The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paradon, 2021-07-08 02:57:44

คู่มือนักศึกษา ระดับปริญญาตรี 2564

คู่มือนักศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2562

* FA422801 การจัดการการแสดงขัน้ พืน้ ฐาน 3(1-4-4)
Basic Production Management
เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี
หลกั การจัดการแสดงเบ้อื งต้น ทดลองปฏิบตั กิ าร และประเมินผล
Principle in production management, production managing, evaluation
* FA422305 การกา� กบั การแสดงข้นั พ้ืนฐาน 3(1-4-4)
Basic Directing
เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี
แก่นความคิดหลักและสารจากบทละครคัดสรร องค์ประกอบภาพบนเวที ทักษะการก�ากับ
และการสอ่ื สารในฐานะผกู้ �ากบั
Main idea and message from selected play, stage compositions, directing skill
and communication of the director
* FA422201 วรรณกรรมการละคร 3(3-0-6)
Drama Literature
เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี
ศึกษา วิเคราะห ์ แนวคิดและความส�าคญั ของบทละครในแตล่ ะยุคสมัย
Study, analysis, thought and importance of theatrical plays in different periods
** FA423401 ละครประยกุ ต ์ 3(2-2-5)
Applied Theatre
เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี
ความเปน็ มา แนวคดิ พฒั นาการ กระบวนการละคร การออกแบบกจิ กรรมละคร การสรา้ งสรรค์
ผลงานละครประยุกต ์ และนา� เสนอการแสดง
Background, concept, development, drama-process, drama-activities design,
creating applied theatre, presenting performance
** FA423402 การแสดงแนวดไี วซ ์ 3(1-4-4)
Devised Performance
เง่ือนไขของรายวิชา: ไม่มี
ความเปน็ มาของการแสดงแนวดีไวซ์ เสียงและการเคล่อื นไหว ร่างกายและจติ ใจ วเิ คราะห์
การเคลอ่ื นไหว ฝกึ การเคลอื่ นไหว การแสดงแบบดน้ สด การแสดงจากตวั บทคดั สรร การสรา้ งงานเดยี่ ว
และกลมุ่ และน�าเสนอการแสดง
200 คู่มือนกั ศึกษา ระดับปริญญาตรี 2564

Background of devised performance, vocal and movement, body and mind,
movement analysis, practicing movement, improvisation performance, creating
performance from selected text, creating solo and ensemble performance, presenting
performance
** FA423101 ทฤษฎีการแสดง 3(3-0-6)
Performance Theory
เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
ความเป็นมา บทบาทส่อื การแสดง พิธีกรรม การละเล่น กรอบกระบวนทัศน์ต่อส่ือการแสดง
ประเภทของการแสดง กระบวนการการแสดง
Background, functions of performance, ritual, play, performativity, performing,
performance process
** FA423503 การออกแบบแสงและฉากสา� หรับละครเวที 3(1-4-4)
Stage Lighting and Scenic Design for Theatre
เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี
ประเภทของเวทแี ละโรงละคร ส่วนประกอบของเวที เคร่ืองมือ และวัสดอุ ุปกรณ ์ ออกแบบ
ฉากและแสง องคป์ ระกอบศิลป ์ การสร้างแบบจา� ลองฉากและแปลนไฟ
Types of stage and theatre, stage composition, tools and materials, set and
lighting design, stage model and lighting plan
** FA424102 การวจิ ารณล์ ะครเวทีและการแสดง 3(3-0-6)
Theatre and Performance Criticism
เง่อื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
ทฤษฎีการวิจารณ์ละคร บทวิจารณเ์ ชงิ วิชาการ การวิจารณส์ ร้างสรรคผ์ ่านการพูดและเขียน
Theory of theatre criticism, critique, constructive criticism in both oral and
writing form
* FA424405 สหวิทยาการศิลปะการแสดง 3(2-2-5)
Interdisciplinary Approach to Performing Arts
เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี
แนวคดิ ทางสหวทิ ยาการ การทา� งานขา้ มพน้ สาขา การบรู ณาการและความรว่ มมอื ดา้ นศลิ ปะ
การแสดงกับสาขาวชิ าอ่ืนๆ
Interdisciplinary concept, cross-disciplinary approach, integrating and
collaborating with other disciplines

คู่มอื นักศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564 201

** FA424701 สัมมนาทางละครเวทีและการแสดง 3(2-2-5)
Seminar in Theatre and Performance
เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี
สัมมนาประเด็นส�าคัญเกี่ยวกับงานวิจัยด้านละครเวทีและการแสดง ทบทวนวรรณกรรม
ท่ีเก่ียวข้อง และพัฒนาเค้าโครงวิจัยในหัวข้อที่นักศึกษาสนใจภายใต้ค�าแนะน�าของอาจารย์ผู้สอน
และอาจารยท์ ่ีปรึกษา
Seminar on the major issue in theatre and performance research, review of
related literature, research proposal development on students’ interested topics under
supervision of course lecturer and research advisors
* FA443406 ปฏบิ ัติการแสดงและกา� กบั การแสดงข้ันกลาง 3(1-4-4)
Intermediate Acting and Directing Practice
เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี
ทักษะการก�ากับการแสดงข้ันกลาง หรือ ทักษะการแสดงขั้นกลาง การสร้างสรรค์ผลงาน
ในฐานะศิลปิน น�าเสนอผลงานละครและการแสดง
Intermediate directing skill or intermediate acting skill, performance making,
presenting theatre and performance
* FA443407 ปฏบิ ัตกิ ารแสดงและกา� กับการแสดงข้นั สูง 3(1-4-4)
Advanced Acting and Directing Practice
เง่ือนไขของรายวิชา: ผา่ น FA443 406
ทักษะการกา� กบั การแสดงข้ันสูง หรอื ทักษะการแสดงข้ันสูง การสรา้ งสรรค์ผลงานร่วมสมัย
ในฐานะศิลปิน น�าเสนอผลงานละครและการแสดง
Advanced directing skill or advanced acting skill, contemporary
performance-making, presenting theatre and performance
* FA443408 ปฏบิ ตั กิ ารละครประยกุ ต ์ 1 3(1-4-4)
Applied Theatre Practice I
เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี
ละครสร้างสรรค์ ละครส�าหรับเด็กและเยาวชน ละครการศึกษา การเขียนโครงการละคร
สร้างสรรค ์ ฝึกปฏบิ ัติภาคสนาม ประเมนิ คณุ ค่าและถอดบทเรยี น น�าเสนอผลการด�าเนินงาน
Creative drama, theatre for youth and children, educational theatre, writing
project proposal, conducting fieldwork, evaluations and lesson learned, presenting the
results

202 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี 2564

* FA443409 ปฏบิ ัตกิ ารละครประยุกต ์ 2 3(1-4-4)
Applied Theatre Practice II
เง่อื นไขของรายวิชา: ผา่ น FA443 408
แนวคดิ ละครชมุ ชนและละครเพ่อื การพัฒนา บริบทความเป็นชุมชนอสี าน วเิ คราะหป์ ระเดน็
ชมุ ชน เขยี นโครงการส�าหรับละครชมุ ชน ประเด็นการออกแบบกระบวนการ ฝกึ ปฏบิ ัตลิ ะครชุมชนใน
พ้นื ท่ีภาคอสี าน สงั เคราะห ์ ประเมนิ คุณค่า และถอดบทเรียน สรา้ งสรรค์และพัฒนาผลงานละครจาก
ฐานชุมชน และนา� เสนอการแสดง
Community theatre and theatre for development concept, Isan community
context, community issue analysis, writing project proposal, issues, designing the
process, fieldwork in Isan community, synthesis, evaluation and lesson learned,
creating and developing theatre from community-based, and presenting performance
* FA443802 การจดั การเทคนคิ และการผลิตการแสดง 3(1-4-4)
Technical and Production Management
เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
เทคนคิ พน้ื ฐานสา� หรบั การบรหิ ารจดั การการแสดง องคก์ ร การสอ่ื สาร ความสมั พนั ธ ์ ประสาน
การทา� งานทกุ ฝา่ ย การจดั การโครงการการแสดง วเิ คราะหป์ ญั หาและการจดั การปญั หา การจดบนั ทกึ
การดา� เนินงาน
Technical and production management, organization, communication, relationships,
coordinating all departments, project-manage production, analyzing and solving
problems, writing production report
* FA443803 การออกแบบการแสดงและการจัดการ 3(1-4-4)
Production Design and Management
เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี
ลกั ษณะการจดั การโครงสรา้ งการแสดง หลกั การพน้ื ฐานทางดา้ นการออกแบบทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั
การพัฒนาผลงานการแสดง องค์ประกอบการออกแบบฉาก เสื้อผ้า อุปกรณ์ประกอบการแสดง
แสง เสียง การฉายภาพ การนา� แนวคดิ มาสร้างสรรค์ผลงานและจัดแสดงส่สู าธารณะ
Aspects to managing the infrastructure for performance, the fundamental
principles of design in developing a performances, setting design elements, costumes,
props, lighting, sound, and projection from concept to public performance

คมู่ อื นักศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564 203

* FA443804 ปฏิบัตกิ ารผลติ 1 3(1-4-4)
Production Practice I
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
การพัฒนาทกั ษะ ความร้ ู การแก้ปัญหาในกระบวนการผลติ ผลงานการแสดง การจัดการคน
และภาคสว่ นตา่ งๆ การเจราจาต่อรองกบั กลุ่มผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงาน
Developing skill, knowledge, problem-solving in production management,
managing people and departments in negotiation with creative team
* FA443805 ปฏิบัติการผลิต 2 3(1-4-4)
Production Practice II
เงือ่ นไขของรายวชิ า: ผา่ น FA443 804
การแสวงหาความร่วมมือในการสร้างสรรค์ร่วมกับผู้ก�ากับ นักแสดง นักออกแบบ และ
นกั ประพันธ์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานการแสดงรปู แบบใหม่
Exploring creative collaborations with directors, actors, designers, and
playwrights, creating new forms of theatrical expression
** FA454903 โครงงานการละคร 3(1-4-4)
Theatre Project
เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี
กระบวนการวจิ ยั ทางศลิ ปะการแสดง เลอื กหวั ขอ้ วจิ ยั เขยี นและสอบเคา้ โครง เตรยี มความพรอ้ ม
สู่ศลิ ปะการแสดงนิพนธ ์ ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านละคร
Performance as research, selected research topic, writing a research proposal
for performing arts thesis, theatre and performance practice
** FA454904 ศลิ ปะการแสดงนิพนธ์ 6(1-10-7)
Performing Arts Thesis
เง่ือนไขของรายวชิ า: ผ่าน FA454 903
การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะการแสดง การจัดแสดงผลงานต่อสาธารณชน การสรุปและ
สังเคราะห์ การประเมินคุณค่าในแง่วิชาการและวิชาชีพ สังเคราะห์องค์ความรู้ใหม่ จัดท�าเอกสาร
รายงานวจิ ัยฉบบั สมบูรณ ์
Performance making, public performance, evaluation summarize and synthesize
the body of knowledge from practice, writing research report
204 คู่มือนักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564

* FA443306 ไมม์ 3(2-2-5)
Mime
เงือ่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี
การสื่อสารขา้ มพรมแดนของภาษาพดู ภาษาทา่ ทาง จนิ ตนาการ ฝกึ ปฏบิ ัติละครไมม์
Communication beyond spoken language, body gesture, imagination, mime
practice
* FA443307 ละครหนุ่ 3(1-4-4)
Puppet Theatre
เง่ือนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
ความเป็นมา ปฏิบัติการออกแบบและสร้างหุ่นละครแบบต่างๆ หลักการเคล่ือนไหว
การเชดิ หนุ่ และเคลื่อนไหวอย่างมีชีวติ การทา� งานกบั เสยี งและดนตรี การแสดง สร้างการแสดงจากตัว
บท และพฒั นาบนพ้นื ที่เฉพาะ นา� เสนอผลงานเปน็ การแสดงขนาดสนั้
Background, practice in design and creation of puppets, principle of movement,
animation and manipulation, voice and music work, acting, creating a performance
from text, and develop on site-specific, presenting a short performance
* FA443410 ละครเพลง 3(2-2-5)
Musical Theatre
เง่ือนไขของรายวิชา: ไมม่ ี
ประวัติของละครเพลง การแสดงในละครเพลง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง การขับร้อง
และประสานเสยี ง
History of musical theatre, acting in musical theatre, movement and singing for
musical theatre
* FA443411 ละครเพ่อื การเปลี่ยนแปลง 3(1-4-4)
Transformative Theatre
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
ละครกับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 กระบวนการละครเพ่ือการเปลี่ยนแปลง การค้นหา
ศักยภาพผู้เรยี นดว้ ยกิจกรรมละคร การสร้างสรรค์ละครขนาดส้ัน การประเมนิ คณุ คา่ ละคร
Theatre and 21st century learning, Transformative Theatre, discover participant’s
ability through drama, creating a short drama piece, theatre evaluation
* FA443412 สมาธิกบั การเคลอ่ื นไหว 3(1-4-4)
Meditation-based Movement
เงือ่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

คูม่ ือนักศึกษา ระดับปริญญาตรี 2564 205

พุทธศาสนากับการแสดง ศิลปะการแสดงแนวไซโคฟิสิกคัล สภาวะภายในของนักแสดง
รา่ งกายกับการเคลือ่ นไหว รปู นามและสตสิ ัมปชญั ญะ
Buddhism and performance, psychophysical performance, actor’s inner state,
body-mind and movement, mindfulness and wakefulness in actor
* FA443413 ละครชวนหัว 3(1-4-4)
Comedy Drama
เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
ประเภทและรปู แบบของละครชวนหวั สาระและอารมณข์ นั บทละครชวนหวั การแสดงละคร
ชวนหัว
Types and forms of comedy-drama, benefit and pleasure, comedic plays,
acting in comedy

3.2. ช่อื ตาำ แหน่งและคณุ วุฒขิ องอาจารย์
3.2.1 อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สตู ร
ลำาดบั ชอ่ื -นามสกุล ตาำ แหน่ง คุณวฒุ ิ
Ph.D. (Performing Arts)
1 นางสาวธนชั พร กิตตกิ ้อง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ M.Ed. (Drama and The Creative Arts
in Education)
2 นางศิรเิ พญ็ อัตไพบูลย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ B.F.A. (Theatre Arts)
3 นายพชญ อคั พราหมณ์ อาจารย์ ปร.ด. (ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภมู ภิ าค)
4 นางมลั ลกิ า ตั้งสงบ อาจารย์ อ.ม. (ศลิ ปการละคร)
ศป.บ. (ศลิ ปะการแสดง)
5 นางสาวศราวด ี ภูชมศรี อาจารย์ ศศ.ม. (จิตปัญญาศึกษาและการเรียนรู้สู่
การเปลย่ี นแปลง)
6 นางสาวสวุ ภัทร พันธป์ ภพ อาจารย์ บธ.บ. (การตลาด)
7 นายพงศธ์ ร ยอดดา� เนิน อาจารย์ ปร.ด. (วัฒนธรรม ศิลปกรรมและ
การออกแบบ
ศป.ม. (วจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรม)
ศษ.บ. (นาฏศลิ ป์ไทย)
อ.ม.(ศิลปการละคร)
ศป.บ.(ศลิ ปะการแสดง)
ศศ.ม. (นาฏยศลิ ปไ์ ทย)
ศป.บ. (ศิลปะการแสดง)

206 คมู่ ือนักศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี 2564

3.2.2 อาจารยป์ ระจ�า ตาำ แหน่ง คุณวฒุ ิ
ลาำ ดบั ช่อื -นามสกุล Ph.D. (Performing Arts)
1 นางสาวธนชั พร กิตตกิ ้อง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ M.Ed. (Drama and The Creative
Arts)
2 นางศริ ิเพญ็ อัตไพบลู ย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ปร.ด. (ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภูมภิ าค)
3 นายพชญ อคั พราหมณ์ อาจารย์ อ.ม. (ศลิ ปการละคร)
4 นางมัลลิกา ต้งั สงบ อาจารย์ ศป.บ. (ศลิ ปะการแสดง)
ศศ.ม. (จติ ปญั ญาศึกษาและการเรียนรู้สู่
5 นางสาวศราวดี ภูชมศรี อาจารย์ การเปลี่ยนแปลง)
บธ.ธ. (การตลาด)
6 นางสาวสวุ ภทั ร พนั ธป์ ภพ อาจารย์ ปร.ด. (วฒั นธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบ)
ศป.ม. (วจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรม)
7 นายพงศธ์ ร ยอดดา� เนนิ อาจารย์ ศษ.บ. (นาฏศลิ ป์ไทย)
8 นายจตุพร สมี ว่ ง รองศาสตราจารย์ อ.ม. (ศลิ ปการละคร)
9 นายจรญั กาญจนประดษิ ฐ์ รองศาสตราจารย์ ศป.บ. (ศลิ ปะการแสดง)
10 นายธรณสั หินออ่ น รองศาสตราจารย์ ศศ.ม. (นาฏยศิลปไ์ ทย)
11 นายวศั การก แกว้ ลอย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ปร.ด. (ดนตรวี ิทยา)
12 นางสาวภารด ี ต้งั แตง่ อาจารย์ ศป.ม. (มานุษยดรุ ยิ างควทิ ยา)
13 นายหริ ญั จักรเสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ศศ.ม. (ดุรยิ างคไ์ ทย)
ปร.ด. (ดรุ ยิ างคศลิ ป์)
Ph.D. (Translation Studies)
ปร.ด. (ดรุ ยิ างคศลิ ป์)

3.2.3 อาจารย์พิเศษ หน่วยงาน
ทส่ี งั กัด
ลำาดับ ชือ่ -นามสกลุ ตาำ แหนง่ คุณวฒุ ิ

1 นายกฤษณะ พันเพ็ง อาจารย์ด้าน Ph.D. (Perfor- จุฬาลงกรณ์
ส่อื สารการแสดง mance Practice) มหาวทิ ยาลัย
2 นางพรรตั น ์ ด�ารุง ศาสตราจารย์/ M.Ed. (Northwester จฬุ าลงกรณ์
ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ น State University of มหาวทิ ยาลัย
ละครประยกุ ต์ Louisiana)
3 นายปวติ ร มหาสารนิ ันท์ อาจารย์ด้านการ M.A. (Theatre) จฬุ าลงกรณ์
ละคร/นกั วิจารณ์ มหาวทิ ยาลัย

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564 207

ลำาดบั ชอ่ื -นามสกลุ ตาำ แหน่ง คณุ วุฒิ หนว่ ยงาน
4 นางสาวปารชิ าต ิ ทสี่ งั กดั
จงึ ววิ ัฒนาภรณ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ Ph.D. (Cultural มหาวิทยาลัย
Studies World ธรรมศาสตร์
Theatre)
5 นายภาสกร อนิ ทมุ าร อาจารย/์ นักวิจัย Ph.D. (Population มหาวทิ ยาลยั
ดา้ นการละครเพอ่ื Education) ธรรมศาสตร์
การพัฒนา
6 นางสาวภทั รา โต๊ะบุรินทร์ ผู้ชว่ ย ศษ.ม. (เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั
ศาสตราจารย์/ การศกึ ษา) ศิลปากร
อาจารยด์ า้ นละคร
เพือ่ การศึกษา
7 นายอภิรกั ษ์ ชัยปัญหา อาจารยด์ ้านการ อ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลยั
เขียนบทละคร บูรพา
8 นายเศกสนั ต ์ วชิ ยั พล นกั การละคร ศป.บ. (การละคอน) โครงการบา้ น
ชีวาศิลป ์ มข.
9 นายฐานชน จนั ทร์เรือง นักการละคร ศศ.ม. (ไทยศกึ ษา) วิทยาลัยกุมุทาลัย
อาศรมศลิ ป์
10 นายสนั ต ิ แตพ้ านิช ผกู้ �ากบั นศ.ม. (ภาพยนตร์- ศิลปนิ อสิ ระ
ภาพยนตร์/ วิดที ศั น์)
นกั เขียน
11 นางสาวศศธิ ร พานชิ นก นักแสดง/ครูสอน MFAin Acting ศลิ ปินอิสระ
การแสดง
12 นายทนงศกั ด ิ์ บญุ ไชยเดช ผเู้ ชยี่ วชาญด้าน ศป.บ. (ออกแบบเพื่อ ศิลปินอสิ ระ
การออกแบบฉาก การแสดง)
และเคร่อื งแตง่
กาย
13 นายวทิ วสั สงั สะกจิ เจา้ หนา้ ทฝ่ี กึ อบรม นศ.ม (วาทวทิ ยาและ บริษทั อารเ์ อส
ศลิ ปินอาวโุ ส ส่ือสารการแสดง) จ�ากดั (มหาชน)
14 Mr. Daniel Professor in Ph.D. (Drama) University of
Meyer-Dinkgräfe Performance Lincoln, UK
and Conscious-
ness

208 คมู่ อื นกั ศกึ ษา ระดับปริญญาตรี 2564

4. องคป์ ระกอบเก่ียวกับประสบการณ์ภาคสนาม(การฝึกงาน)
ไมม่ ี

5. ขอ้ กาำ หนดเกย่ี วกับการทำาโครงงานหรอื งานวิจยั
5.1 คา� อธิบายโดยย่อ
การทา� งานวจิ ยั เกย่ี วกบั ศลิ ปะการแสดง โดยใหม้ กี ารดา� เนนิ ตามขน้ั ตอนและกระบวนการ
วิจัย คอื การเสนอโครงการ การศกึ ษาค้นควา้ หรอื เก็บรวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะหแ์ ละรายงานขอ้ มลู
การน�าเสนอผลงาน การท�าวจิ ยั ในรปู เอกสารรายงาน
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
1) มีความรแู้ ละทักษะดา้ นค้นคว้า วจิ ัย และการสร้างสรรค์ผลงานทาง
ศิลปะการแสดงทม่ี ีคุณภาพ มที ักษะ การทา� งานด้านค้นควา้
2) วิจัยอย่างเป็นระบบควบคู่ไปกับการสร้างสรรค์งานได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
ของการสร้างสรรคง์ าน ศลิ ปะการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
3) มกี ารพฒั นาดา้ นทศั นคตเิ พอื่ การพฒั นาและสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะการแสดงนาฏศลิ ป์
และการละครอยา่ งม ี คณุ ธรรม จรยิ ธรรมตอ่ ตนเอง วิชาชีพ และสงั คม
5.3 ชว่ งเวลา
ภาคการศึกษาปลาย ช้นั ปีท ่ี 4
5.4 จา� นวนหนว่ ยกิต
แขนงวิชานาฏยศลิ ป ์ 9 หนว่ ยกิต / แขนงวิชาการละคร 9 หนว่ ยกติ
5.5 การเตรียมการ
5.5.1 มีการจดั ใหค้ �าปรกึ ษาในการเลอื กหัวขอ้ เรอ่ื ง การสอบเคา้ โครง
5.5.2 มกี ารจัดใหค้ �าปรึกษาและแนะน�าแหลง่ คน้ ควา้ ขอ้ มลู
5.5.3 มกี ารใหค้ า� แนะนา� และชว่ ยเหลอื จากอาจารยแ์ กน่ สิ ติ โดยแบง่ หนา้ ทเี่ ปน็ อาจารย์
ทป่ี รกึ ษาแกน่ สิ ติ ตามความเหมาะสม และมกี ารจดั ตารางเวลาในการเขา้ พบและใหค้ า� ปรกึ ษาอยา่ งเปน็
ระบบตามเวลาราชการ
5.5.4 นักศึกษาสามารถขอค�าปรึกษาได้ผ่านทางโทรศัพท์เคล่ือนท่ี, e-mail ได้หาก
เรง่ ดว่ นและมคี วามจา� เป็น
5.6 กระบวนการประเมนิ ผล
5.6.1 มีการสอบหัวข้อที่นักศึกษาสนใจก่อนการจัดท�าโครงงานและศิลปะการแสดง
นพิ นธท์ ี่ตอ้ งผ่านมตขิ องคณะกรรมการหรอื สาขาวิชา

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี 2564 209

5.6.2 มีการสอบเพื่อน�าเสนอเค้าโครงของโครงงานและงานวิจัย โดยท่ีผลการสอบ
ตอ้ งผ่านมตขิ องคณะกรรมการหรอื สาขาวิชา
5.6.3 มีการสอบผ่านการน�าเสนอผลงานในรูปแบบงานสร้างสรรค์ทางศิลปะการละคร
ท่มี กี ารจดั แสดงผลงานสสู่ าธารณะ
5.6.4 มีการสอบการน�าเสนอผลการท�าโครงงาน และการท�าวิจัยในรูปแบบการสอบ
ปอ้ งกันและจัดทา� เปน็ เอกสารรายงาน
210 ค่มู ือนักศึกษา ระดับปริญญาตรี 2564

งานพัฒนานักศกึ ษาและศษิ ยเ์ ก่าสมั พนั ธ์

งานพัฒนานักศึกษาและศิษยเ์ กา่ สัมพนั ธ์
เมอื่ มีปญั หาเรอ่ื งการเงินทาำ อยา่ งไร?
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดสวสั ดิการดา้ นทนุ การศึกษาและการเงิน
ต่าง ๆ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนความกังวลใจ และช่วยนักศึกษาให้มีความสุขในการเรียนและ
การใชช้ วี ิตในมหาวิทยาลัย ซึ่งนกั ศึกษาสามารถศกึ ษารายละเอยี ดและขอรบั บริการต่าง ๆ ไดด้ งั นี้
1. ทุนการศกึ ษา
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับการสนับสนุนด้านทุนการศึกษาจาก
งบประมาณแผ่นดิน มูลนิธิ ธนาคาร และผู้มีจิตอันเป็นกุศล ส�าหรับนักศึกษาท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์
และคาดว่าจะสามารถส�าเร็จการศึกษาได้ หรือส�าหรับนักศึกษาที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย ์
หรือสา� หรบั นกั ศึกษาท่มี ผี ลการเรยี นดแี ต่ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์
ทนุ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์
เป็นทุนการศกึ ษาทม่ี อบสา� หรับนกั ศกึ ษาชน้ั ปีท ่ี 1 ของคณะเปน็ ประจา� ทุกปี (ไมต่ ่อเนอ่ื ง)
ทนุ รศ.ดร.สุชาติ-รศ.สุนนั ทนี จันทร์ทพิ ย์
เป็นทนุ เอกชนทเี่ จา้ ของทุนคอื รศ.สนุ นั ทน ี จันทร์ทิพย ์ ผู้มีจติ อันเป็นกุศล ไดป้ ระสงค์มอบ
ให้แก่นกั ศกึ ษาคณะศิลปกรรมศาสตรท์ ุกช้ันป ี ทุกภมู ภิ าค โดยจากการจัดสรรจากดอกผลแกน่ กั ศกึ ษา
ท่ีมีความจ�าเป็นในเร่ืองทุนทรัพย์ มีความประพฤติเรียบร้อย และมีผลการเรียนที่สามารถส�าเร็จ
การศึกษาได้ รวมทั้งเป็นนักศึกษาท่ีสามารถช่วยเหลือกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย / คณะฯ/
ได้เมือ่ มีการร้องขอ
คุณสมบตั ขิ องนักศึกษาที่ประสงค์ขอรับทนุ การศกึ ษา
ประเภทขาดแคลน
1. เปน็ นกั ศกึ ษาคณะศลิ ปกรรมศาสตร ์ ทขี่ าดแคลนทนุ ทรพั ยแ์ ละไมไ่ ดร้ บั ทนุ การศกึ ษาอน่ื อยู่
2. มีความประพฤติเรียบร้อยและไมเ่ คยได้รับโทษทางวนิ ยั นกั ศกึ ษา
3. มผี ลการเรยี นอยใู่ นเกณฑท์ ี่สามารถสา� เรจ็ การศกึ ษาได้ตามหลักสูตร
4. สามารถช่วยงานของคณะฯ ของมหาวิทยาลยั ไดเ้ มอื่ ไดร้ ับการร้องขอ
5. ไมเ่ ปน็ ผไู้ ดร้ บั ทนุ อนื่ ใด ยกเวน้ เปน็ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการทนุ การศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
6. มคี ณุ สมบัตอิ ืน่ ที่มหาวทิ ยาลยั หรอื ผู้ให้ทุนการศึกษาก�าหนด ทง้ั นี้ ให้เป็นไปตามประกาศ
ท่ีเกยี่ วข้องกับทุนการศกึ ษานน้ั ๆ

212 ค่มู ือนกั ศึกษา ระดับปริญญาตรี 2564

หลักเกณฑแ์ ละเงื่อนไขการรับและจ่ายเงนิ ทุน
1. ขณะท่ีศึกษาหากปรากฏว่าผู้รับทุนขาดคุณสมบัติที่ระบุไว้ หรือแจ้งความอันเป็นเท็จ
เพอื่ ใหไ้ ดร้ บั ทนุ มหาวทิ ยาลยั จะพจิ ารณางดการใหท้ นุ กรณที แ่ี จง้ ความอนั เปน็ เทจ็ จะไดร้ บั โทษทางวนิ ยั
นกั ศึกษาดว้ ย
2. นกั ศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั ทนุ การศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีเก่ียวข้องกับการรับทุน หากปรากฏว่าผู้ได้รับฝ่าผืนไม่ปฏิบัติตาม
ในกรณีใดๆ ก็ดมี หาวิทยาลัยขอนแก่นจะงดการใหท้ นุ
3. นักศึกษาที่ได้รับทุนจะต้องช่วยเหลือกิจการของมหาวิทยาลัยตามท่ีมหาวิทยาลัยร้องขอ
หรือก�าหนด
4. มหาวิทยาลัยจะงดจ่ายเงินทุนเม่ือนักศึกษาผู้ได้รับทุนพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาหรือ
ขอลาพกั การศึกษาเกิน 1 ภาคการศึกษา
ทุนตอ่ เนอื่ งจนกว่าจะจบหลกั สตู รการศกึ ษา

จะมอบให้นักศึกษาตั้งแต่แรกเข้าจนกว่าจะส�าเร็จการศึกษา เป็นทุนเอกชนจากหน่วยงาน
ภายนอกท่ีตดิ ตอ่ คณะฯโดยผา่ นมหาวทิ ยาลัย
2. กองทนุ ให้กู้ยืมเพอื่ การศกึ ษา
รัฐบาลเห็นความส�าคัญอย่างยิ่งของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือรองรับการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจและเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงก�าหนดเป็นนโยบายสนับสนุน
ภาคเอกชนในการพัฒนาการศึกษา และการพัฒนาฝีมือแรงงาน ขณะเดียวกันเพ่ือแก้ไขปัญหา
ความเหล่ือมล�้าด้านการศึกษา ได้เปิดโอกาสแก่นักเรียน นักศึกษาท่ีด้อยโอกาส ได้รับการสนับสนุน
ทางการเงิน โดยการจัดต้ังกองทุนเงนิ ให้กู้ยืมเพือ่ การศึกษา จากนโยบายดังกลา่ ว รัฐไดเ้ สนอมาตรการ
ส่งเสริม 3 ประการ ได้แก่ ประการแรก การสนับสนุนการจัดต้ังสถานศึกษาเอกชน ประการท่ีสอง
การสนบั สนนุ การจดั ตงั้ สถาบนั พฒั นาฝมี อื แรงงานภาคเอกชน และประการทสี่ าม การจดั ตงั้ กองทนุ เงนิ
ใหก้ ้ยู ืมเพือ่ การศกึ ษา
แนวคิดที่จะจัดต้ังกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพ่ือช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
ได้มมี าตงั้ แต่สมยั นายสัญญา ธรรมศกั ดิ์ (2516-2517) เป็นนายกรัฐมนตร ี โดยอยู่ในรูปของนโยบาย
ปฏิรูปการศึกษา หลักการที่ส�าคัญคือ เพ่ิมเงินค่าเล่าเรียน ตามหลักเศรษฐกิจของต้นทุน ก�าไร
แตใ่ นสว่ นของผทู้ ย่ี ากจนนั้น ใหท้ ้องถ่นิ หรอื โรงเรียน หรือมหาวทิ ยาลัยใหท้ นุ การศึกษา หรอื ยมื เพอื่
การศกึ ษา แตน่ โยบายดงั กลา่ วยงั ไมไ่ ดน้ า� มาปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม จนกระทง่ั ถงึ รฐั บาลของนายชวน
หลีกภัย เข้ามาบริหารประเทศ (2536-2538) นโยบายนี้จึงได้ถูกน�ามาพิจารณาอีกคร้ังหนึ่ง และ
ดว้ ยความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตร ี จงึ ไดม้ กี ารจดั ตงั้ กองทนุ สง่ เสรมิ การศกึ ษาขน้ึ โดยแบง่ งบประมาณ
ออกเป็นสองส่วน คือ การช่วยเหลือแบบให้เปล่าส่วนหนงึ่ และการช่วยเหลือแบบให้กู้ยืมอกี ส่วนหน่งึ

คมู่ ือนักศึกษา ระดับปริญญาตรี 2564 213

แต่ส�านักงบประมาณได้พิจารณาแล้วเห็นว่าในส่วนของการช่วยเหลือแบบให้ยืมเพ่ือการศึกษานั้น
ยังไม่มีมาตรการก�ากับให้ผู้กู้ยืมน�าเงินไปใช้จ่ายตามจุดประสงค์ของกองทุน และน่าจะมีปัญหาในด้าน
การติดตามเงินคืน จึงอนุมัติงบประมาณส�าหรับการให้ความช่วยเหลือแบบให้เปล่าเท่านั้น ส่วนการ
ช่วยเหลือแบบให้ยืมเพ่ือการศึกษาให้น�ากลับมาก�าหนดมาตรการ กฎเกณฑ์ และข้ันตอนการปฏิบัต ิ
ตลอดจนการการพจิ ารณาจดั สรรเงนิ ยมื และการผอ่ นชา� ระคืนให้ชัดเจน
จนกระท่ังในปี 2538 กองทุนส่งเสริมการศึกษา ในส่วนของการช่วยเหลือแบบให้กู้ยืม
จึงได้มีการจัดต้ังอย่างเป็นรูปธรรมตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 28 มีนาคม 2538 ภายใต้ชื่อว่า
“กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา” โดยมี 3 ส่วนราชการเป็นผู้รับผิดชอบคือ กระทรวงการคลัง
กระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลยั โดยมีวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ มดี ังน้ี
เพอื่ เพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษาในระดบั ทส่ี งู ขนึ้ แกผ่ ทู้ มี่ าจากครอบครวั รายไดน้ อ้ ย ซงึ่ ดอ้ ยโอกาส
ทางการศึกษา อันจะมีส่วนส�าคัญในการยกฐานะความเป็นอยู่ของประชาชน และเป็นการสนอง
ต่อนโยบายการกระจายรายได้เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาระบบการศึกษาทางด้านอุปสงค์ โดยเพิ่ม
ขีดความสามารถในการรบั ภาระค่าใชจ้ า่ ยทางการศกึ ษาของประชาชน
คณุ สมบัตขิ องผกู้ ยู้ มื
เปน็ ผ้มู ีสัญชาตไิ ทย
เปน็ นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย (สายสามญั และสายอาชพี ) นกั ศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา
และนกั ศึกษาระดับอดุ มศกึ ษา (อนปุ ริญญา ปริญญาตรี)
เปน็ ผ้ขู าดแคลนทนุ ทรพั ย ์ ทีม่ ีรายได้ครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาทตอ่ ปี
เป็นผู้มีผลการเรียนดีหรือผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลของสถาบันการศึกษา
โดยนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ตอ้ งมผี ลการเรียนดงั น ้ี
- นักศกึ ษาชัน้ ปที ่ี 1 ไมน่ �าผลการเรยี นมาเปน็ เกณฑใ์ นการพจิ ารณา
- นกั ศกึ ษาชัน้ ปที ี่ 2 ต้องมผี ลการเรยี นเฉลย่ี สะสมไม่ตา�่ กว่า 1.80
- นักศึกษาช้นั ปีท่ี 3 ข้นึ ไป ต้องมผี ลการเรียนเฉล่ียสะสมไมต่ า�่ กวา่ 1.90
เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามประพฤตดิ ี ไมฝ่ า่ ฝนื ระเบยี บขอ้ บงั คบั ของสถาบนั การศกึ ษาขนั้ รา้ ยแรง หรอื
ไม่เปน็ ผมู้ ีความประพฤตเิ ส่อื มเสีย
เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติครบถว้ นตามระเบยี บหรอื ประกาศการสอบคดั เลือกบุคคลเขา้ ศกึ ษา
ในโรงเรียน สถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษาท่ีอยู่ในสังกัด ควบคุม หรือก�ากับดูแลของกระทรวง
ศึกษาธิการ กระทรวงหรือสว่ นราชการอ่ืนๆ
ไม่เคยเป็นผสู้ �าเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรใี นสาขาใดๆ มาก่อน
ไม่เป็นผทู้ ีท่ �างานประจา� ในระหว่างการศึกษา
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
214 คมู่ ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี 2564

ไม่เป็นหรือเคยได้รับโทษจ�าคุก โดยค�าพิพากษาถึงที่สุดให้จ�าคุก เว้นแต่เป็นโทษส�าหรับ
ความผดิ ทไ่ี ดก้ ระทา� โดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ
ต้องมีอายุในขณะท่ีขอกู้ โดยเมื่อนับรวมกับระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี และระยะเวลา
ผอ่ นช�าระอกี 15 ปีรวมกนั แลว้ ตอ้ งไมเ่ กนิ 60 ปี
ขน้ั ตอนการขอกู้ยืมเงิน
นักเรียน นักศึกษา ต้องด�าเนินการขอกู้ยืมผ่านระบบ e-Studentloan ท่ีเว็บไซต์
www.studentloan.or.th โดยให้ปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอน ดังน้ี
ลงทะเบยี นเพอื่ ขอรหัสผา่ นเขา้ สรู่ ะบบ โดยรอผลการตรวจสอบทะเบียนราษฎร์ 1 วนั
ผ้ทู ่ีมรี หสั ผา่ นแล้ว สามารถเข้าระบบไปกรอกแบบค�าขอกู้ยมื
รอสถานศึกษาเรียกสัมภาษณ์เพ่ือคัดเลือกผู้มีสิทธ์ิกู้ยืม กยศ. โดยสถานศึกษาจะเป็น
ผ้พู จิ ารณาคณุ สมบตั ิของผ้กู ู้ยมื เป็นรายป ี ภายในกรอบวงเงนิ ทจ่ี ดั สรรให้
ผทู้ ผ่ี า่ นการคดั เลอื กจากสถานศกึ ษาตอ้ งเปดิ บญั ชอี อมทรพั ยก์ บั ธนาคารกรงุ ไทย สาขาใด
กไ็ ด้ เพือ่ รบั โอนเงนิ คา่ ครองชพี
ผู้ได้รับสิทธิกู้ยืมเงินเข้ามาท�าสัญญากู้ยืมเงินผ่านระบบ โดยต้องส่ังพิมพ์สัญญาจ�านวน
2 ชุด (ต้นฉบับและคู่ฉบับ) ด�าเนินการให้ผู้ค้�าประกัน พยาน และผู้แทนของสถานศึกษาร่วมลงนาม
ในสัญญาทัง้ 2 ฉบบั พรอ้ มจดั เตรียมเอกสารประกอบสญั ญาและสญั ญาเพือ่ สง่ ใหส้ ถานศึกษา
ติดต่อสถานศึกษา เพ่ือลงนามและตรวจสอบจ�านวนเงินขอกู้ ในแบบลงทะเบียน /
แบบยนื ยันจา� นวนเงนิ คา่ เลา่ เรยี น และคา่ ครองชพี โดยสถานศกึ ษาเปน็ ผยู้ นื ยนั ความสมบูรณค์ รบถว้ น
ผ่านระบบ
นกั เรยี น นกั ศึกษา รอรบั เงนิ ค่าครองชีพเม่อื เปดิ เทอม ทางบัญชธี นาคารกรงุ ไทย

ค่มู ือนกั ศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564 215

216 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 217

218 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 219

220 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 221

222 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 223

224 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 225

226 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

คมู อื นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 227

228 คมู อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

คมู อื นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 229

230 คมู อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

คมู อื นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 231

232 คมู อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

คมู อื นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 233

234 คมู อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

คมู อื นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 235

236 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 237

238 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 239

240 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 241

242 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 243

244 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 245

246 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 247

248 ค่มู ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2564

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี 2564 249


Click to View FlipBook Version