์ พด (Pad Printing) หรอื บางทกี ็เรียกวา่ การพมิ พท์ รานเฟอร์แพด
(Transfer Pad Print) หรอื การพิมพแ์ ทมโป (Tampo Printing) เปน็ วิธกี ารพมิ พ์แมพ่ มิ พ์พ้นื ลึกลักษณะ
เดียวกบั การพมิ พก์ ราเวยี ร์ กลา่ วคือบรเิ วณภาพท่ีมีลักษณะเป็นร่องลึกลงไปจะอยู่ตา่ํ กว่าบรเิ วณไร้ภาพ
การพิมพแ์ พดจะมใี บปาดหมกึ พมิ พ์ท่ีล้นจากร่องแม่พิมพใ์ หห้ มดไป ท�ำ ใหไ้ ม่มหี มึกเหลอื อยบู่ นบริเวณ
ไรภ้ าพของแมพ่ ิมพ์ หมกึ พมิ พ์จะขงั อยใู่ นรอ่ งแมพ่ มิ พเ์ ท่านัน้ ดังแสดงในภาพที่ 2.10 การถ่ายทอดหมึก
พิมพ์จากร่องแม่พิมพ์ไปยังวัสดุพิมพ์ต่างการพิมพ์กราเวียร์ ซ่ึงแม่พมิ พ์จะสัมผสั กับวัสดพุ ิมพโ์ ดยตรง
แตก่ ารพิมพ์แพดจะมตี วั กลางในการถา่ ยทอดหมึกพมิ พ์ จึงถอื วา่ เป็นการพมิ พโ์ ดยอ้อม ซ่ึงต้องอาศยั
ตัวกลางในการรับหมกึ พมิ พจ์ ากแม่พมิ พ์แล้วไปถา่ ยโอนหมึกไปสวู่ ัสดุพมิ พ์ ตวั กลางทใี่ ช้ไดแ้ ก่กอ้ นยาง
นุม่ โดยใชแ้ รงกดลงไปบนวัสดุพมิ พ์ กอ้ นยางท่นี ำ�มาใช้คือยางซิลิโคน ส่วนก้อนยางเราเรยี กวา่ ซิลโิ คน
แพด (Silicone Print Pad) การพมิ พแ์ พดนยิ มใช้พมิ พส์ ่ิงพมิ พ์บรรจุภณั ฑ์ประเภททขี่ น้ึ รูปมาแล้ว หรือ
ส่ิงพมิ พ์ท่ีมีขนาดไม่ใหญเ่ มือ่ เทียบกบั การพมิ พก์ ราเวยี ร์

ภาพท่ี 2.10 แม่พิมพ์แพด (Dingword.com, 2010)

ตวั ซิลโิ คนแพดนีเ้ ปรยี บไดก้ บั โมผ้ายางในระบบการพมิ พ์ออฟเซต การพิมพแ์ พดจึงจดั
เป็นการพิมพ์แบบออ้ ม การพมิ พแ์ พดสามารถพิมพล์ งบนวสั ดพุ มิ พห์ ลายประเภทและหลายรปู ทรง เช่น
ลูกกอลฟ์ แผน่ ซีดี แป้นพิมพ์คอมพวิ เตอร์ ลูกบาสเกตบอล แผงหนา้ ปัดเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า กล่องดนิ สอ
เซรามิก ฝาพลาสตกิ ขวดน้าํ ของเล่นเดก็ ข้อความหรอื ลวดลายบนปากกา กระดมุ หน้ากากเครอ่ื ง

40 weera.ch weera.ch

ใชไ้ ฟฟา้ สามารภพิมพล์ งบนวัสดพุ ิมพไ์ ด้หลายประเภท เชน่ กระดาษ ไม้ ผ้า หนงั พีวซี ี เป็นต้น
ซิลโิ คนแพดเรามักเรียกสน้ั ๆ ว่า แพด มีหนา้ ท่รี ับหมึกจากแม่พิมพ์ร่องลกึ แล้วถา่ ยโอนหมึกพมิ พล์ ง
ไปบนวสั ดพุ ิมพโ์ ดยใช้แรงกด ตัวแพดทำ�มาจากยางซิลิโคนผสมกบั น้ํามันซิลโิ คนและสารชว่ ยใหแ้ ขง็ ตวั
แพดจะมีความแขง็ มากหรอื นอ้ ยขน้ึ อยู่กบั ปริมาณยางซิลิโคนในสว่ นผสม ถา้ มีส่วนผสมของยางซลิ โิ คน
มาก แพดจะมีความแข็งมาก การแขง็ มากหรอื น้อยของแพดขน้ึ อยกู่ ับรูปทรงและผวิ ของวัสดุพมิ พ์แต่ละ
ชนิด แพดมคี ณุ สมบัตยิ ืดหยุ่นตวั ไดด้ ี ดังแสดงในภาพท่ี 2.11 เมือ่ แพดกดลงบนวัสดุพมิ พ์ท่ีมีรปู ทรง
ต่าง ๆ จะสามารถแนบกบั รปู ทรงหรือผวิ วัสดพุ มิ พไ์ ด้ดี ไมว่ า่ จะเปน็ รูปทรงราบหรอื โคง้ มน ผวิ เรยี บหรือ
ขรขุ ระ หลงั จากทีแ่ พดถ่ายโอนหมกึ พิมพโ์ ดยการกดลงบนวสั ดพุ ิมพ์แลว้ แพดจะกลบั คนื สูร่ ูปทรงเดมิ

ภาพที่ 2.11 ซิลิโคนแพด

การพิมพ์แม่พมิ พ์พนื้ ฉลุ
การพมิ พ์แม่พมิ พ์พน้ื ฉลุ (Stencil Printing) เปน็ ระบบการพมิ พ์ท่บี ริเวณภาพในแมพ่ มิ พ์
มกี ารเปดิ ช่องไวใ้ หห้ มึกพมิ พ์สามารถทะลุผ่านไปยงั วสั ดุพิมพไ์ ด้ ท�ำ ใหเ้ กิดเป็นลวดลายต่าง ๆ ตามทีไ่ ด้
เปิดชอ่ งในแมพ่ มิ พไ์ ว้ สว่ นบรเิ วณไรภ้ าพจะถูกปิดกนั้ ไวท้ �ำ ใหห้ มึกพิมพไ์ ม่สามารถทะลุผา่ นไปได้ หมกึ
พิมพ์ท่ีทะลุผ่านช่องเปิดของแม่พิมพ์จะมีปริมาณหมึกพิมพ์จำ�นวนมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับระบบ
การพิมพอ์ ่นื จึงเหมาะสำ�หรบั การพมิ พ์บนบรรจุภัณฑท์ ต่ี อ้ งการใหม้ ชี ้ันของหมึกพิมพ์หนา หรือบน
บรรจุภัณฑป์ ระเภททด่ี ดู ซบั หมึกพิมพม์ าก เชน่ บรรจุภัณฑ์ประเภทผา้ ระบบการพมิ พ์แม่พมิ พ์พ้นื ฉลทุ ่ี
นำ�ใชใ้ นการพิมพบ์ รรจภุ ณั ฑ์ ได้แก่ ระบบการพมิ พส์ กรีน
การพิมพ์สกรีน (Scree Printing) เป็นระบบการพมิ พท์ ใี่ ช้แมพ่ มิ พจ์ ากผา้ สกรีน (Screen
Fabric) ซึง่ จะถูกขงึ อยู่บนกรอบสกรนี หรือเฟรม (Screen Frame) การท�ำ ใหเ้ กดิ ภาพพมิ พบ์ นวสั ดพุ มิ พ์
โดยการปาดหมกึ ดว้ ยท่ปี าดหมึกหรอื เราเรียกวา่ ยางปาด (Squeegee) โดยยางปาดจะพาหมึกพมิ พ์ท่ี

41

เทไว้บนแม่พิมพใ์ หท้ ะลุผา่ นไปยงั วสั ดพุ มิ พโ์ ดยแมพ่ ิมพส์ กรีนจะมีท้ังบรเิ วณไร้ภาพ ซ่ึงหมกึ พิมพจ์ ะไม่
สามารถผา่ นทะลไุ ปได้ เน่ืองจากมวี สั ดุมาปิดกัน้ ไมใ่ ห้หมึกพมิ พท์ ะลผุ า่ นและบริเวณภาพทหี่ มึกพมิ พ์
สามารถทะลผุ ่านไดเ้ น่ืองจากไมม่ วี สั ดุใดมาปดิ กัน้ หมึกพมิ พ์ไว้ กจ็ ะเกดิ เป็นภาพตามทีเ่ ราทำ�แมพ่ ิมพไ์ ว ้
ซ่งึ แสดงหลักการพมิ พส์ กรนี ไว้ ดงั แสดงในภาพที่ 2.12

weera.ch weera.chกรอบแมพ่ มิ พ์ชอ่ งเปดิ ของผา้ สกรนี

วสั ดุอดุ ชอ่ งเปดิ ของผา้ สกรีน
ทป่ี าด

วัสดุพมิ พ์

ภาพท่ี 2.12 หลักการพิมพ์สกรนี

การพมิ พส์ กรีนสามารถพิมพ์ได้บนวสั ดพุ มิ พบ์ รรจุภณั ฑไ์ ด้หลายชนิด เชน่ กระดาษ
พลาสติก ผ้า ไม้ หนงั เซรามิก แก้ว เปน็ ตน้ ท้ังยังสามารถพมิ พไ์ ด้บนวสั ดพุ ิมพ์หลายรูปทรง เชน่
ทรงแบน ทรงกลม ทรงโค้ง เป็นตน้ นอกจากน้ียังสามารถพิมพ์ได้บนวสั ดทุ ม่ี ีขนาดเลก็ อยา่ งดา้ มปากกา
หรอื ขนาดใหญ่อยา่ งปา้ ยโฆษณาตดิ ขา้ งรถประจ�ำ ทางได้ ซึง่ ไม่สามารถพมิ พ์หรอื ไมเ่ หมาะสมกบั การ
พิมพ์ระบบอนื่
แม่พิมพ์สกรนี จะประกอบด้วยสว่ นสำ�คัญคือ กรอบสกรีนและผ้าสกรนี มดี ว้ ยกัน 2
ลกั ษณะคอื แมพ่ มิ พแ์ บบสเ่ี หล่ยี ม และแมพ่ มิ พ์ทรงกระบอก โดยแมพ่ มิ พ์แบบสี่เหลย่ี ม ดงั แสดงในภาพ
ที่ 2.13 เป็นแมพ่ ิมพ์การพิมพ์สกรนี ท่ีใชม้ ากทสี่ ุด กรอบสกรนี ทำ�จากวสั ดุได้หลายประเภท เชน่ ไม้
อะลูมิเนียม พลาสตกิ เป็นต้น ผา้ สกรีนจะมคี วามละเอียดของการเปดิ ช่องใหห้ มกึ พิมพไ์ หลผา่ นแตก

42

ตา่ งกนั กล่าวคือผา้ สกรนี ท่ีมีความละเอียดมากหมกึ พิมพ์จะทะลผุ ่านไดน้ ้อย เหมาะกับการพิมพง์ านที่
มีลวดลายเล็กหรอื ละเอียด สว่ นผา้ สกรีนที่มีความละเอยี ดตํา่ หมึกพิมพจ์ ะทะลุผ่านไดม้ าก จงึ ไมเ่ หมาะ
ส�ำ หรบั การพมิ พง์ านทีม่ รี ายละเอยี ดเล็ก ๆ ดงั นน้ั การเลอื กใชค้ วามละเอยี ดของผ้าสกรนี จงึ สง่ ผลโดย
ตรงตอ่ คุณภาพของงานพิมพส์ กรีนทไี่ ด้

weera.ch weera.chกรอบสกรีนไม้กรอบสกรีนอะลูมิเนียม

ภาพท่ี 2.13 กรอบสกรีนสเ่ี หล่ยี มแบบต่าง ๆ

นอกจากแมพ่ มิ พส์ กรีนแบบส่ีเหลย่ี มแลว้ ยงั มีแมพ่ มิ พส์ กรนี แบบทรงกระบอก ซ่งึ เป็นแม่
พิมพ์ทใี่ ชเ้ คร่อื งพิมพ์สกรนี โดยเฉพาะ ลกั ษณะเป็นทรงกระบอกผา้ สกรนี ทำ�จากโลหะเหล็กกล้า ทำ�จาก
นเิ กลิ หรืออะลมู เิ นียมนำ�มาทอเปน็ ผืนลักษณะแบบผ้าแลว้ หุ้มเข้ากบั โมทรงกระบอก ดงั แสดงในภาพที่
2.14 แมพ่ มิ พน์ ีม้ ักใชใ้ นการพิมพบ์ นผ้าม้วนเปน็ สว่ นใหญ่

ภาพท่ี 2.14 แมพ่ ิมพส์ กรนี แบบทรงกระบอก (Jet Technologies, 2016)

weera.ch weera.ch 43

คุณภาพของงานพมิ พ์สกรนี นอกจากขึน้ อย่กู ับแม่พมิ พส์ กรีนแลว้ ทป่ี าดหมึกกม็ สี ่วน
ส�ำ คัญในการทำ�ให้งานพมิ พ์มคี ณุ ภาพ สวยงาม มีปริมาณหมึกทผ่ี า่ นทะลุไปเหมาะสม ทง้ั นท้ี ีป่ าดหมึก
จะมีปลายทปี่ าดที่มีรูปทรงแตกตา่ งกัน เพ่อื ใช้ให้เหมาะสมกับงานพิมพแ์ ต่ละประเภท โดยสามารถ
จำ�แนกทป่ี าดหมกึ พมิ มพอ์ อกไดเ้ ปน็ 6 รูปทรง คอื
1. ที่ปาดปลายสีเ่ หลี่ยม (Square Edge) หรอื รูปสเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ มาตรฐาน (Standard
Rectangle Profile) ดงั แสดงในภาพที่ 2.15 (1) เปน็ ท่ปี าดที่มปี ริมาณหมึกทะลุผ่านช่องเปิดสกรีนนอ้ ย
ทีส่ ดุ เม่ือเทียบกับทีป่ าดปลายอืน่ ๆ เหมาะกบั งานพมิ พบ์ นวสั ดผุ ิวเรยี บ แบนราบพิมพง์ านท่ตี อ้ งการให้
มีปริมาณหมึกพมิ พ์ตดิ บนวสั ดพุ มิ พ์ในปริมาณที่นอ้ ย เหมาะสำ�หรบั งานท่เี ปน็ ลายเสน้ เลก็ ๆ ทต่ี ้องการ
ความคม หรือภาพสกรีนท่ตี อ้ งการปรมิ าณหมึกน้อย ใช้สำ�หรบั พมิ พ์กระดาษ วงจรอิเล็กทรอนกิ ส์
2. ทีป่ าดปลายสเ่ี หล่ยี มมุมมน (Square Edge with Round Corners) ดงั แสดงในภาพ
ท่ี 2.15 (2) เหมาะกบั งานลักษณะเดยี วกบั ท่ปี าดปลายส่เี หลีย่ ม แต่หมึกพิมพ์จะมีปรมิ าณมากกวา่
3. ที่ปาดปลายเฉียงขา้ งเดียว (Single-Sided Bevel Edge) ดงั แสดงในภาพที่ 2.15 (3)
เหมาะกบั งานพิมพ์บนวสั ดุทมี่ ผี วิ หน้าแข็ง เช่น กระจก แกว้ เซรามิก โลหะ ไม้ เป็นต้น
4. ที่ปาดปลายแหลมเฉียงสองขา้ งหรือรปู ตัววี (Double-Sided Bevel Edge) ดังแสดง
ในภาพที่ 2.15 (4) มกั ใช้ในเคร่อื งพิมพ์อัตโนมตั ิ เหมาะกบั งานพมิ พ์บนวัสดพุ ิมพท์ ีม่ ผี ิวโคง้ เช่น ขวด
วัสดทุ รงกลม เป็นต้น
5. ทปี่ าดปลายมนหรือรปู ตัวยู (Round Edge) ดังแสดงในภาพที่ 2.15 (5) เหมาะกบั งาน
พิมพท์ ตี่ ้องการให้มหี มกึ พมิ พ์ปริมาณมาก เชน่ งานพมิ พผ์ า้ เปน็ ต้น
6. ทป่ี าดปลายมนเฉยี งสองขา้ ง (Double-Sided Bevel and Flat Point Edge) ดัง
แสดงในภาพที่ 2.15 (6) เหมาะกบั งานพิมพป์ ระเภทเซรามิกหรืองานพมิ พผ์ ้าทีต่ อ้ งการหมึกพมิ พ์ใน
ปรมิ าณมาก

(1) (2) (3) (4) (5) (6)

ภาพที่ 2.15 ท่ีปาดหมึกพมิ พส์ กรนี รปู ทรงต่าง ๆ

44 weera.ch weera.ch

การพิมพด์ ิจทิ ลั
การพิมพ์ดิจิทัล (Digital Printing) เปน็ การพมิ พร์ ะบบไร้แมพ่ มิ พ์ ระบบไร้แรงกด
บางทีก็เรยี กระบบการพมิ พไ์ มส่ มั ผสั (Non-Impact Printing) หรือระบบไรส้ ัมผสั (Non-Contact,
Impactless Printing) เปน็ ระบบการพมิ พท์ ไ่ี มม่ แี ม่พมิ พ์มาเกีย่ วข้องกับกระบวนการพิมพ์ ชว่ ยให้ลด
ต้นทนุ การผลิตส่ิงพิมพพล์ งได้มากในกรณที พี่ ิมพจ์ ำ�นวนไมม่ าก หากพมิ พ์ส่งิ พมิ พจ์ �ำ นวนมากแล้วการ
พมิ พใ์ นระบบทใ่ี ช้แมพ่ มิ พ์จะมตี ้นทุนต่อหนว่ ยค่อนข้างถกู กว่า การพมิ พ์ไรแ้ มพ่ มิ พอ์ าศยั เทคโนโลยีที่
ก้าวหนา้ และใชร้ ะบบการส่งั การตา่ ง ๆ ดว้ ยคอมพิวเตอร์ สามารถพิมพส์ ง่ิ พมิ พต์ ่าง ๆ โดยไม่ต้องใช้
แมพ่ ิมพ์ แม้ว่าการพมิ พ์ไรแ้ ม่พมิ พบ์ างประเภทจะมลี กั ษณะคล้าย ๆ มีแม่พมิ พ์ ระบบการพมิ พ์นส้ี ามารถ
ปรบั เปล่ยี นบริเวณภาพได้เรือ่ ย ๆ จึงเป็นข้อได้เปรยี บกวา่ ระบบการพิมพ์ทีต่ อ้ งมีแมพ่ มิ พ ์ การพิมพ์
ไร้แม่พมิ พ์มีตน้ ทุนในการผลิตสิ่งพมิ พ์ใกล้เคยี งกนั ในหนึ่งหน่วยการพมิ พ์ ดงั นนั้ การพิมพไ์ รแ้ ม่พมิ พจ์ ึง
อาจไม่เหมาะกบั กบั การพมิ พ์สิง่ พมิ พ์จำ�นวนมาก ๆ นอกจากน้ยี งั มีการนำ�มาใชพ้ ิมพบ์ รรจภุ ัณฑ์สำ�หรบั
การทดลองตลาด การเปลยี่ นรูปลักษณ์ของบรรจภุ ณั ฑ์ การพิมพ์เพือ่ สง่ เสริมการขายในช่วงเหตุการณ์
ส�ำ คัญ ๆ ตา่ ง ๆ เชน่ ชว่ งการแขง่ ขนั กีฬาโอลิมปิค การแขง่ ขันฟุตบอลโลก กจ็ ะมกี ารนำ�ใชพ้ มิ พ ์
บรรจภุ ัณฑเ์ พ่ือส่งเสริมการขายในช่วงเทศกาลดงั กล่าว หรอื แมแ้ ต่มีการพมิ พ์ชอ่ื เล่นของคนจำ�นวน
หนึง่ ไปกบั ขวดน้าํ อัดลม เพ่อื ใหผ้ บู้ รโิ ภคเลือกชื้อ กส็ ามารถสง่ เสริมการขายไดเ้ ปน็ จ�ำ นวนมาก นบั วา่
ระบบการพิมพ์ไรแ้ ม่พิมพก์ ็สามารถชว่ ยในการสง่ เสริมการขายได้ ปัจจุบนั มกี ารน�ำ การพมิ พแ์ บบน้มี า
ใช้ในอตุ สาหกรรมบรรจุภณั ฑ์มากขน้ึ เรื่อย ๆ เพราะมีราคาถกู ลงกวา่ ในอดตี รวมทงั้ คุณภาพของงาน
พมิ พ์ทีไ่ ดก้ ็มคี วามสวยงามไมน่ ้อยไปกว่าการพมิ พแ์ บบใชแ้ มพ่ มิ พ์ จนผู้บริโภคอาจไม่สามารถแยกไดว้ า่
บรรจุภณั ฑ์แตล่ ะชน้ิ พมิ พก์ ารพิมพร์ ะบบใด ซ่ึงระบบการพิมพไ์ ร้แม่พมิ พ์ทนี่ �ำ มาใชพ้ ิมพบ์ รรจุภณั ฑ์
ได้แก่
1. การพมิ พ์พน่ หมึก (Inkjet Printing) เป็นระบบการพิมพท์ ่ีไม่ตอ้ งมีแมพ่ ิมพ์ ไมม่ ีแรงกด
ในการทำ�ให้เกิดภาพพมิ พ์ วธิ กี ารพิมพ์เพ่ือใหเ้ กดิ ภาพพิมพโ์ ดยการพ่นหมึกไปยังวสั ดพุ ิมพโ์ ดยตรง หมกึ
ทใี่ ชใ้ นการพมิ พ์พ่นหมึกนนั้ เนอื่ งจากตอ้ งใชก้ ารพน่ ท�ำ ใหเ้ กิดภาพข้ึน หมึกจงึ ตอ้ งมลี กั ษณะเหลวเหมือ
นนา้ํ ส่วนประกอบของหมึกก็มผี งสีหรือสียอ้ ม ผงสมี กั ไม่นยิ มใช้ เนื่องจากผงสมี อี นุภาคใหญ่ อาจทำ�ให้
เกิดปญั หาการอดุ ตนั ของหัวพ่นได้

45 weera.ch weera.ch

การพมิ พ์พ่นหมึกมีทั้งหมกึ พมิ พฐ์ านนํา้ (Water Based Ink) จะใช้นํา้ เป็นตวั ท�ำ ละลาย
ในระบบหมึก ข้อดคี อื ไม่เปน็ อนั ตรายตอ่ ผใู้ ช้งาน ส่วนข้อเสียคือ แห้งตัวช้า ใชส้ ารใหส้ ีประเภทสีย้อม
ดังนน้ั งานพิมพ์ทไี่ ดจ้ ึงมคี วามทนแสงทไ่ี มด่ ี แตใ่ ห้สีที่สดใส หมึกพมิ พร์ ะบบนม้ี ีใช้สำ�หรับเคร่อื งพิมพ์
ประเภทต้ังโตะ๊ สว่ นใหญเ่ ปน็ เครือ่ิ งพิมพพ์ ่นหมกึ ขนาดเล็ก มกั จะเปน็ เครอ่ื งพมิ พพ์ น่ หมึกทใี่ ช้ในบา้ น
หรอื สำ�นักงาน เครื่องพมิ พ์ทใี่ ช้หมึกฐานนาํ้ จึงไม่เหมาะกบั บรรจุภัณฑท์ ่ีอาจสมั ผัสกับนาํ้ หรอื ความชื้น
จะสง่ ผลใหห้ มึกพมิ พ์เลอะท่พี ิมพไ์ ปเลอะหรือเลอื นได้
หมกึ พิมพ์ฐานตัวทำ�ละลาย (Solvent Based Ink) ปรับปรงุ ในเรื่องของคุณสมบัตกิ าร
แห้งตวั และความคงทนใหม้ มี ากกวา่ หมึกฐานนา้ํ โดยการแห้งตวั น้ันตัวทำ�ละลายท่ีใช้จะระเหยไดเ้ รว็ กวา่
นาํ้ หรอื อาจจะเพมิ่ ในส่วนของหนว่ ยทำ�แห้ง (Dryer) เขา้ ไปก่อนถงึ หน่วยรับวัสดพุ ิมพ์ สว่ นความคงทน
น้ันเน่ืองจากการใช้สารสปี ระเภทผงสี จงึ ให้ความคงทนทด่ี ี แต่ลดความสดใสลง ข้อเสียส�ำ คญั คือ ตวั ท�ำ
ละลายที่ใช้เปน็ อันตรายตอ่ ผใู้ ชง้ าน เพราะจะเกดิ สารระเหยของตัวทำ�ละลาย เมือ่ ผูใ้ ชง้ านสูดดมเขา้ ไป
กอ่ ใหเ้ กิดผลเสียได้
หมกึ พิมพฐ์ านยวู ี (UV Ink) ไมม่ ีการใช้ตวั ทำ�ละลายท่ีก่อให้เกดิ อนั ตรายแก่คน แต่กม็ ีบาง
คนท่แี พต้ อ่ สารประกอบในหมึกพิมพ์ชนิดนี้ ในเรือ่ งของการแหง้ ตวั ของหมกึ พิมพ์นั้นใชเ้ วลาน้อยกวา่
แบบฐานตัวท�ำ ละลาย การแห้งตัวเกดิ จากปฏกิ ริ ยิ าทางเคมีจะใชร้ ังสีอัลตรา้ ไวโอเลต (Ultraviolet หรือ
UV) ท�ำ ใหเ้ กิดปฏิกิริยาการเกดิ พอลเิ มอร์ (Polymerization) หมกึ พมิ พจ์ งึ เปล่ยี นสภาพกลายเปน็ ชั้น
ฟลิ ์มพอลิเมอร์อย่างรวดเรว็ หมึกพมิ พร์ ะบบนนี้ ิยมใชใ้ นสำ�หรับเครือ่ งพิมพ์พ่นหมกึ ประเภทเชงิ พาณชิ ย์
มากกวา่ แบบต้งั โต๊ะ ดงั แสดงในภาพที่ 2.16

ภาพท่ี 2.16 เครอ่ื งพมิ พ์พ่นหมกึ เชิงพาณิชย์ (Canon Inc., 2016)

46 weera.ch weera.ch

ปัจจบุ นั มกี ารนำ�การพิมพ์พน่ หมกึ ใชพ้ มิ พ์บรรจุภัณฑ์ในรปู ลักษณะต่าง ๆ ทง้ั บนตัว
บรรจภุ ณั ฑเ์ อง หรือฉลากตดิ บรรจุภัณฑ์ ส่วนคณุ ภาพความละเอียดของงานพิมพ์ขึน้ อย่ปู ระสิทธิภาพ
ของเคร่ืองพมิ พ์เปน็ หลกั ซงึ่ มที ง้ั เครื่องพมิ พ์พน่ หมกึ ทีม่ ีคณุ ภาพงานธรรมดา จนถงึ คุณภาพงานพิมพ์
คุณภาพสูง ดงั แสดงในภาพที่ 2.17

ภาพที่ 2.17 เคร่ืองพมิ พ์พ่นหมึกทีใ่ ชพ้ ิมพ์บรรจภุ ัณฑ์ประเภทกลอ่ งลกู ฟกู
(C-Tec Systems Limited, 2015)

2. การพมิ พด์ ว้ ยประจุไฟฟา้ สถติ หรอื การพิมพอ์ เิ ลก็ ทรอโฟโตกราฟี (Electrophoto
graphy Printing) เปน็ ระบบการพมิ พ์ดิจทิ ัลประเภทหนึ่งทอ่ี าศัยหลกั การไฟฟ้าสถิต (Electrostatic)
ซึ่งเปน็ วธิ กี ารพิมพท์ ใ่ี ชห้ ลกั การดงึ ดูดกันระหวา่ งประจไุ ฟฟา้ ตา่ งชนดิ กัน สว่ นประจไุ ฟฟ้าชนดิ เดยี วกัน
จะผลกั ดนั ซ่ึงกนั และกัน การพมิ พอ์ ิเลก็ ทรอโฟโตกราฟีนไ้ี มต่ อ้ งมีแม่พิมพเ์ หมอื นกับการพมิ พ์พน่ หมกึ
การสรา้ งบริเวณภาพใหเ้ กดิ ขึ้นจะมีการสร้างภาพแฝงบนดรมั บนั ทึกภาพ (Recording Medium Drum)
ซึ่งมีลักษณะคลา้ ย ๆ แม่พิมพใ์ นระบบทต่ี ้องมีแม่พิมพ์ โดยบริเวณภาพบนดรมั จะมีประจุไฟฟา้ สถติ
หมกึ พมิ พจ์ ะถูกดูดข้นึ ไปเกาะตดิ บนบรเิ วณภาพ เม่อื วสั ดผุ า่ นหมกึ พมิ พท์ เ่ี กาะอยูบ่ ริเวณภาพจะถกู ลบ
ประจไุ ฟฟา้ สถิต หมกึ พมิ พจ์ ะกองบนวสั ดุพมิ พแ์ ละผา่ นตัวความร้อนทำ�ใหห้ มึกพมิ พเ์ กาะบนวสั ดพุ มิ พ์
ได้ เม่อื พิมพเ์ สรจ็ ดรัมก็จะไปรบั ขอ้ มูลใหมแ่ ละถา่ ยโอนหมกึ พมิ พ์ตอ่ ไป การท่ีดรมั ตอ้ งสรา้ งภาพแฝง
ใหมท่ กุ ครง้ั จงึ ท�ำ ให้สามารถเปล่ียนแปลงขอ้ มลู ได้ง่าย ไมจ่ �ำ เปน็ ต้องพมิ พ์จำ�นวนมาก เพราะต้นทุนใน
การผลติ สงิ่ พิมพ์ต่อแผน่ คงทีไ่ มว่ า่ จะผลติ แผน่ ที่ 1 หรือแผ่นที่ 100 ก็มตี ้นทนุ ในการผลติ ตอ่ แผ่นเทา่ กัน

47 weera.ch weera.ch

ในอดตี สามารถผลติ งานพิมพไ์ ดเ้ พียงสดี ำ�สเี ดียว ได้มกี ารพฒั นาข้นึ เรือ่ ย ๆ จนสามารถพมิ พง์ านสอดสี
ได้ จงึ มกี ารน�ำ การพมิ พแ์ บบนีม้ ารองรับงานในลักษณะที่เรยี กว่า งานพิมพ์ตามสั่ง (Print on Demand)
หรือการพมิ พ์เทา่ จำ�นวนทต่ี ้องการจริง ไมจ่ �ำ เป็นต้องพิมพเ์ ผือ่ เสีย อกี ทั้งยังสามารถพมิ พ์งานได้อยา่ ง
รวดเรว็ เราจึงมกั เห็นวา่ ตามแหลง่ ใกล้สถานทศี่ ึกษา สำ�นกั งาน ตามห้างสรรพสนิ ค้าต่าง ๆ จะมรี ้าน
ใหบ้ ริการงานพิมพ์ด่วนท่เี ราเรียกว่า Print Express หรือแมแ้ ต่ร้านท่ใี หบ้ รกิ ารถ่ายส�ำ เนาถ่ายเอกสาร
ท่เี ราเห็นทั่วไป รวมทั้งเครอื่ งเลเซอร์พริ้นเตอรท์ เ่ี ราใช้อยู่ทุกวันก็เป็นเคร่อื งพมิ พ์ประเภทนี้ ปจั จุบนั
เครอื่ งพิมพม์ ที ั้งแบบเลก็ ท่ีใชก้ นั ท่วั ไป แบบกลางทใ่ี ช้ในการประกอบธรุ กิจ และเแบบเชิงอตุ สาหกรรมที่
สามรถผลติ สิ่งพมิ พไ์ ด้เป็นจำ�นวนมาก ๆ ดงั แสดงในภาพที่ 2.18

ภาพที่ 2.18 เครือ่ งพิมพ์อเิ ล็กทรอโฟโตกราฟที ี่ใชพ้ ิมพ์บรรจุภณั ฑ์
(Labels & Labeling magazine, 2012)

3. การพมิ พเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรออิงค์ (Electroink Technology) เป็นนวตั กรรมเฉพาะ
ของบรษิ ทั เฮชพีอินดิโก้ จำ�กดั (HP Indigo) ลักษณะการพิมพ์คล้ายกับการพิมพ์อเิ ลก็ ทรอโฟโตกราฟี
ซงึ่ ใชผ้ งหมึกซงึ่ เป็นโทนเนอร์ในการสรา้ งภาพหรอื ท�ำ ใหเ้ กิดบรเิ วณภาพขน้ึ แตก่ ารพมิ พ์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอองิ ค์ใช้หมึกเหลวในการสร้างภาพแทนการใช้ผงหมึก หมกึ เหลวชว่ ยทาํ ให้การฟ้งุ หรือการ
กระจายตวั ของหมึกพมิ พ์นอ้ ยกวา่ การใช้ผงหมึกโทนเนอร์ ภาพทไี่ ด้จงึ มคี วามคมชดั กว่านมุ่ นวลกวา่
ภาพไมม่ นั วาวมากเหมอื นงานท่พี ิมพด์ ว้ ยหมกึ พมิ พผ์ งหมกึ โทนเนอร์ เฮชพอี ินดิโกน้ ำ�เทคโนโลยนี ้ี
มาใช้ในผลติ เครื่องพมิ พ์ดิจทิ ัลซึง่ มีลักษณะการทำ�งานคล้ายการพมิ พอ์ อฟเซตคือ มีผ้ายางในการรับ

48 weera.ch weera.ch

หมกึ พิมพเ์ หลวแลว้ จึงถ่ายโอนหมึกพมิ พ์ไปยงั วสั ดพุ มิ พ์ จึงเรยี กว่า เทคโนโลยีออฟเซตอนิ ดิโก้ (Indigo
Technology-Offset) มีหลกั การทาํ งานโดยการใช้หมกึ พิมพเ์ หลวโปรง่ ใส ลักษณะเชน่ เดยี วกบั หมกึ
พมิ พอ์ อฟเซต จึงทําใหก้ ารพิมพง์ านสอดสีไดค้ ุณภาพของงานสใี กล้เคียงกับการพิมพอ์ อฟเซต เวลาพมิ พ์
จะมีการปลอ่ ยประจลุ บลงบนดรมั ก่อน จากนน้ั ฉายเลเซอร์สรา้ งภาพแฝงที่ยงั คงประจลุ บไว้ เมื่อจ่าย
หมึกทม่ี ีประจุบวก ทําให้ภาพแฝงดดู หมึกพมิ พข์ ึ้นไปเกิดเป็นภาพทตี่ ดิ หมึกพมิ พบ์ นดรมั ได้ ก่อนการถ่าย
โอนภาพไปบนผา้ ยางและกระดาษตามลําดบั จากน้นั จะผา่ นความร้อนจะทําใหห้ มกึ แห้งทันที ส่วนดรมั
จะได้รับการทําความสะอาดประจุท่คี า้ งอยอู่ อก กอ่ นทีจ่ ะหมนุ ไปสรา้ งภาพในเพื่อรับขอ้ มูลและทำ�การ
พิมพใ์ หม่ เครอ่ื งพมิ พ์อเิ ล็กทรออิงคข์ องเฮชพอี นิ ดโิ กม้ หี ลายขนาดใหเ้ ลอื กใช้งาน นอกจากนีย้ ังสามารถ
พิมพ์ลงบนวัสดพุ มิ พ์ได้หลากชนิดด้วย เชน่ กระดาษ ฟิลม์ พลาสตกิ ฟอยลอ์ ะลูมเิ นียม เปน็ ต้น ดังแสดง
ในภาพที่ 2.19

ภาพท่ี 2.19 เครือ่ งพมิ พ์เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอองิ คข์ องอินดิโก้ (XGraphics, 2015)

สรุป
จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นว่าระบบการพิมพ์ท้ังระบบที่ต้องอาศัยแม่พิมพ์ในการสร้าง
ภาพ ได้แก่ ระบบแมพ่ มิ พพ์ ืน้ นนู แมพ่ มิ พ์พืน้ ราบ แมพ่ ิมพพ์ น้ื ลึก และแมพ่ ิมพพ์ ้นื ฉลุ ระบบทไ่ี มต่ ้องใช้
แมพ่ มิ พค์ อื ระบบการพิมพ์ดิจิทัล ทงั้ สองระบบสามารถนำ�มาใช้พมิ พ์ส่ิงพมิ พบ์ รรจภุ ณั ฑ์ได้ แตต่ ้องเลอื ก
ระบบการพมิ พ์ใหเ้ หมาะสมกบั วัสดทุ ่ใี ชพ้ มิ พ์ ปริมาณความตอ้ งการ ความสวยงามและคณุ ภาพของงาน
พมิ พ์ เพราะระบบการพิมพ์แตล่ ะระบบขอ้ จุดเดน่ และข้อจำ�กัดแตกตา่ งกนั หรอื อาจต้องมรี ะบบการ
พิมพม์ ากกวา่ หนง่ึ ระบบในการพิมพบ์ รรจภุ ัณฑ์ เพ่ือตอบสนองความจำ�เปน็ ของผลิตภณั ฑ์ การบรรจุ
ความสวยงามของบรรจภุ ัณฑ์ ตน้ ทุนในการผลิตบรรจุภณั ฑ์ และประการสำ�คัญคือความพงึ พอใจของ
ผจู้ า้ งงานและผบู้ รโิ ภค

49

ค�ำ ถามทา้ ยบท

1. การพิมพแ์ บบดั้งเดิมกบั การพิมพ์แบบดิจิทลั แตกต่างกันอยา่ งไร
2. การพิมพ์โดยตรงและการพมิ พโ์ ดยออ้ มเหมอื นหรอื แตกตา่ งกันอย่างไร
3. ระบบการพมิ พแ์ ม่พิมพ์พ้นื นนู ที่เรามาใชใ้ นการพิมพบ์ รรจภุ ัณฑ์มีอะไรบ้าง
4. ระบบการพิมพแ์ ม่พิมพพ์ ้ืนราบที่เรามาใชใ้ นการพมิ พ์บรรจุภัณฑ์มอี ะไรบ้าง
5. ระบบการพิมพ์แม่พิมพพ์ ื้นราบใช้สง่ิ ใดหรอื หลักการใดเป็นตวั แบ่งบริเวณภาพและบริเวณไรภ้ าพ
6. ระบบการพิมพ์แม่พิมพ์พ้ืนลึกทเี่ รามาใช้ในการพิมพ์บรรจุภัณฑม์ ีอะไรบ้าง
7. ระบบการพิมพแ์ ม่พมิ พ์พืน้ ฉลทุ ่เี รามาใชใ้ นการพมิ พบ์ รรจภุ ัณฑ์มอี ะไรบ้าง
8. ระบบการพมิ พ์ใดที่พิมพม์ ปี ริมาณหมึกหรือช้ันหมกึ มากที่สดุ
9. ระบบการพิมพด์ จิ ทิ ลั ที่เรามาใช้ในการพิมพ์บรรจุภัณฑ์มอี ะไรบา้ ง
10. ระบบการพมิ พ์ดจิ ทิ ัลแบบใดมลี ักษณะการทำ�งานคลา้ ยการพิมพ์ระบบออฟเซต
weera.ch weera.ch

50 weera.ch weera.ch

เอกสารอ้างองิ

Canon Inc. (2016). Technology Used in Canon’s Commercial Photo Printer.
Retrived January, 18, 2016, from http://www.canon.com/technology/now/
output/cpp.html
C-Tec Systems Limited. (2015). XANTE Custom Printing For The Packaging Industry.
Retrived January, 20, 2016, from http://www.c-tecsystems.com/
excelgraphic-printers.html
Dingword.com. (2010). Pre-imaged Pad printing plate cliches manufacturing,
PLATEMAKING. Retrived January, 7, 2016, from http://dingword.com/services/
index.php?main_page=popup_image&pID=4&zenid=035k56rsjlgeoh9t
va1fa1u9f6
Flint Group. (2015). Flexographic Products nyloflex®US. Retrived January, 7, 2016,
from http://www.flintgrp.com/en/products/flexographic-products/nyloflex-us/
Jet Technologies. (2016). Rotary Screen Printing. Retrived January, 15, 2016,
from https://www.jet-ap.com/product/print-and-finish/rotary-screen-printing/
Labels & Labeling magazine. (2012). Industry updates : OKI pro510DW digital
web press for labels. Retrived January, 25, 2016, from http://www.labelsand
labeling.com/news/features/oki-press-fits-digital-gap
Lestaret wordpress. (2010). Printmaking. Retrived January, 7, 2016,
from https://lestaret.wordpress.com/tag/printmaking/page/4/
XGraphics. (2015). Digital press. Retrived January, 25, 2016,
from http://xg.co.id/digi_press.html

weera.ch weera.ch


Click to View FlipBook Version