The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วีระ โชติธรรมาภรณ์, 2021-03-04 01:57:14

Packaging Printing Technology 03

Packaging Printing Technology 03

Keywords: Packaging Printing Technology

weera.ch weera.ch

weera.ch weera.ch

51

แผนบรหิ ารการสอนประจ�ำ บทที่ 3weera.ch
บรรจุภณั ฑ์กระดาษ

หวั ขอ้ เนอ้ื หา
โครงสรา้ งของกระดาษ
ชนิดของกระดาษ
ประเภทของบรรจภุ ัณฑก์ ระดาษ

วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
เมือ่ ศึกษาบทเรียนจบแลว้ นกั ศกึ ษาสามารถ
1. อธบิ ายความหมายของบรรจภุ ัณฑก์ ระดาษได้
2. เขยี นโครงสร้างของกระดาษได้
3. จำ�แนกชนิดของกระดาษบรรจภุ ณั ฑ์ได้
4. อธิบายประเภทของบรรจุภัณฑ์กระดาษได้
5. ยกตัวอยา่ งบรรจุภณั ฑ์กระดาษในแตล่ ะประเภทได้

วธิ สี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน
1. วิธสี อน
1.1 วธิ สี อนแบบบรรยาย
1.2 วิธสี อนแบบอภิปราย
1.3 วธิ สี อนแบบเนน้ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองผา่ นเวบ็ ไซต์
weera.ch

weera.ch52

2. กจิ กรรมการเรียนการสอน
2.1 น�ำ บรรจุภณั ฑก์ ระดาษในลักษณะตา่ ง ๆ มาให้ผเู้ รยี นสังเกต แลว้ ตัง้ คำ�ถาม เพอ่ื
บรรยายเขา้ สู่เนื้อหาทีต่ ้องการ
2.2 บรรยายเนื้อหา อธบิ ายเนือ้ หาของกระดาษ ชนิดของกระดาษ และประเภทของ
บรรจภุ ัณฑก์ ระดาษ ให้ผเู้ รียนอธิบาย
2.3 ให้ผเู้ รยี นอภปิ รายและยกตัวอยา่ งบรรรจุภัณฑก์ ระดาษแต่ละประเภท
2.4 ฝึกปฏิบตั ิน�ำ กระดาษชนดิ ตา่ ง ๆ มาท�ำ เป็นบรรจุภณั ฑ์
2.5 ตอบค�ำ ถามทบทวนทา้ ยบทที่ 3

ส่อื การเรียนการสอน
1. กระดาษชนดิ ตา่ ง ๆ
2. บรรจภุ ัณฑก์ ระดาษตา่ ง ๆ
3. ส่ือนำ�เสนอประกอบการสอนผา่ นเวบ็ ไซตผ์ สู้ อน
4. หนังสืออา่ นประกอบทีเ่ ก่ียวข้อง
5. การสบื ค้นข้อมูลผา่ นระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
1. สงั เกตจากการตอบค�ำ ถามของผูเ้ รยี น
2. สังเกตจากการอภิปรายและซักถามของผเู้ รียน
3. ตรวจสอบการตอบคำ�ถามทบทวนทา้ ยบท
weera.ch

53

บทที่ 3
บรรจุภัณฑ์กระดาษ

บรรจภุ ณั ฑก์ ระดาษ (Paper Packaging) เป็นบรรจภุ ณั ฑท์ ีม่ ีปรมิ าณการใช้งานมากweera.ch
ท่สี ุดเม่ือเทียบกับบรรจภุ ณั ฑป์ ระเภทอน่ื ๆ บรรจุภณั ฑ์กระดาษผลิตมาจากเยอ่ื กระดาษทผ่ี า่ นการ
แปรรูปเป็นกระดาษชนดิ ต่าง ๆ แล้วจงึ นำ�มาผา่ นกระบวนการพิมพแ์ ละงานหลงั พมิ พเ์ ปน็ บรรจุภณั ฑ์weera.ch
กระดาษประเภทต่าง ๆ บรรจภุ ณั ฑ์กระดาษมคี วามคงรปู เม่ือผา่ นการขน้ึ รูปแล้วสามารถตัง้ วางได้ดว้ ย
ตัวบรรจภุ ัณฑ์เอง สามารถพิมพ์ได้ดว้ ยระบบการพมิ พ์ทุกระบบการพมิ พ์ และตัววสั ดกุ ไ็ มเ่ ป็นมลภาวะ
ต่อสิ่งแวดล้อม สามารถนำ�กลบั มาเวยี นใช้ใหม่ได้ ราคาของวสั ดุกม็ ีราคาไม่แพง สามารถออกแบบให้
เปลย่ี นแปลงรปู แบบรูปทรงต่าง ๆ ไดง้ า่ ย รวมท้ังกระดาษมีหลายชนดิ และหลากหลายคณุ ภาพ เพื่อใหม้ ี
ความเหมาะสมกบั การพมิ พแ์ ละการข้นึ รูปบรรจภุ ณั ฑ์
กระดาษประกอบด้วยสารหลายชนดิ ผสมกัน และมีความราบเรยี บไมส่ มํา่ เสมอกนั ของ
เนื้อกระดาษ เพราะเส้นใยไมส่ ม่าํ เสมอกนั จึงต้องมีการปรบั สภาพให้กระดาษเรยี บ จงึ จะสามารถนำ�
กระดาษใชพ้ มิ พ์งานได้ กระดาษจงึ มีทั้งสว่ นทเี่ ปน็ เส้นใยและส่วนท่ีไม่ใชเ่ สน้ ใย ซึ่งไดแ้ ก่ สารเตมิ แต่ง
ต่าง ๆ ที่มีในกระดาษ ท้ังน้แี หลง่ วตั ถุดิบที่ส�ำ คญั ของกระบวนการผลิตคือ พชื ชนดิ ตา่ ง ๆ ทงั้ ท่ีเป็นพชื
ยนื ต้นและพืชลม้ ลกุ

โครงสรา้ งของกระดาษ
กระดาษเปน็ วัสดุพิมพป์ ระเภทหนึ่งเกิดจากเส้นใยของพืช (Fibre) มาทำ�เป็นเยือ่
กระดาษ (Pulp) ดังแสดงในภาพที่ 3.1 ให้เกดิ การสานตวั กันและมสี ารเตมิ แตง่ (Additive) เพื่ออุดช่อง
ว่างระหวา่ งเย่ือกระดาษ ไมท้ ี่น�ำ มาท�ำ เยื่อกระดาษมที ัง้ ชนดิ ไมเ้ น้อื อ่อน (Softwood) และไม้เนื้อแข็ง
(Hardwood) ไมเ้ น้อื ออ่ นจะมเี ส้นใยที่มีความยาวมากกวา่ ไมเ้ นอ้ื แขง็ ซงึ่ มเี ส้นใยท่ีสัน้ กวา่ อย่างไรก็ตาม
หากแบ่งองค์ประกอบท่ีมใี นกระดาษอาจแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คอื องคป์ ระกอบท่เี ป็นเส้นใย
หมายถึงสารในเสน้ ใยของพืช ได้แก่ เซลลโู ลส เฮมิโซลลูโลส ลกิ นนิ สารประเภทคาร์โบไฮเดรตและ
ความชื้น เส้นใยจากพชื จะมสี ารทเี่ รียกว่า เซลลูโลส (Cellulose) ซ่ึงเปน็ สารอนิ ทรยี ช์ นิดหนง่ึ ในเนื้อไม้
ซงึ่ เป็นองคป์ ระกอบสว่ นใหญ่และเป็นตวั กำ�หนดคุณภาพของกระดาษ ซงึ่ โดยทวั่ ไปเน้ือไมจ้ ะมีปริมาณ

weera.ch54

weera.chเซลลูโลสอยู่ประมาณร้อยละ 50 แตใ่ นฝา้ ยจะมเี ซลลโู ลสอยถู่ งึ ร้อยละ 90 เซลลโู ลสเป็นวัสดทุ มี่ คี วาม
เหมาะสมท่จี ะนำ�มาทำ�เปน็ กระดาษมากทสี่ ุดทง้ั ในด้านโครงสร้างของกระดาษ ความต้านทานต่อแรง
ดึงและการดูดซมึ ได้ดี สมบัติดงั กลา่ วท�ำ ให้เสน้ ใยเหลา่ นยี้ ดึ เหนีย่ วประสานกันไดด้ ีเมอ่ื นำ�มาท�ำ เป็นกระ
ดาษ เซลลโู ลสมีคุณสมบัตใิ นการอยู่ในน้ําได้ดี และไมล่ ะลายในสารเคมหี ลายชนิด จงึ ทำ�ให้สามารถแยก
เซลลูโลสออกจากเนอ้ื ไมไ้ ด้ โดยวิธีการทางเคมีหรือวิธีการทางกล ซ่งึ เปน็ วิธใี นการทำ�เยอ่ื ทวั่ ไป นอกจาก
เซลลโู ลสแลว้ ในไมย้ ังประกอบด้วยสารเฮมเิ ซลลูโลส สารลกิ นนิ สารประเภทคาร์โบไฮเดรตและความช้ืน
สารลกิ นนิ จะทำ�ใหก้ ระดาษท่ผี ลติ ได้มีสคี ลํ้า จงึ ตอ้ งนำ�สารลิกนนิ ออกจากเยื่อกระดาษ สว่ นสารอื่นจะ
ท�ำ ให้คุณภาพของกระดาษด้อยลง ดังนน้ั หากต้องการผลิตกระดาษทมี่ ีคุณภาพตอ้ งสกัดสารอ่นื ออกจาก
เย่ือใหเ้ หลือเพียงเซลลโู ลสจะท�ำ ใหก้ ระดาษมีคุณภาพ แตร่ าคาของเยือ่ กระดาษกจ็ ะสูงขึ้น

ภาพที่ 3.1 เยอ่ื กระดาษ

สว่ นองคป์ ระกอบทีไ่ ม่ใช่เสน้ ใย หมายถงึ สารเติมแต่ง (Additives) ต่าง ๆ ทีเ่ ติมให้เยอื่ ใน
กระบวนการผลิตกระดาษ เพ่อื ปรบั คุณสมบตั ขิ องเยอื่ ใหเ้ หมาะสมต่อการพิมพแ์ ละการใชง้ าน สารเติม
แตง่ ที่สำ�คญั เชน่ ตวั เตมิ ตวั ยึด สารกันซึม สารเพ่ิมความแข็งแรงของผิว และสารเพม่ิ ความขาวสวา่ ง ซ่ึง
สามารถอธบิ บายได้ดงั น้ี
1. สารตัวเติม (Filler) จะเปน็ ผงสอี นนิ ทรียส์ ขี าว โดยจะเติมเข้าไปในกระบวนการผลติ
กระดาษหลงั จากการตเี ย่อื ในข้นั ตอนการเตรยี มน้ําเย่ือ เพือ่ ชว่ ยใหก้ ระดาษมีคุณสมบตั ทิ เ่ี หมาะตอ่
การน�ำ ไปใชง้ าน เชน่ ความขาวสวา่ งของเนอ้ื กระดาษ ความทบึ แสงของกระดาษ การคงสภาพเชงิ มิติ

weera.ch 55

weera.chการเติมสารตัวเติมมากเกินไปมีผลทำ�ให้คุณสมบัติท่ีเก่ียวข้องกับความแข็งแรงและความทนทานของ
กระดาษลดลง หากต้องการท่ีจะใหก้ ระดาษทไ่ี ด้มีความแข็งแรงและทนทานต่อการใช้งานก็ต้องเติม
สารตัวเติมในปริมาณทีน่ อ้ ย เพราะถ้าเตมิ สารตวั เตมิ มากจะทำ�ใหค้ วามแข็งแรงและความทนทานของ
กระดาษนอ้ ยลง สารทใ่ี ชเ้ ตมิ เข้าไปได้แก่ ปนู ขาว ดินเหนียว ไททาเนียมไดออกไซด์ เปน็ ต้น สารเหล่าน้ี
ยังช่วยทำ�ใหน้ ํ้าหนกั กระดาษมากขนึ้ เปน็ การลดตน้ ทนุ ในการใชเ้ ยือ่ กระดาษได้
2. สารตวั ยึด (ฺBinder) หรือสารยดึ ตดิ (Adhesive) เป็นสารที่ท�ำ หนา้ ที่ให้สารตวั เติม
ยึดตดิ กนั เองและยดึ กับผิวหน้าของกระดาษไว้ สารยดึ ติดที่น�ำ มาใชใ้ นการผลติ กระดาษมีท้งั ทไ่ี ด้จาก
ธรรมชาติ เช่น กาว (Glue) ซงึ่ สกัดจากเขาสัตว์และกระดูกสตั ว์ แป้ง (Starch) ประเภทตา่ ง ๆ เชน่
แป้งจากขา้ วโพด จากมันสำ�ปะหลัง จากมนั ฝรั่ง และสารยดึ ติดทส่ี ังเคราะหข์ นึ้ เชน่ อะคริลกิ (Acrylic)
สไตรนี บวิ ทะไดอนี (Styrene butadiene) พอลิไวนลิ (Polyvinyl) เป็นต้น
3. สารกันการซึม (Sizing Agent) เป็นสารท่ีเตมิ เข้าไปในกระบวนการผลิตกระดาษ
เพือ่ ใหก้ ารซมึ ผา่ นของน้ําช้าลง เพราะเยือ่ กระดาษจะสามารถดูดซมึ นํา้ ไดด้ ี หากไมเ่ ตมิ สารกนั ซมึ จะ
ทำ�ใหเ้ ยื่อกระดาษหลุดออกจากกระดาษไดง้ า่ ยเมอ่ื ไดร้ บั แรงกดพิมพ์ สารกันซมึ ที่ใช้คอื รอซิน (Rosin)
เปน็ สารที่สกัดจากพชื พวกสน โดยจะเตมิ เข้าไปในนา้ํ เย่อื ในข้ันการเตรยี มนํ้าเย่ือของกระบวนการผลิต
กระดาษ
4. สารเพม่ิ ความแขง็ แรงของผวิ (Surface Sizing) เป็นสารท่ีถกู เคลอื บบนผวิ กระดาษ
ในขัน้ ตอนการผลิตทีก่ ระดาษทเ่ี ปน็ แผ่นแล้ว การเตมิ สารน้เี พื่อชว่ ยให้เสน้ ใยทผ่ี ิวมีการยดึ เกาะกับ
เสน้ ใยช้ันถดั ลงไปได้ดขี นึ้ ทำ�ใหผ้ วิ มคี วามแข็งแรงทนตอ่ การขูดขดี แรงดงึ แรงกดทะลุ ปอ้ งกันการถอน
ผวิ กระดาษ (Picking) ในระหว่างการพมิ พน์ อกจากปอ้ งกนั การถอนผิวกระดาษแล้วสารชนดิ นีย้ งั ชว่ ย
กระดาษมีความแข็งแรงต่อแรงดึง การพบั การขูดขดี สารเพิม่ ความแข็งแรงของผวิ ที่ใช้กนั ท่วั ไปคอื แป้ง
ประเภทตา่ ง ๆ โดยจะเคลือบทีผ่ ิวกระดาษในข้นั ตอนทำ�แหง้ ของการผลิตกระดาษ
5. สารเพมิ่ ความขาวสวา่ ง (Optical Brightener) เปน็ สารพวกสียอ้ มวาวแสง
(Fluorescent Dye) ทเี่ ติมเข้าไปในนา้ํ เย่อื กอ่ นทจ่ี ะนำ�ไปใช้ผลิตกระดาษ เพื่อเพิม่ ความขาวสว่างของ
กระดาษให้มากข้นึ โดยปกตเิ ย่ือกระดาษท่ผี ่านกระบวนการผลิตจะมสี เี หลอื งออ่ นจนถงึ สขี าว แต่อาจ
มีความสวา่ งของกระดาษน้อยเกินไปท�ำ ใหก้ ระดาษท่ไี ดม้ ีสีขาวหมน่ ๆ จงึ ต้องเติมสารเขา้ ไปเพ่อื ให้
กระดาษขาวและสว่าง

weera.ch56

weera.chชนิดของกระดาษ
กระดาษเป็นวสั ดุรองรับการพิมพ์ทีใ่ ชใ้ นการพมิ พบ์ รรจุภัณฑม์ ากทีส่ ดุ กระดาษทน่ี ำ�
มาใช้ขน้ึ อยู่กบั ลักษณะของบรรจภุ ณั ฑ์นั้น ๆ ว่า จะตอ้ งการคณุ สมบตั ิอย่างไรใหเ้ หมาะสมในด้านการ
รองรบั ผลติ ภัณฑ์ทบี่ รรจุภายใน การปอ้ งกันตวั ผลติ ภณั ฑภ์ ายใน ความหนาบางของกระดาษ ความ
สวยงามของบรรจุภณั ฑ์เม่ือผ่านกระบวนการพมิ พ์ ความคงรูปเชงิ มิตขิ องบรรจุภณั ฑ์ รวมทั้งการ
ปอ้ งกันตวั เองของบรรจภุ ัณฑ์ กระดาษทมี่ กี ารผลติ ใช้กนั น้นั มีทงั้ กระดาษท่สี ามารถนำ�มาใชพ้ ิมพ์บรรจุ
ภัณฑไ์ ด้และไมน่ ิยมน�ำ มาใชพ้ มิ พ์บรรจภุ ณั ฑ์ ดงั น้นั จะอธิบายเฉพาะกระดาษทม่ี กี ารน�ำ มาใชพ้ ิมพเ์ ปน็
บรรจภุ ัณฑ์เทา่ น้ัน ซ่งึ สามารถแบ่งชนดิ ของกระดาษออกได้ดังน้ี
1. กระดาษหนงั สือพิมพ์ (Newsprint Paper) หรอื เรียกวา่ กระดาษปรฟู๊ (Proof Paper)
เปน็ กระดาษ ไม่เคลือบผวิ มีนา้ํ หนักประมาณ 45-50 แกรมต่อตารางเมตร สีของกระดาษจะไมข่ าว มี
ราคาถูก คุณภาพของกระดาษเก็บไว้ไม่ได้นานเพราะกระดาษจะกรอบและเปลี่ยนสีไดง้ า่ ย มกี ารนำ�
กระดาษปรฟู๊ ทผี่ ลิตแล้วไปผา่ นการขัดมนั ทำ�ใหผ้ ิวเรยี บและมนั ยง่ิ ขน้ึ ที่เรียกว่า กระดาษปรูฟ๊ มัน มกี าร
นำ�กระดาษชนดิ นีม้ าใช้พิมพถ์ งุ กระดาษเลก็ ๆ สำ�หรบั ใส่ผลติ ภัณฑ์ทมี่ ีน้ําหนักไมม่ าก ดังแสดงในภาพที่
3.2

ภาพที่ 3.2 ถงุ กระดาษทีใ่ ช้กระดาษปร๊ฟู

2. กระดาษฟอกขาวหรือกระดาษปอนด์ (Wood Free Paper) เป็นกระดาษไมเ่ คลอื บ
ผิวท่ีมีนํา้ หนักประมาณ 55-100 แกรมตอ่ ตารางเมตร ทีท่ �ำ จากเยอ่ื ไม้เน้ือที่ได้รับการฟอกให้ขาวและ

weera.ch 57

weera.chขจัดลกิ นิน (Lignin) ออกแลว้ ลกิ นินเปน็ สารเคมีชนดิ หน่ึงทีม่ ใี นเน้ือไม้ ถา้ ขจดั ออกไมห่ มดจะท�ำ ใหเ้ กิด
สคี ลาํ้ ในกระดาษ เพราะสารลกิ นินจะทำ�ปฏกิ ริ ยิ ากับออกซเิ จนในอากาศ กระดาษปอนดม์ กี ารเคลอื บ
สารกันซึมไว้มากเป็นพิเศษ กระดาษปอนดม์ ีนํ้าหนักมากกวา่ กระดาษปรฟู๊ ย่ิงกระดาษมนี ํา้ หนกั มากเท่า
ไหร่ก็จะท�ำ ใหก้ ระดาษมีความหนามากข้ึนดว้ ย กระดาษหนาจะรองรับนํ้าหนกั ของผลิตภัณฑไ์ ดด้ ีกว่า
กระดาษปอนด์จะมีความขาวมากกว่ากระดาษปรู๊ฟทำ�ให้พิมพ์แล้วเกิดสีสันสวยงามสดใสกว่าการพิมพ์
ดว้ ยกระดาษปรฟู๊ ส�ำ หรบั การน�ำ กระดาษชนดิ น้ีมาใช้มักจะพมิ พถ์ ุงกระดาษเลก็ ๆ สำ�หรับใสผ่ ลิตภัณฑ์
ท่ีมนี ้ําหนักไม่มาก ซองกระดาษ เป็นตน้ ดังแสดงในภาพท่ี 3.3

ภาพท่ี 3.3 ถุงกระดาษที่ใชก้ ระดาษปอนด์

3. กระดาษการด์ อารต์ (Art Cardboard Paper) เปน็ กระดาษท่มี กี ารเคลอื บผวิ
ดว้ ยตวั เติมตา่ ง ๆ เพือ่ ช่วยให้กระดาษมสี ภาพพิมพ์ได้ดีขน้ึ กวา่ แบบไม่เคลือบผิว กระดาษเคลือบผิว
จะมีความเรยี บมาก สารทใ่ี ช้เคลอื บ เชน่ สารพวกแคลเซยี มคารบ์ อเนตไดตาเนยี มไดออกไซด์ เปน็
สารประเภทดนิ ขาวและสารสังเคราะห์อน่ื ๆ เหมาะสำ�หรบั การพิมพง์ านที่ต้องการความอมิ่ ตัวของ
สีและมรี ายละเอียดของงานมาก ๆ เช่น การพมิ พ์ 4 สี กระดาษการด์ อาร์ต มที ัง้ ชนิดมนั และดา้ น
มีทัง้ ชนดิ เคลือบผิวหนา้ เดยี วและเคลอื บผิวสองหนา้ มนี ้ําหนักต้ังแต่ 190-350 แกรมตอ่ ตารางเมตร
นํ้าหนักของกระดาษมากขน้ึ เทา่ ไหรค่ วามหนาของกระดาษกจ็ ะผันแปรความหนามากขน้ึ ด้วย กระดาษ
ชนิดนม้ี ีราคาค่อนขา้ งสงู ยิ่งกระดาษทม่ี ีนาํ้ หนกั มากก็จะมรี าคาสงู ตามไปดว้ ย กระดาษการด์ อารต์ ไดร้ บั

weera.ch58

weera.chการน�ำ มาพิมพ์บรรรจุภณั ฑป์ ระเภทกล่องเปน็ สว่ นใหญ่ แตจ่ ะเปน็ กล่องท่ียงั ไม่สามารถรองรบั น้าํ หนกั
ของผลติ ภัณฑ์ไดม้ าก เพราะกระดาษการด์ อารต์ มนี าํ้ หนักสงู สุดประมาณ 350 แกรมต่อตารางเมตร
มกี ารนำ�กระดาษชนิดนี้มาใช้พมิ พก์ ลอ่ งกระดาษสำ�หรบั ใส่ผลติ ภัณฑ์ทีม่ ีนํ้าหนักไม่มาก ดังแสดงในภาพ
ที่ 3.4

ภาพที่ 3.4 กล่องกระดาษที่ใชก้ ระดาษการ์ดอารต์

4. กระดาษเหนียว หรอื กระดาษคราฟต์ (Kraft Paper) เปน็ กระดาษที่ผลิตจากเย่ือ
เคมี (Chemical Pulp) เป็นการใชเ้ ทคโนโลยใี นการแปลงสภาพจากเนือ้ ไม้เป็นเย่อื กระดาษไม้ (Wood
Pulp) โดยใช้สารเคมแี ละความรอ้ นในการแยกเย่อื และขจัดลิกนนิ เยือ่ กระดาษท่ไี ดจ้ ากกระบวน
การคราฟตน์ ้จี ะได้กระดาษที่มีความแขง็ แรงหรอื เหนียวกว่ากระดาษชนดิ อืน่ ทนทางตอ่ แรงฉกี ขาด
แรงดงึ ทนตอ่ การการหักพบั ไดด้ ี ตา้ นแรงดนั ทะลุได้ดี ต้านทานการเปยี กน้ํา ต้านทานการเปรอะน้ํา
มนั ตา้ นทานการเสียดสี โดยปกตกิ ระดาษคราฟต์จะมีสีนํ้าตาลคล้ําจนถงึ สนี ํ้าตาลออ่ น ตามสีของเน้ือ
ไมท้ ่นี ำ�มาใช้ผลติ เย่อื แต่สามารถนำ�มาฟอกสีใหม้ ีเน้อื สขี าวได้ กระดาษคราฟต์มนี าํ้ หนกั ตง้ั แต่ 80-230
แกรมต่อตารางเมตร
กระดาษคราฟตส์ ามารถใชท้ ำ�บรรจุภัณฑ์ไดต้ งั้ แต่กระดาษหอ่ ผลติ ภณั ฑ์ ซองเอกสาร
ถุงกระดาษ ถงุ บรรจุอาหารสัตว์ ถงุ ปนู เปน็ ตน้ ดงั แสดงในภาพที่ 3.5 นอกจากนีก้ ระดาษคราฟต์ยงั นำ�
ไปใช้ตดิ เปน็ ผิวหน้าของลอนลกู ฟกู ดว้ ย ซ่ึงจะอธบิ ายคณุ สมบัติและรายละเอียดของกระดาษคราฟตใ์ น
บทถดั ไป

weera.ch 59

weera.ch ภาพท่ี 3.5 บรรจภุ ัณฑ์กระดาษทีใ่ ชก้ ระดาษคราฟต์
5. กระดาษกันไขมนั (Greaseproof Paper) เยือ่ กระดาษท่ีใช้สว่ นใหญจ่ ะเป็นเยอ่ื
บรสิ ทุ ธ์ิ (Virgin Fibre) จะถกู ผา่ นกระบวนการผลิตกระดาษโดยการตีเยอื่ ใหเ้ ส้นใยกระจายตวั เกดิ
การสรา้ งพันธะของเส้นใยกระจายและบวมตัวจนมอี ัตราการอมนา้ํ สงู (Well-hydrated Fibre) แลว้
จึงนำ�ไปท�ำ เปน็ กระดาษ กระดาษจงึ ไม่มีรพู รุน มีผิวหนา้ เรยี บ มีความหนาแนน่ สงู ซึ่งเป็นผลให้มคี วาม
ต้านทานตอ่ การซมึ ผ่านของไขมนั และนาํ้ มนั ได้ดี ใชห้ อ่ ผลิตภัณฑเ์ นื้อทม่ี ปี รมิ าณไขมนั สงู เช่น เนย แฮม
เบคอน เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้กบั การใสอ่ าหารทอดในร้านอาหารฟาสตฟ์ ู๊ด ดังแสดงในภาพท่ี 3.6

ภาพท่ี 3.6 บรรจภุ ัณฑ์กระดาษที่ใชก้ ระดาษกนั ไขมัน
6. กระดาษกลาสซนี (Glassine Paper) เปน็ กระดาษทม่ี าจากกระดาษกันไขมนั ไป
พน่ นํ้าให้ไดร้ บั ความช้ืนแลว้ รดี กดดว้ ยแรงกดสูงภายใต้อณุ หภมู ิสูง ทำ�ใหก้ ระดาษมีความหนาแน่นมาก

weera.ch60
ยิง่ ข้นึ จะเกิดความเงาและความใสมากขึน้ การซึมผ่านของอากาศเพ่มิ มากข้ึน ความทนทานต่อการ
weera.chซึมผ่านของไขมันและนา้ํ มันได้ดขี ึ้น ดว้ ยคณุ สมบตั ิดงั กลา่ วจงึ เหมาะสมท่ีใชห้ ่อหมุ้ ผลติ ภัณฑ์ที่ต้องการ
รกั ษาคณุ ภาพดา้ นกล่นิ และรสชาตขิ องผลิตภณั ฑ์ท่บี รรจภุ ายในใหเ้ หมอื นเดมิ เน่อื งจากการรดี กดภาย
ใตอ้ ณุ หภมู สิ งู จงึ ทำ�ให้ผวิ หน้าของกระดาษกลาสซีนมคี วามเรียบและความเงา ผวิ หน้าทเ่ี รยี บแนน่ และ
แกรง่ ช่วยใหก้ ารเคลอื บผิวง่ายยงิ่ ข้ึน ซึง่ สามารถเคลอื บไข เคลอื บขผ้ี ึ้ง เคลอื บแลคเกอร์ไปบนกระดาษ
ได้ รวมทั้งประกบตดิ กบั วัสดอุ ืน่ กระดาษกลาสซนี ใชส้ ำ�หรับท�ำ บรรจุภณั ฑ์ประเภทบสิ กิต อาหารทม่ี ี
ไขมัน อาหารจานด่วน ขนมอบ เป็นต้น เพราะกระดาษกลาสซีนช่วยป้องกันก๊าซและไอนํ้าผ่านไดเ้ ปน็
อยา่ งดี ดังแสดงในภาพที่ 3.7

ภาพท่ี 3.7 บรรจภุ ณั ฑก์ ระดาษที่ใช้กระดาษกลาสซีน

7. กระดาษพารช์ เมนต์ (Parchment Paper) เปน็ กระดาษเย่ือเคมีโดยไมใ่ ส่สารกันซมึ
ในกระบวนการผลติ กระดาษ เยอื่ ทีไ่ ด้จะน�ำ ไปผา่ นกระบวนการผลิตพิเศษ โดยการจมุ่ กระดาษในกรด
ซัลฟวิ ริกเขม้ ขน้ เป็นเวลาสน้ั ๆ แลว้ นำ�ไปล้างออกดว้ ยกรดเจอื จางและน้ํา จากนนั้ ทำ�ใหก้ ระดาษมคี า่
ความเปน็ กลางก่อน จึงน�ำ ไปอบรีดใหแ้ ห้ง กระดาษที่ไดจ้ ึงมแี ตเ่ ซลลโู ลสทม่ี คี ุณสมบตั ปิ ้องกนั การซึม
ผ่านของไขมัน นํ้า และอากาศ ไดด้ กี ว่ากระดาษกนั ไขมนั และกระดาษกลาสซีน นิยมใช้บรรจุผลติ ภัณฑ์
อาหารทม่ี ีความัน เชน่ เนย เนอ้ื สัตว์ ขนมปัง

weera.ch 61

weera.ch 8. กระดาษแข็ง (Paperboard) เป็นกระดาษหลายช้ันทม่ี คี วามทรงตัวในเชิงมติ ไิ ดด้ ี
โดยเฉพาะในแนวด่งิ มคี วามแขง็ แรง และความหนา เหมาะสมต่อการแปรรูปหลงั พิมพเ์ ปน็ บรรจภุ ณั ฑ์
ได้ สามารถผลิตไดท้ งั้ กระดาษหนาช้ันเดยี ว หรอื กระดาษหลายชั้นยึดตดิ กัน โดยภายในตวั กระดาษ
แข็งประกอบด้วยเย่ือกระดาษอาจจะต่างชนิดกนั หรอื ชนิดเดียวกนั ก็ได้ ดังนนั้ จึงสามารถเพิ่มคุณสมบตั ิ
ตา่ ง ๆ ลงไปในแต่ละชนั้ ของกระดาษได้ กระดาษแขง็ มที ั้งชนิดเคลือบผวิ และไมเ่ คลือบผิว มีทง้ั เคลอื บ
ท้งั สองด้านหรอื เคลือบดา้ นเดียวกไ็ ด้ ทง้ั นีข้ ้นึ อยูก่ ับความตอ้ งการของผใู้ ช้ กระดาษแข็งมดี ว้ ยกนั หลาย
ชนดิ สามารถอธบิ ายได้ดังนี้
8.1 กระดาษดเู พลกซ์ (Duplex Board Paper) เป็นกระดาษท่ผี วิ กระดาษดา้ นหนา้
เปน็ เยือ่ กระดาษฟอกขาวคล้าย ๆ ผิวหน้าของกระดาษปอนด์ ผิวหน้าของกระดาษเรียบแต่ไมเ่ นียนมาก
นกั ช่วงกลางของกระดาษเป็นเยอื่ เศษกระดาษ สว่ นผวิ กระดาษด้านหลังอาจมกี ารเคลือบหรือไมเ่ คลอื บ
กไ็ ด้ ผิวด้านหลังกระดาษจะเป็นสีเทาหรอื สนี ํ้าตาลอ่อน ซ่ึงขึ้นอยกู่ บั เย่อื เศษกระดาษและการฟอกสเี ยอื่
เศษกระดาษ แต่สว่ นใหญจ่ ะเป็นสเี ทา ซึง่ เรามักเรยี กว่า กระดาษกล่องหน้าขาวหลังเทา ซ่ึงมดี ว้ ยกนั
2 ชนิดคือ
8.1.1 กระดาษดเู พลกซไ์ ม่เคลือบ (Non-coated Duplex Board) บางทีก็เรยี ก
วา่ กระดาษกล่องไมเ่ คลือบหรอื กระดาษกลอ่ งไม่มแี ป้ง เปน็ กระดาษทีม่ ีผิวดา้ นหน้าขาว สามารถพิมพ์
ได้แตไ่ มค่ อ่ ยสวยงามเพราะหมกึ พิมพ์ทีพ่ มิ พ์ไปจมลงไปในเน้อื กระดาษมาก ท�ำ ใหค้ วามอ่มิ ตัวของสใี น
หมกึ พมิ พ์ลดลง การรับน้ําหนกั ของผลติ ภณั ฑ์ขึน้ อยกู่ บั ความหนาของกระดาษเป็นหลกั กระดาษชนดิ
น้ีมกั ใช้พมิ พ์กลอ่ งบรรจภุ ัณฑ์ท่ัว ๆ ไป ทีไ่ มม่ ีการพมิ พห์ ลายสี เชน่ กลอ่ งใส่ขนมครกตามร้านทวั่ ไป
กลอ่ งใสข่ นมเค้ก กล่องใสผ่ ลิตภัณฑ์ราคาไม่แพงนกั ดังแสดงในภาพท่ี 3.8

ภาพที่ 3.8 กลอ่ งกระดาษทใ่ี ช้กระดาษกล่องไมเ่ คลอื บ

weera.ch62
8.1.2 กระดาษดเู พลกซ์เคลอื บ (Coated Duplex Board) บางทกี เ็ รยี กว่า
weera.chกระดาษกล่องเคลือบหน้าแปง้ หรือกระดาษกล่องหน้าแป้ง เป็นกระดาษทมี่ กี ารเคลือบสารประเภท
ดินขาว ที่ผิวหนา้ ของกระดาษและขดั ผิวหนา้ กระดาษใหเ้ รยี บ สารจะไปปิดรพู รุนต่าง ๆ บนผิวหน้า
กระดาษท�ำ ให้กระดาษเรยี บเสมอกนั เวลาพิมพจ์ ะได้สีสันทส่ี วยงาม เหมาะสำ�หรบั การพมิ พง์ านสอดสี
แตร่ าคากระดาษแบบนีจ้ ะมรี าคาสงู กว่ากระดาษกลอ่ งไม่มีแปง้ เลก็ น้อย ดงั แสดงในภาพท่ี 3.9 นอกจาก
น้ียงั มกี ระดาษกลอ่ งเคลอื บอาร์ต (Coated White-lined Chipboard) ซงึ่ จะพมิ พ์งานไดส้ วยงามกว่า
กระดาษกล่องหน้าแป้ง กระดาษชนดิ นมี้ ักใช้พิมพ์กล่องบรรจภุ ัณฑท์ ัว่ ๆ ไป ทมี่ ีการพิมพห์ ลายสี เช่น
กลอ่ งใสผ่ ลิตภณั ฑ์

ภาพที่ 3.9 กลอ่ งกระดาษทใ่ี ชก้ ระดาษกล่องเคลอื บหนา้ แปง้
8.2 กระดาษทริเพลกซ์ (Triplex Board Paper) บางทีกเ็ รียกว่า กระดาษกล่อง
เคลือบอารต์ หลังขาว (White Back Board) เปน็ กระดาษที่ผวิ กระดาษดา้ นหน้าเป็นเยอื่ กระดาษฟอก
ขาวและ เคลือบดว้ ยสารประเภทดนิ ขาว ผวิ หนา้ ของกระดาษเรยี บ ชว่ งกลางของกระดาษเป็นเยอื่ เศษ
กระดาษซึ่งเปน็ เยอ่ื ที่ผา่ นการใช้งานมาแล้วหรืออาจะเรียกวา่ เยอ่ื เวียนทำ�ใหม่ก็ได้ ส่วนผิวกระดาษดา้ น

weera.ch 63

weera.chหลังเป็นเย่ือกระดาษฟอกขาวและเคลือบด้วยสารประเภทดินขาวเช่นเดียวกับผิวกระดาษด้านหน้า
กระดาษประเภทนม้ี นี ํ้าหนักตั้งแต่ 180-400 แกรมตอ่ ตารางเมตร สามารถพมิ พใ์ ห้สวยงามไดท้ ั้งสอง
ด้านของกระดาษ ผวิ ของกระดาษมีความขาวสะอาดตา ท�ำ ใหบ้ รรจุภัณฑด์ มู มี ูลค่ามากขนึ้ แต่จะทำ�ให้
ตน้ ทนุ การผลิตเพิ่มขึน้ เพราะกระดาษแบบนจี้ ะมีราคาสูงกว่า แตก่ ช็ ่วยใหเ้ พ่มิ มูลค่าราคาของบรรจุ
ภัณฑ์ได้ นยิ มใชพ้ มิ พบ์ รรจุภณั ฑป์ ระเภทผลิตภณั ฑท์ ่มี ีราคาคอ่ นขา้ งสูง หรอื ผลิตภัณฑท์ ่วี างขายใน
ช้ันวางสนิ ค้าในหา้ งสรรพสนิ คา้ ผลติ ภัณฑ์ทมี่ ีราคาสูงกว่าในผลติ ภัณฑ์ชนิดเดียวกนั ดังแสดงในภาพที่
3.10

ภาพท่ี 3.10 กลอ่ งกระดาษท่ีใช้กระดาษทรเิ พลกซ์

8.3 กระดาษชิปบอร์ด (Chipboard Paper) เปน็ กระดาษที่ทำ�จากเยอื่ เศษกระดาษ
ซึง่ เป็นเย่ือเก่าผ่านการใชง้ านมาแลว้ สขี องกระดาษไม่แนน่ อนขนึ้ อยู่กับชนิดของเยอ่ื เศษกระดาษสว่ น
ใหญ่จะเป็นสเี ทาหรอื สนี ํ้าตาล ผวิ ไมเ่ รยี บ จะพบเปน็ จุดดำ� ๆ เล็ก ๆ ท่วั ไปบนกระดาษซง่ึ เกิดจากสิ่ง
ปนเป้อื นต่าง ๆ ในเยอ่ื เศษกระดาษ ในประเทศไทยเรียกกระดาษชนิดนว้ี ่า กระดาษจวั ปัง ซงึ่ ใชก้ นั อย่าง
แพร่หลายในอุตสาหกรรมการพมิ พ์และบรรจุภัณฑ์ กระดาษชิปบอร์ดมจะมีราคาถูกกวา่ เม่ือเทยี บกบั
กระดาษชนิดอ่ืน ๆ เพราะใช้เยื่อกระดาษเกา่ และไมม่ กี ารปรบั ผิวหนา้ ใด ๆ ของกระดาษ จึงไมน่ ิยมนำ�
มาใช้พมิ พเ์ ป็นตวั บรรจภุ ณั ฑโ์ ดยตรง ส่วนใหญจ่ ะไว้ส�ำ หรับประกบตดิ กับวสั ดปุ ระเภทอนื่ ๆ ในการท�ำ
บรรจภุ ัณฑ์ เช่น กระดาษ ผา้ กระดาษชนดิ นจี้ ะมคี วามหนา แขง็ แรง แตไ่ ม่มีความเหนยี ว สามารถทำ�
โครงสร้างปา้ ยตัง้ ต่าง ๆ ทใ่ี ช้ต้ังแสดงผลิตภณั ฑ์ได้ ดังแสดงในภาพที่ 3.11

weera.ch64

weera.ch ภาพที่ 3.11 กล่องกระดาษทีใ่ ช้กระดาษชิปบอรด์
9. กระดาษแขง็ ประกบวสั ดอุ ่ืน (Laminated Board Paper) เปน็ การนำ�กระดาษแขง็
ไปประกบกับวัสดุอื่นเพื่อให้เกิดเป็นกระดาษท่ีมีคุณสมบัติพิเศษในการนำ�ไปทำ�บรรจุภัณฑ์สำ�หรับ
ผลิตภัณฑไ์ ด้ วสั ดทุ ี่ใช้ประกบกบั กระดาษแขง็ จะเป็นฟลิ ์มบาง ๆ ซ่งึ ในปัจจบุ นั มกี ารใชฟ้ ิล์ม 5 ขนิดใน
การประกบตดิ (มยุรี ภาคลำ�เจียก, 2556, น.2-38) ไดแ้ ก่
9.1 กระดาษแข็งประกบกบั ฟลิ ม์ พอลเิ อทธลี นี (Polyethylene Laminated Board)
หรือกระดาษแข็งประกบฟลิ ม์ พอี ี (PE Film) โดยใชพ้ ลาสตกิ ชนดิ พอลิเอทธลี นี ฉดี เป็นชั้นฟิลม์ บาง ๆ
แลว้ นำ�มาประกบกบั กระดาษแขง็ ซ่งึ สามารถเลอื กใชว้ ่าจะใช้กระดาษแขง็ ชนิดใดก็ได้ เพราะมคี ณุ สมบตั ิ
และราคาแตกตา่ งกนั แต่นิยมใชก้ ระดาษดเู พล็กซ์ คณุ สมบตั ิของพอี ใี นดา้ นการปอ้ งกันการซมึ ผ่าน
ของนาํ้ ได้ดี จึงนำ�กระดาษชนดิ นม้ี าใช้ท�ำ เปน็ บรรจุภณั ฑส์ ำ�หรบั อาหาร เช่น กล่องขนม ถว้ ยกระดาษ
ถว้ ยกระดาษไอศรมี อาหารแชแ่ ขง็ เปน็ ต้น ดงั แสดงในภาพท่ี 3.12

ภาพท่ี 3.12 บรรจภุ ณั ฑท์ ี่ใช้กระดาษแข็งประกบกับฟิลม์ พอลิเอทธีลนี

weera.ch 65
9.2 กระดาษแข็งประกบกับฟิล์มพอลิเอทธีลีนเทอร์เรฟทาเลต (Polyethylene
weera.chTerephthalate Laminated Cardboard) หรอื กระดาษแข็งประกบฟิลม์ พีอที ี (PET Film) โดย
ใช้พลาสตกิ ชนิดพอลิเอทธลี ีนเทอรเ์ รฟทาเลตฉีดเป็นชนั้ ฟิลม์ บาง ๆ แล้วน�ำ มาประกบกบั กระดาษ
แข็ง คุณสมบตั ขิ องพอี ีทใี นดา้ นการป้องกันการซึมผา่ นของนํ้าและไขมันไดด้ ี ตวั ฟิลม์ มคี วามใส เหนียว
ทนความรอ้ นสูง จึงนำ�กระดาษชนิดนม้ี าใชท้ �ำ เป็นบรรจภุ ณั ฑส์ ำ�หรับอาหารทปี่ อ้ งกันการซึมผ่านของนํา้
และนํา้ มนั เชน่ กล่องกระดาษบรรจุอาหาร ถ้วยกระดาษ เป็นต้น ดังแสดงในภาพท่ี 3.13

ภาพท่ี 3.13 บรรจุภัณฑท์ ีใ่ ชก้ ระดาษแข็งประกบกบั ฟลิ ์มพอี ีที
9.3 กระดาษแข็งประกบกับฟิลม์ เมทัลไลซ์ (Metalized Laminated Board) เป็นการ
นำ�กระดาษแข็งประเภทกระดาษดเู พลกซเ์ คลอื บ มาประกบกับฟลิ ม์ เมทัลไลซ์ท่ีผวิ หนา้ ของ กระดาษ
ท�ำ ให้กระดาษมคี วามแวววาว ช่วยสรา้ งให้เกิดจุดเด่นและเกิดความโดดเดน่ เม่ือนำ�มาใชพ้ ิมพ์บรรจุภัณฑ์
จงึ นำ�กระดาษชนดิ นีม้ าใชท้ �ำ เปน็ บรรจุภณั ฑ์ประเภททีร่ าคาค่อนขา้ งสูง หรอื ตอ้ งการใหบ้ รรจภุ ณั ฑ์มี
เอกลกั ษณ์ โดดเดน่ สร้างมูลคา่ ของบรรจภุ ณั ฑ์ เช่น กลอ่ งเครือ่ งสำ�อาง กล่องยาสีฟนั กล่องหมากฝร่ัง
กล่องสบู่ เปน็ ตน้ ดังแสดงในภาพที่ 3.14

ภาพที่ 3.14 บรรจภุ ัณฑ์ท่ใี ชก้ ระดาษแข็งประกบกับฟิล์มเมทลั ไลซ์

weera.ch66
9.4 กระดาษแขง็ ประกบกับฟิลม์ โฮโลแกรม (Hologram Laminated Board)
weera.chเปน็ การนำ�กระดาษแขง็ ประเภทกระดาษดูเพลกซ์เคลือบ มาประกบกับฟิลม์ โฮโลแกรมที่ผิวหน้าของ
กระดาษลกั ษณะเดยี วกับการใช้ฟิลม์ เมทลั ไลซ์ ท�ำ ใหก้ ระดาษดูมีมิติ มีความแวววาว ช่วยสรา้ งให้
เกิดจดุ เด่นและเกดิ ความโดดเด่นเม่อื น�ำ มาใชพ้ มิ พ์บรรจภุ ณั ฑ์ ฟลิ ม์ โฮโลแกรมจะมีราคาสงู กว่าฟลิ ม์
เมทลั ไลซ์ หากจะน�ำ มาใชท้ ำ�บรรจุภัณฑ์จะท�ำ ให้บรรจุภณั ฑ์มรี าคาสูงขนึ้ กระดาษชนดิ นจี้ งึ เหมาะ
กับการนำ�มาใช้ท�ำ เป็นบรรจภุ ัณฑป์ ระเภททีร่ าคาคอ่ นข้างสูง หรอื ต้องการให้บรรจุภณั ฑม์ เี อกลกั ษณ์
โดดเด่น สรา้ งมลู คา่ ของบรรจภุ ณั ฑ์ เช่น กลอ่ งเคร่อื งสำ�อาง กลอ่ งยาสฟี ัน กล่องสรุ า กลอ่ งใสผ่ ลิตภณั ฑ์
สนิ ค้าพรีเม่ียม เปน็ ตน้ ดงั แสดงในภาพท่ี 3.15

ภาพที่ 3.15 บรรจภุ ณั ฑ์ทใ่ี ช้กระดาษแขง็ ประกบกบั ฟลิ ์มโฮโลแกรม
9.5 กระดาษแขง็ ประกบกบั อะลมู ิเนยี มฟอยล์ (Aluminum Foil Laminated
Board) เปน็ การน�ำ กระดาษแขง็ ประเภทกระดาษดูเพลกซ์เคลือบ มาประกบกบั ฟิล์มโฮโลแกรมที่
ผวิ ดา้ นหลังของกระดาษ ท�ำ ให้กระดาษมีคุณสมบัติปอ้ งกนั อากาศและความชนื้ ได้ดี กระดาษชนิดน้ี
จงึ เหมาะกบั การน�ำ มาใชท้ �ำ เป็นบรรจุภณั ฑ์ประเภทบรรจุอาหาร เช่น กลอ่ งบรรจุอาหารกล่อง เปน็ ตน้
ดังแสดงในภาพท่ี 3.16

ภาพท่ี 3.16 บรรจภุ ัณฑ์ท่ใี ช้กระดาษแข็งประกบกับอะลมู เิ นยี มฟอยล์

weera.ch 67

weera.ch 10. กระดาษแข็งเคลือบไข (Wax Coated Board Paper) เปน็ การนำ�กระดาษแข็งซึ่ง
ส่วนใหญจ่ ะใชก้ ระดาษดูเพลกซไ์ ปเคลอื บผวิ ด้านหลังดว้ ยไขพาราฟนิ (Paraffin Wax) เป็นสารสขี าว
ถึงสีเหลอื งออ่ น เป็นของแขง็ คลา้ ยขผี้ ้ึง ไม่มกี ล่นิ ไมม่ สี ี ซึ่งเปน็ สารประกอบประเภทไฮโดรคารบ์ อน
เป็นไขหรือแวก็ ซท์ ี่ไดม้ าจากกากสว่ นที่เหลือจากกระบวนการกล่นั น้าํ มนั ดิบ ทจ่ี ัดอยใู่ นกลมุ่ ปิโตรเลียม
(Petroleum Wax) มจี ุดหลอมเหลวอยทู่ ี่ระหวา่ ง 48-68 องศาเซลเซยี ส จุดเดือดประมาณ 150-275
องศาเซลเซยี ส คุณสมบตั ิของไขพาราฟนิ คือไมล่ ะลายในน้ํา หากตอ้ งการนำ�กระดาษแข็งเคลือบไขไป
ทำ�บรรจุภัณฑ์ท่ีต้องติดด้วยกาวอาจทำ�ให้ประสิทธิภาพการติดของกาวน้อยลงกว่าการติดบนกระดาษ
ทว่ั ไป ดงั น้นั อาจหลีกเล่ียงโดยออกแบบการท�ำ บรรจภุ ณั ฑใ์ ห้ติดด้วยวธิ อี ่ืน เชน่ การเขา้ ล้นิ ของตวั
บรรจภุ ณั ฑ์ การเยบ็ ดว้ ยลวด หรอื อาจตอ้ งเว้นการเคลือบบรเิ วณสว่ นทีต่ อ้ งทากาว จึงจะทำ�ให้กาว
สามารถยึดติดกบั กระดาษไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ กระดาษชนิดน้เี หมาะกบั การน�ำ มาใชท้ �ำ บรรจภุ ณั ฑ์
ประเภทอาหารแชแ่ ขง็ กลอ่ งบรรจุผักผลไม้ ดงั แสดงในภาพที่ 3.17

ภาพที่ 3.17 บรรจภุ ณั ฑท์ ี่ใชก้ ระดาษแขง็ เคลอื บไข

ประเภทของบรรจุภัณฑ์กระดาษ
กระดาษเป็นวัสดุรองรับการพิมพ์ที่มีการนำ�มาใช้เป็นบรรจุภัณฑ์สำ�หรับบรรจุและห่อหุ้ม
ผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ มาเปน็ ระยะเวลายาวนาน ปัจจุบนั กย็ ังมกี ารใชก้ ระดาษในการทำ�บรรจภุ ณั ฑ์กนั อยา่ ง
แพร่หลาย อาจจะกลา่ วได้ว่าเป็นวัสดทุ ี่มีการใช้มากทสี่ ุดในการทำ�บรรจุภัณฑเ์ มอ่ื เทยี บกบั วสั ดรุ องรับ
การพิมพป์ ระเภทอ่ืน กระดาษสามารถท�ำ บรรจุภัณฑ์ไดต้ ั้งแต่การใช้เปน็ กระดาษห่อผลิตภณั ฑ์ จนถึง

weera.ch68

weera.chการแปรรปู เป็นบรรจภุ ณั ฑช์ นิดต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ซองกระดาษ ถงุ กระดาษ กลอ่ งกระดาษ กระปอ๋ งกระดาษ
และเย่ือกระดาษขน้ึ รปู ซึง่ สามารถอธิบายประเภทของบรรจุภณั ฑ์ได้ ดงั นี้
1. กระดาษหอ่ (Wrapping Paper) เป็นบรรจภุ ณั ฑ์กระดาษประเภทแรกทเ่ี ราเรม่ิ ใชใ้ น
การหอ่ หมุ้ ผลิตภณั ฑต์ ่าง ๆ ในอดีตเรามักใช้กระดาษทใี่ ชแ้ ลว้ มาใชใ้ นการห่อผลติ ภณั ฑ์ เช่น ใช้กระดาษ
หนังสอื พมิ พ์หอ่ ผลติ ภัณฑท์ ีเ่ ราซอ้ื ตามรา้ นค้าทัว่ ไป ปัจจุบนั มีการพฒั นากระดาษหอ่ โดยใช้การพมิ พ์
ขอ้ ความหรอื ลวดลายต่าง ๆ ลงบนกระดาษเพื่อใชเ้ ป็นกระดาษสำ�หรบั หอ่ โดยเฉพาะ เชน่ กระดาษห่อ
ของขวัญตามห้างสรรพสนิ ค้าท่พี มิ พล์ ายตา่ ง ๆ กระดาษหอ่ ของสำ�หรบั หอ่ ผลิตภัณฑ์ของผู้ผลติ ต่าง ๆ
นอกจากนย้ี งั น�ำ มาใช้ในการหอ่ อาหารทอดหรืออบตา่ ง ๆ โดยใช้กระดาษกันไขมัน กระดาษกลาสซีน
เปน็ ต้น รวมทง้ั กระดาษที่มีการประกบกบั วัสดุอื่นเพื่อให้มีคุณสมบตั ติ ามต้องการ เชน่ ประกบกับฟลิ ม์
พลาสตกิ ดงั แสดงในภาพท่ี 3.18 กระดาษห่อมหี ลายขนาดตามแตค่ วามต้องการของผใู้ ชแ้ ละสามารถใช้
กระดาษได้หลากหลายชนิด ต้องการความหนาบางของกระดาษอยา่ งไรกส็ ามารถเลอื กใช้ได้ สว่ นระบบ
การพิมพท์ ใ่ี ช้กส็ ามารถเลอื กระบบการพิมพ์ไดท้ ้งั นี้อาจขึ้นอยกู่ ับจ�ำ นวนพมิ พ์ เพราะระบบการพิมพ์
แต่ละระบบมตี น้ ทุนทแี่ ตกต่างกัน

ภาพที่ 3.18 บรรจภุ ัณฑ์ประเภทกระดาษห่อ

2. ซองกระดาษ (Envelope) เป็นบรรจุภัณฑก์ ระดาษที่มีพื้นที่ในการจดั เกบ็ ผลติ ภณั ฑ์
น้อย เหมาะสำ�หรับผลิตภณั ฑ์ท่มี ขี นาดบาง นา้ํ หนักเบา ลกั ษณะของซองกระดาษจะต้องมฝี าปดิ
คลา้ ย ๆ ซองจดหมายท่ีใชส้ ง่ จดหมายกัน ซองกระดาษท่ีใช้ในการทำ�บรรจุภัณฑส์ ามารถใช้กระดาษได้
หลายชนดิ เช่น กระดาษไมเ่ คลอื บผวิ กระดาษเคลือบผิว กระดาษเหนียว กระดาษแขง็ ขนึ้ อยกู่ ารน�ำ
ไปใช้บรรจผุ ลิตภัณฑช์ นดิ ใด จงึ ต้องเลือกใชช้ นดิ ของกระดาษท่จี ะนำ�พิมพเ์ ปน็ บรรจุภณั ฑ์ซองกระดาษ
ซ่ึงลักษณะของซองกระดาษจะทำ�จากกระดาษชิ้นเดียวจะผ่านการพับและทำ�ให้เป็นรูปซองในขนาด

weera.ch 69

weera.chตา่ ง ๆ ตามความตอ้ งการ จะผนกึ ด้วยกาวเพ่ือใหก้ ระดาษทพี่ ับเป็นรปู ซองคงรูปอยไู่ ด้ โดยจะเปดิ ไว้ด้าน
หนึ่งเพ่อื ให้สามารถใส่ผลิตภณั ฑ์เขา้ ไปดา้ นในได้ สว่ นบริเวณทีเ่ ปดิ ไว้สามารถท�ำ ใหต้ ิดกบั ตัวซองได้ ซงึ่ มี
ทั้งฉาบกาวไวเ้ ม่อื น�ำ น้ํามาทาบรเิ วณทฉ่ี าบกาวไว้จะท�ำ ให้กาวออ่ นตัว และสามารถตดิ กับตวั ซองได้ โดย
การกดบริเวณดงั กล่าวไวส้ กั พกั ดังแสดงในภาพที่ 3.19 ภาพดา้ นซา้ ยมอื หรอื อาจมกี ารทำ�ให้สว่ นท่ีเปิด
ไว้ของซองติดกับตัวซองโดยมีการเจาะช่องไว้บนตัวซองเพ่ือให้สามารถใส่ปากซองเข้าไปในตัวซองได้
บางทกี เ็ รยี กวา่ การเข้าลิ้นซอง ดงั แสดงในภาพที่ 3.19 ภาพกลาง นอกจากนอี้ าจใช้วัสดอุ ่นื ชว่ ยในการ
ยดึ ตวั ซองกับปากซองให้ซองไม่ถกู เปดิ อ้า เช่น ใชเ้ ชือกพนั กับรงั ดมุ ทที่ ำ�ไวบ้ นซองและปากซอง ดังแสดง
ในภาพท่ี 3.19 ภาพดา้ นขวามือ ส่วนระบบการพมิ พ์ทใี่ ช้พมิ พ์ซองกระดาษกส็ ามารถเลือกใชร้ ะบบการ
พมิ พ์ได้ทกุ ระบบ

แบบกาวในตวั แบบการเข้าลิ้นซอง แบบใช้เชือกพัน

ภาพที่ 3.19 บรรจุภณั ฑ์ประเภทซองกระดาษ

3. ถุงกระดาษ (Paper Bag) เปน็ บรรจภุ ณั ฑก์ ระดาษทีม่ ีการใช้ส�ำ หรบั บรรจผุ ลิตภณั ฑ์
ต่าง ๆ ท�ำ จากกระดาษชิน้ เดยี ว กระดาษหลายชัน้ กระดาษประกบวัสดอุ น่ื ถงุ กระดาษจะมหี ลาย
ลกั ษณะบางชนิดเป็นแบบแบนราบคล้าย ๆ ซองกระดาษ บางประเภทกม็ จี บี ดา้ นข้าง (Gusset)
บางประเภทกม็ ีกน้ ถงุ ท้ังน้กี ารเลอื กใช้ถุงกระดาษกข็ ึ้นอยู่กับความตอ้ งการบรรจผุ ลิตภัณฑเ์ ปน็ หลกั
ถงุ กระดาษสามารถใช้ทำ�บรรจภุ ัณฑ์ได้โดยไมต่ ้องพมิ พ์ลวดลายหรอื พิมพล์ วดลายตา่ ง ๆ บนถงุ กระดาษ
ก็ได้ ระบบการพิมพ์สำ�หรบั พมิ พ์ถงุ กระดาษสามารถเลอื กใชไ้ ด้ทกุ ระบบการพิมพ์ ซ่ึงการพมิ พล์ วดลาย
ต่าง ๆ บนกระดาษท่เี ลือกใช้ในการท�ำ บรรจุภณั ฑ์กอ่ น จากนัน้ จงึ จะไปผา่ นกระบวนการงานหลงั พิมพ์ใน

weera.ch70

weera.chการปมั้ พับและป๊ัมตัดตามรปู ทรงท่ีตอ้ งการ แลว้ จะนำ�ไปพบั ให้เปน็ รูปทรงและติดด้วยกาว ถุงกระดาษที่
ใช้มหี ลากหลายขนาดสามารถออกแบบใหต้ รงตามความต้องการของเจ้าของผลิตภณั ฑ์ได้ แต่สามารถ
จ�ำ แนกถงุ กระดาษออกได้เปน็ 2 ชนดิ ได้แก่
3.1 ถงุ กระดาษชนั้ เดยี ว (Single Layer Paper Bag) เปน็ ถงุ กระดาษที่ใชก้ ระดาษชน้ั
เดยี ว เชน่ กระดาษปรฟู๊ กระดาษปอนด์ กระดาษการ์ตอาร์ต กระดาษคราฟต์ เปน็ ต้น ซง่ึ ถงุ กระดาษ ชน้ั
เดียวมีหลายแบบ ไดแ้ ก่
3.1.1 ถงุ กระดาษชน้ั เดียวแบบแบนราบ (Flat Bag) เป็นถุงกระดาษทม่ี ลี กั ษณะ
คลา้ ยซองกระดาษ ไม่มคี วามหนาบริเวณดา้ นขา้ งของถุงกระดาษ การผนึกด้านข้างของกระดาษให้ติด
กันเป็นถงุ มีทัง้ ผนกึ กลางถุงและผนกึ ด้านขา้ งของถงุ ผนึกตดิ กนั โดยใช้กาว ถุงกระดาษมที ้ังชนดิ ไม่มกี น้
จะติดผนึกกน้ ถงุ ด้วยกาว ถงุ ชนิดนจ้ี ะใส่ผลติ ภณั ฑ์ไดน้ อ้ ย ดงั แสดงในภาพที่ 3.20 ภาพซ้ายมอื สว่ นถงุ
ทีม่ กี ้นถุงจะมีการพับก้นถุง ท�ำ ให้สามารถใสผ่ ลิตภณั ฑไ์ ดม้ ากกวา่ ถุงแบบไมม่ กี น้ การติดผนกึ กน้ ถุงดว้ ย
กาว ดงั แสดงในภาพที่ 3.20 ภาพขวามอื

ชนิดไม่มกี ้น ชนิดมีก้น

ภาพท่ี 3.20 ถงุ กระดาษชัน้ เดียวแบบแบนราบ

3.1.2 ถงุ กระดาษชนั้ เดียวแบบขยายขา้ งและมกี น้ สีเ่ หลยี่ ม (Flat Bottom Bag)
บางทกี ็เรยี กวา่ ถงุ กระดาษเอสโอเอส (S.O.S. Bag หรอื Self-opening Square Bag) เปน็ ถุงกระดาษ
ท่มี ลี กั ษณะคลา้ ยถงุ กระดาษชน้ั เดียวแบบแบนราบชนดิ มกี ้น แตต่ า่ งกนั ที่ดา้ นขา้ งของถุงกระดาษแบบนี้
จะมคี วามกว้างดา้ นข้างถุงโดยเป็นรอยพับหรือรอยจีบ สามารถออกแบบใหม้ คี วามกวา้ งไดต้ ามต้องการ

weera.ch 71

weera.chสว่ นกน้ ถุงผนึกติดกับตวั ถุงดว้ ยกาว เมอื่ กางถงุ ออกสามารถวางตงั้ ตรงได้ ดังแสดงในภาพท่ี 3.21
สามารถใสผ่ ลติ ภัณฑไ์ ดม้ ากกว่าถงุ กระดาษแบบไมม่ ขี ยายขา้ ง ถุงกระดาษประเภทนม้ี กั ใส่บรรจุภณั ฑ์
ทวั่ ไป

ภาพท่ี 3.21 ถุงกระดาษช้นั เดียวแบบขยายข้างและมีกน้ สีเ่ หล่ยี ม

3.2 ถุงกระดาษหลายชน้ั (Multiwall Paper Sack) เป็นถุงกระดาษที่มขี นาดใหญ่
บรรจุผลิตภัณฑท์ ี่มนี ้ําหนกั มาก บางทกี ็เรยี กว่า กระสอบกระดาษหลายชน้ั นิยมใช้กระดาษเหนยี วที่
ทำ�จากเยอ่ื เสน้ ใยยาวเพ่อื เพิม่ ความแข็งแรงใหก้ ับบรรจุภณั ฑ์ ถงุ กระดาษหลายชนั้ ต้องมคี วามยดื หยนุ่
และความต้านทานตอ่ แรงดึงสูง ทนต่อการฉีกขาดได้ดี รองรับแรงอัด แรงกระแทกจากการขนยา้ ยหรอื
การใช้งาน ถุงกระดาษหลายช้ันจะใช้กระดาษคราฟต์มาซอ้ นเป็นชัน้ ๆ หลายชัน้ หรอื อาจประกบ
พลาสตกิ เพอ่ื เพ่มิ คุณสมบตั ดิ า้ นการปอ้ งกนั ความชน้ื ถงุ ประเภทนี้มกั ใสผ่ ลติ ถุงอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ เช่น
ถงุ ปนู ซเี มนต์ ถงุ บรรจอุ าหารสตั ว์ ถุงเพ่อื การขนสง่ ผลติ ภณั ฑ์ ถงุ บรรจุสารเคมี เป็นตน้
ถุงกระดาษหลายช้นั ก็มีรูปแบบคล้าย ๆ กบั ถงุ กระดาษชน้ั เดียว ซง่ึ แบ่งออกได้
เปน็ หลายแบบ ได้แก่ ถุงกระดาษหลายช้ันแบบแบนราบ ซ่งึ มีท้ังแบบไมม่ ีขยายข้าง ดังแสดงในภาพ
ท่ี 3.22 ภาพดา้ นซา้ ยมือ แบบขยายข้าง ดงั แสดงในภาพที่ 3.22 ภาพด้านขวามือ ถงุ กระดาษหลาย
ชั้นทง้ั 2 แบบน้จี ะสะดวกในการบรรจผุ ลิตภณั ฑ์ ส่วนกน้ ถงุ จะเป็นลกั ษณะการเย็บดว้ ยดา้ ยหรือติด
กาว ส่วนด้านปากถุงจะเปน็ ที่ส�ำ หรบั น�ำ ผลติ ภณั ฑ์เขา้ บรรจุ ถุงกระดาษแบบนีม้ ักใชบ้ รรจุผลิตภณั ฑท์ ี่
มีปรมิ าณน้ําหนกั มากหรือเป็นการบรรจุผลติ ภณั ฑท์ ีเ่ ป็นหน่วยใหญ่ เช่น บรรจุน้าํ ตาลทรายจำ�นวน 30
กโิ ลกรมั บรรจุแป้งมนั ส�ำ ปะหลงั 30 กโิ ลกรัม บรรจุเมด็ พลาสตกิ จำ�นวน 50 กโิ ลกรัม เปน็ ตน้

weera.ch72

weera.ch ชนดิ ไมม่ ขี ยายขา้ ง ชนิดขยายข้าง

ภาพท่ี 3.22 ถุงกระดาษหลายชน้ั
นอกจากน้ยี ังมีถุงกระดาษอีกลกั ษณะหนึ่งท่แี ตกตา่ งจากถงุ กระดาษอ่นื ๆ คอื ถงุ กระดาษ
แบบมลี นิ้ (Vale Bag) ถงุ แบบน้สี ามารถทำ�ได้จากกระดาษช้นั เดียวหรอื กระดาษหลายชั้นกไ็ ด้ ลักษณะ
ของถงุ จะเปน็ ถุงแบบขยายขา้ งและมลี ้นิ ท่ีปากถุง มกั ใช้กับการบรรจุผลิตภัณฑ์ทีส่ ามารถฟุ้งกระจาย
ได้ ลิน้ ที่ปากถงุ จะเป็นตวั ชว่ ยในการบรรจุผลิตภณั ฑไ์ ม่ใหฟ้ งุ้ กระจาย อกี ทัง้ ชว่ ยลดพ้ืนท่ีของอากาศท่ี
จะเข้าไปในถงุ ในระหว่างการบรรจุ ทำ�ใหบ้ รรจุได้เร็วและสะดวกกวา่ การเปิดปากถุงไว้ทางปากถุง จะใช้
กบั การบรรจผุ ลิตภณั ฑป์ ระเภททเ่ี ปน็ ผง เช่น ปนู ซเี มนต์ แปง้ ประเภทต่าง ๆ เป็นต้น ดังแสดงในภาพ
ที่ 3.23

ภาพท่ี 3.23 ถุงกระดาษแบบมีลนิ้
4. กลอ่ งกระดาษแข็ง (Paperboard box) เปน็ บรรจุภัณฑ์กระดาษท่ใี ชก้ ระดาษแข็ง
ในการทำ�บรรจุภัณฑ์ กระดาษท่นี ำ�มาใช้ ไดแ้ ก่ กระดาษดเู พลกซ์ กระดาษทรเิ พลกซ์ กระดาษชปิ
บอร์ด กระดาษการ์ดอาร์ต เปน็ ตน้ การเลอื กใชก้ ระดาษแข็งในการท�ำ กล่องน้ันข้ึนอยู่กบั คุณสมบตั ขิ อง

weera.ch 73

weera.chกระดาษ ลกั ษณะการใช้งานและความสวยงามของการพิมพ์ลงบนกระดาษ ความหนาของกระดาษ
จะผันตามนํา้ หนกั ของกระดาษที่น�ำ มาใช้ เช่น กระดาษนา้ํ หนัก 350 แกรมต่อตารางเมตร จะมีความ
หนาของกระดาษมากกว่ากระดาษท่มี ีนํา้ หนกั 250 แกรมตอ่ ตารางเมตร ทั้งน้เี พราะการชั่งนํ้าหนัก
ตามมาตรฐานของกระดาษนัน้ จะอยู่ทนี่ า้ํ หนักของกระดาษหนว่ ยเปน็ แกรมต่อพื้นท่ี 1 ตารางเมตร
ดังนนั้ การหานาํ้ หนักของกระดาษจะใชก้ ระดาษทม่ี ีความกว้าง 1 เมตร x กระดาษทม่ี คี วามยาว 1 เมตร
นำ�ไปชงั่ น้ําหนักได้เท่าไหร่กเ็ ป็นนํ้าหนกั เท่านั้นแกรมต่อตารางเมตร กระดาษถูกจ�ำ กัดด้วยขนาด
มาตรฐานเม่ือมีปริมาณนํ้าหนักของกระดาษเพ่ิมขึ้นก็จะทำ�ให้กระดาษมีความหนาเพ่ิมข้ึนด้วย
กล่องกระดาษแขง็ ท่ีน�ำ มาใช้บรรจผุ ลติ ภัณฑต์ ่าง ๆ มดี ้วยกัน 2 ชนิด (นุชจรนิ ทร์ เหลอื งสะอาด, 2556,
น.3-36) ไดแ้ ก่
4.1 กลอ่ งพับได้ (Folding Carton) เปน็ กลอ่ งกระดาษแข็งทใี่ ชใ้ นการบรรจุผลิตภัณฑ์
ต่าง ๆ ท่ใี ชม้ ากท่ใี นบรรจุภณั ฑป์ ระเภทกล่องกระดาษแขง็ เมือ่ ผ่านกระบวนการในการผลิตจนเปน็
กลอ่ งแล้ว สามารถพับใหแ้ บนลงได้เมื่อจะใช้ก็สามารถทำ�ใหก้ ลบั ไปเปน็ รูปทรงกล่องตามเดมิ ลักษณะ
รูปทรงของกล่องมีหลากหลายรูปทรงขึ้นอยู่กับลักษณะของผลิตภัณฑ์ท่ีบรรจุหรือข้ึนอยู่กับการ
ออกแบบ บรรจุภัณฑว์ ่าจะเปน็ รปู ทรงใด กลอ่ งพับไดม้ ีทง้ั ชนดิ มฝี าปิดหรือไมม่ ฝี าปดิ ก็ได้ การติดผนกึ
ให้เป็นรูปทรงกจ็ ะใช้กาวติดเป็นสว่ นใหญบ่ รเิ วณดา้ นขา้ งของกลอ่ งเพอ่ื ให้เปน็ รปู ทรงของกลอ่ ง ส่วน
บรเิ วณหัวกล่องและก้นกล่องมีทั้งชนิดติดผนึกด้วยกาวหลงั จากบรรจผุ ลิตภณั ฑแ์ ลว้ การผนกึ ด้วยกาว
แบบนชี้ ่วยใหผ้ ลิตภัณฑ์ท่ีบรรจไุ มถ่ กู เปิดออก ดังแสดงในภาพที่ 3.24 ด้านซา้ ยมือ และแบบการทำ�ลิ้น
กระดาษสอดเขา้ ไปในตัวกลอ่ งกระดาษ ดงั แสดงในภาพท ี่ 3.24 ดา้ นขวามือ

แบบผนึกด้วยกาว แบบใช้ลิน้ กระดาษสอด

ภาพท่ี 3.24 กล่องพบั ได้

weera.ch74

weera.ch รปู ทรงของกล่องกระดาษพบั ได้ แมว้ ่าจะสามารถทำ�ไดห้ ลากหลายรูปทรง แต่ก็ยงั อยู่
ในรปู แบบหลกั ๆ 2 รูปแบบคอื แบบถาด (Tray) โดยลกั ษณะจะเป็นกลอ่ งทีม่ กี ารพบั ด้านขา้ งและหัว
ทา้ ยของตวั กล่องชนกนั เปน็ รูปถาด จะเปน็ สเี่ หลยี่ ม สามเหลย่ี ม หรอื ออกแบบอย่างไรกไ็ ด้ จะมีฝาปิดตดิ
เป็นช้ินเดียวกับตัวกล่องก็ได้ ไม่มีฝาปดิ ก็ได้ แต่ต้องมีกน้ กลอ่ ง ติดผนึกดว้ ยกาวหรอื การใช้สนิ้ กระดาษ
สอดไวก้ บั ตัวกลอ่ ง ดงั แสดงในภาพที่ 3.25 ภาพด้านซ้ายมอื และแบบท่อ (Tube) หรอื แบบตะเข็บ
ขา้ ง โดยลกั ษณะของกล่องจะเปน็ ทรงยาวกวา่ แบบถาด ตวั กล่องมีการติดผนึกกาวตลอดแนวตะเขบ็ ข้าง
มีฝาปิดทั้งด้านบนและด้านลา่ ง โดยอาจผนึกกาวปดิ หลังจากบรรจุผลติ ภัณฑเ์ รยี บรอ้ ย หรอื อาจใช้
ลน้ิ กระดาษจากฝาปดิ สอดเข้าไปในตัวกลอ่ งแทนการตดิ ผนกึ ด้วยกาว ดงั แสดงในภาพท่ี 3.25 ภาพดา้ น
ขวามอื

แบบถาด แบบท่อ

ภาพที่ 3.25 รูปทรงกล่องพบั ได้

4.2 กล่องคงรูป (Folding Carton) เป็นกล่องกระดาษแขง็ ทใี่ ช้ในการบรรจผุ ลิตภัณฑ์
เมื่อผ่านกระบวนการในการผลิตจนเป็นกล่องแล้วจะไม่สามารถพับให้กล่องแบนเหมือนกล่องพับ
ได้ กล่องลกั ษณะน้ีจะเปน็ กลอ่ งทีม่ ีความแขง็ แรง รูปทรงสวยงาม สามารถท�ำ ได้หลากหลายรปู ทรง
นอกเหนอื จากรปู ทรงเรขาคณิตทว่ั ไป ส่วนใหญ่จะเป็นกลอ่ งท่ีมีฝาซึง่ มที ง้ั ฝาติดกบั กับตัวกลอ่ ง ดงั แสดง
ในภาพที่ 3.26 ภาพด้านซ้ายมอื ฝาแยกกบั ตัวกลอ่ ง ดังแสดงในภาพที่ 3.26 ภาพกลาง นอกจากนีย้ งั
รปู ทรงอน่ื ๆ ทีเ่ ราสามารถออกแบบได้ตามตอ้ งการ เช่น กลอ่ งรูปทรงดาว กลอ่ งรูปทรงหวั ใจ กลอ่ งรปู
ทรงอสิ ระ เปน็ ต้น ดังแสดงในภาพท่ี 3.26 ภาพด้านขวามือ กล่องคงรปู นีจ้ ะมีตน้ ทนุ การผลติ ค่อนข้างสูง
กวา่ กล่องพับได ้ เหมาะสำ�หรับบรรจผุ ลิตภณั ฑ์ประเภทมีราคาหรอื ตอ้ งการความหรูหรา

75

weera.ch แบบรูปทรงดาว
แบบฝาติดกบั กบั ตัวกลอ่ ง แบบฝาแยกกบั ตวั กลอ่ ง

ภาพที่ 3.26 กลอ่ งคงรปู

5. กระปอ๋ งกระดาษ (Paper Can หรอื Composite can) เปน็ บรรจภุ ณั ฑ์กระดาษท่ี
ใชก้ ระดาษแข็งหรอื กระดาษเหนยี วในการตัวกระป๋องกระดาษบรรจภุ ณั ฑ์ อาจมกี ารเคลือบดว้ ยไขหรือ
ขี้ผึง้ (Wax) หรือประกบดว้ ยอะลูมิเนียมฟอยล์ เพื่อปกปอ้ งผลติ ภณั ฑ์จากความช้นื สว่ นของฝาซ่งึ อาจ
อยู่ในรปู แบบของฝาครอบหรอื สวมหรือตะเข็บคู่ รปู ทรงกระปอ๋ งกระดาษจะมลี ักษณะเปน็ ทรงกระบอก
นา้ํ หนักเบากวา่ กระปอ๋ งโลหะ โดยทว่ั ไปกระปอ๋ งกระดาษสามารถแบง่ ออกเป็น 2 แบบ ไดแ้ ก่
5.1 กระป๋องกระดาษแบบเปเปอร์แคน (Paper Can) ตวั กระป๋องทำ�จากกระดาษ
เหนียวหรือกระดาษคราฟต์เพยี งอย่างเดียว โดยการพนั กระดาษเป็นรปู ทรงกระบอกทบั กนั หลาย ๆ
ชนั้ พันแบบเกลยี วหรอื แบบแนวตรง ฝาและกน้ กระปอ๋ งจะเป็นแบบสวมลงไปบนตวั กระป๋อง หรอื ใช้
วสั ดอุ น่ื มาปดิ เป็นฝากระป๋อง นยิ มใชบ้ รรจผุ ลิตภัณฑแ์ หง้ ๆ เพราะใชก้ ระดาษดราฟตอ์ ยา่ งเดียว อาจมี
คณุ สมบัตปิ อ้ งกนั ความช้ืนไมไ่ ดม้ าก ดังแสดงในภาพท่ี 3.27
weera.ch

ภาพที่ 3.27 กระป๋องกระดาษแบบเปเปอร์แคน

weera.ch76

weera.ch 5.2 กระปอ๋ งกระดาษแบบลูกผสมหรอื แบบคอมโพสติ (Composite Can) ตัว
กระป๋องทำ�จากวสั ดหุ ลายชนดิ มาประกบกนั เช่น กระดาษแขง็ หรอื กระดาษเหนียวเคลือบด้วย
อะลูมิเนียมฟอยล์ หรือฟิลม์ พอลเิ มอร์ เพือ่ ให้เกดิ คณุ สมบัติทีด่ ีในการบรรจุผลิตภณั ฑ์ เช่น ความสามารถ
ในการป้องกันความชน้ื ป้องกันอากาศ เปน็ ต้น สำ�หรบั ฝากระปอ๋ งอาจทำ�จากพลาสตกิ หรือโลหะแบบมี
ห่วงเปิดงา่ ย ขนึ้ อยูก่ ับวตั ถุประสงค์และคณุ ภาพของตะเขบ็ ระหวา่ งตวั กระป๋อง ฝาและรอยต่อของการ
พัน เพ่อื ปอ้ งกันการร่วั ซึมกระป๋องกระดาษไดพ้ ัฒนาขน้ึ เพ่อื ตอบสนองต่อผลติ ภณั ฑ์ท่ีตอ้ งการลดปญั หา
น้าํ หนักและความแข็งแรงของตัวบรรจุภณั ฑ์ ความสามารถในการป้องกนั ความชน้ื รวมไปถึงความง่าย
ตอ่ การปรับเปลีย่ นการออกแบบตวั กระป๋องเพอ่ื ให้เกิดความนา่ สนใจ ผลิตภณั ฑท์ ่ีนยิ มบรรจใุ นกระป๋อง
กระดาษ เช่น แป้งฝุ่น ยารักษาโรค ถัว่ หรือธัญพืชต่าง ๆ ขนมขบเค้ยี ว นมผง กาแฟ นํ้าตาล ครีมเทียม
เปน็ ต้น ดงั แสดงในภาพท่ี 3.28
กระป๋องกระดาษแบบคอมโพสิต นอกจากใชใ้ นการบรรจผุ ลิตภณั ฑ์แบบเดิม ๆ แล้ว
มกี ารนำ�มาใชใ้ นการบรรจุผลติ ภัณฑ์ทีแ่ ตกตา่ งไปจากเดิม เช่น บรรจุนาฬิกา บรรจุรองเทา้ บรรจเุ ส้ือ
บรรจขุ วดสุรา เป็นต้น ท้งั นี้เพอื่ สร้างความโดดเดน่ และความแตกตา่ งและก่อใหเ้ กดิ ความน่าดึงดูดต่อ
ผบู้ ริโภค

ภาพท่ี 3.28 กระป๋องกระดาษแบบคอมโพสิต

6. ถังกระดาษ (Paper Drum) เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษที่ใช้กระดาษเหนยี วในการทำ�ตัว
ถังกระดาษ ลักษณะเช่นเดยี วกบั การท�ำ กระปอ๋ งกระดาษ แตม่ ขี นาดใหญ่กว่า มักใช้บรรจผุ ลิตภัณฑท์ ี่
มีน้ําหนักมาก หรอื เพื่อกาารขนสง่ ดังแสดงในภาพท่ี 3.29

weera.ch 77

weera.ch ภาพที่ 3.29 ถงั กระดาษ
7. บรรจุภณั ฑเ์ ย่ือกระดาษอดั ขนึ้ รปู (Moulded Pulp Container) บรรจภุ ัณฑ ์
ประเภทนท้ี์ �ำ จากเยอื่ บรสิ ทุ ธทิ์ ่ีใช้ท�ำ กระดาษรวมทง้ั เสน้ ใยธรรมชาติอ่ืน ๆ เช่น ออ้ ย ไม้ไผ่ ฟางขา้ ว
สาลี และเยอ่ีื เศษกระดาษจากกระดาษรไี ซเคลิ สีพืน้ ผวิ และความแขง็ แรงของบรรจภุ ณั ฑ์ข้นึ อยกู่ ับเยื่อ
ตา่ ง ๆ ท่ีเปน็ วตั ถุดิบ บรรจุภัณฑ์แบบนสี้ ามารถขนึ้ รปู เป็นบรรจุภณั ฑใ์ นรปู ทรงตา่ ง ๆ ได้ ซ่งึ แตกตา่ งจาก
บรรจภุ ณั ฑ์อ่นื ๆ ท่ีต้องขน้ึ รปู ทรงจากกระดาษแผน่ เรยี บ ดังนั้นการออกแบบให้บรรจุภัณฑ์เยือ่ กระดาษ
อัดขึ้นรปู สามารถทำ�ใหม้ มี มุ มนหรือมมุ เหล่ียมและรูปทรงสามมิตอิ ย่างไรก็ได้ ปัจจุบนั เทคโนโลยกี าร
ผลิตบรรจุภัณฑป์ ระเภทนไ้ี ดร้ บั การปรบั ปรุงให้ดขี น้ึ ดังนัน้ บรรจภุ ัณฑป์ ระเภทน้มี์ พี นื้ ผวิ ท่รี าบร่ืนและ
มรี ูปลกั ษณ์ทีซ่ บั ซ้อนมากขึน้ ดงั แสดงในภาพท่ี 3.30 นอกเหนือจากการบรรจุหบี หอ่ แบบด้งั เดิม เช่น
กลอ่ งบรรจไุ ข่ เปน็ ต้น

ภาพที่ 3.30 บรรจภุ ัณฑ์เย่อื กระดาษอัดข้นึ รูป

weera.ch78

weera.ch บรรจุภัณฑ์เย่ือกระดาษอัดขึ้นรูปท่ีทำ�จากเย่ือบริสุทธ์ิจะใช้ข้ึนรูปเพ่ือเป็นบรรจุ
อาหารส�ำ เร็จรูปและอาหารท่เี ข้าตอู้ บไมโครเวฟได้ ดังแสดงในภาพท่ี 3.31 ภาพซา้ ยมือ สว่ นบรรจภุ ณั ฑ์
ชนิดท่ีทำ�จากเยอ่ื เศษกระดาษจะใช้บรรจุ ไข่ ผกั ผลไมส้ ด และท�ำ เป็นวสั ดกุ ันกระแทก ดงั แสดงในภาพ
ท่ี 3.31 ภาพขวามอื การเลอื กใชต้ ้องค�ำ นงึ ถึงชนิดของผลติ ภัณฑ์ทจี่ ะบรรจุเป็นสำ�คญั เพราะเกย่ี วข้อง
กบั ความปลอดภยั ของผู้บริโภค ซง่ึ จะตอ้ งเลือกใชใ้ หถ้ กู ต้อง

เยื่อบริสทุ ธ ์ิ เยอื่ เศษกระดาษ

ภาพที่ 3.31 บรรจุภัณฑ์เยอ่ื กระดาษอัดขึน้ รปู จากเย่ือกระดาษ

สรุป
บรรจุภัณฑ์กระดาษเป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีมีปริมาณการใช้มากที่สุดเมื่อเทียบกับบรรจุภัณฑ์
ประเภทอนื่ ขอ้ ดขี องบรรจุภัณฑ์กระดาษคือมีราคาค่อนขา้ งถูก สามารถเปล่ียนแปลงรูปแบบรูปทรง
ของบรรจภุ ณั ฑไ์ ด้ง่าย เพราะต้นทุนของกระบวนการผลิตสิ่งพมิ พ์บรรจุภัณฑบ์ นกระดาษยงั มรี าคาไม่สูง
นัก ออกแบบและปรบั เปล่ยี นไดง้ ่าย บรรจุภัณฑ์กระดาษตอ้ งอาศยั วัสดรุ องรบั ทางการพิมพค์ อื กระดาษ
ดังน้ันการเลือกใช้ชนิดของกระดาษก็มีส่วนสำ�คัญอย่างมากในการท่ีจะทำ�ให้บรรจุภัณฑ์กระดาษ
สามารถคมุ้ ครองผลิตภัณฑภ์ ายในได้ รวมทง้ั การรกั ษาคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑภ์ ายในบรรจภุ ณั ฑ์ต้องมี
คณุ ภาพสมบูรณ์ตามมาตรฐานของผลติ ภณั ฑ์ การทีม่ ชี นิดกระดาษมากมายใหเ้ ลอื กใช้ ชว่ ยใหส้ ามารถ
ออกแบบได้อยา่ งหลากหลาย และการพมิ พ์ข้อความหรือลวดลายต่าง ๆ บนบรรจภุ ณั ฑก์ ็สามารถทจี่ ะ
เลือกใชร้ ะบบการพมิ พ์ได้ทกุ ระบบ ข้ึนอยู่คณุ สมบัตขิ องระบบการพิมพน์ ้นั ๆ กบั จ�ำ นวนพิมพ์ เพราะ
ทัง้ หมดคือต้นทุนของบรรจภุ ณั ฑ์

79

ค�ำ ถามท้ายบท

1. วัตถดุ บิ ในกระดาษมอี ะไรบา้ ง
2. สารเตมิ แต่งในกระดาษมคี วามจ�ำ เปน็ อยา่ งไรต่อกระบวนการผลติ กระดาษ
3. สารใดชว่ ยปอ้ งกนั การถอนผวิ กระดาษระหว่างการพิมพ์
4. กระดาษชนดิ ใดเหมาะส�ำ หรบั การมาท�ำ บรรจุภณั ฑป์ อ้ งกนั ไขมนั
5. กระดาษจวั ปังคือกระดาษอะไรมีลักษณะเชน่ ใด
6. ซองกระดาษมีกแ่ี บบอะไรบ้าง
7. ถา้ ต้องบรรจผุ ลติ ภณั ฑ์ท่ฟี ุ้งกระจายได้งา่ ยควรเลือกบรรจุภัณฑ์ประเภทใด
8. กระปอ๋ งกระดาษแบบเปเปอร์แคนกบั ระปอ๋ งกระดาษแบบคอมโพสติ ต่างกันอยา่ งไร
9. ถ้าตอ้ งการบรรจภุ ัณฑ์กลอ่ งกระดาษพบั ไดใ้ นการพิมพ์กล่องขนมเค๊กควรเลือกใช้กระดาษชนิดใด
10. บรรจภุ ณั ฑ์เยื่อกระดาษอัดขึ้นรูปท�ำ จากเยือ่ กระดาษประเภทใด
weera.ch

weera.ch

80

เอกสารอา้ งองิ

นุชจรนิ ทร์ เหลืองสะอาด. (2556). “ประเภทและการแปรรูปกลอ่ งกระดาษแขง็ ” ใน เอกสารการสอน
ชดุ วชิ าความรู้ทว่ั ไปเก่ยี วกบั บรรจภุ ัณฑ์. หนว่ ยท่ี 3. นนทบรุ :ี สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หนา้ 3-36.
มยรุ ี ภาคล�ำ เจียก. (2556). “กระดาษแข็ง” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาวัสดทุ างการพมิ พแ์ ละ
บรรจภุ ัณฑ์. หน่วยท่ี 2. นนทบุร:ี สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั
สโุ ขทยั ธรรมาธิราช หนา้ 2-38.
weera.ch

weera.ch

weera.ch weera.ch


Click to View FlipBook Version