96
บรรณานุกรม
(1) คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. “นโยบายการต่อสู้กับโรคมะเร็งท่ี
ถูกต้องเพื่อลดอุบัติการณ์ ลดภาวะทุพพลภาพ และการเสียชีวิตจากมะเร็งในประเทศไทย”
เพื่อพิจารณากลั่นกรองเป็นระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ [อินเตอร์เน็ต].
[ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2563. [สบื คน้ เม่อื วันท่ี 28 กรกฎาคม 2563]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
https://www.si.mahidol.ac.th/th/hotnewsdetail.asp?hn_id=2422)
(2) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544 [อินเตอร์เน็ต]. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2540. [สืบค้นเมื่อวันที่ 28
กรกฎาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=3783
(3) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2550 [อินเตอร์เน็ต]. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2550. [สืบค้นเมื่อวันท่ี 28
กรกฎาคม 2563]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :
https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=3784
(4) Rhyne, R., Bogue, R., Kukulka, G., & Fulmer, H. Community oriented primary care:
Health care for the 21st century. Washington, DC: American Public Health Association;
1988.
(5) ชนวนทอง ธนสุกาญจน์ และลักขณา เติมศิรกิ ุลชัย. การนำเสนอแนวคิด และประสบการณ์ เร่ือง
Health Literacy ความแตกฉานด้านสุขภาพ. นครปฐม: ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล; 2552.
(6) สำนกั งานเทศบาลเมืองพิชยั . ข้อมูลทวั่ ไป [อนิ เตอร์เน็ต]. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2560. [สบื ค้นเมื่อ
วนั ที่ 19 เม.ย. 2564]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.pichaicity.go.th/index.php/story
( 7 ) Zhang BH, Yang BH, Tang ZY. Randomized controlled trial of screening for
hepatocellular carcinoma. J Cancer Res Clin Oncol. 2004; 130(7): 417-422.
(8) Philadelphia: Wolters Kluwer. Goding, J. Colon and Rectal Cancer [Internet]. [place
unknown]: [publisher unknow]; 2005 [cited 2011 June 16]. Available. http: // content.
Health. msn.com.
(9) อรรถสทิ ธิ์ ศรสี ุบัติและคณะ. รายงานการศึกษาความคุ้มคา่ ของการใช้ Alpha fetoprotein
รวมกับอัลตราซาวดตบั ในการคัดกรองมะเร็งตับ (hepatocellular carcinoma) ทุก 6 เดอื นใน
ผทู้ ่ีมีแอนติเจนท่ผี ิวของตบั อักเสบบีเปน็ บวกหรอื ผู้ป่วยตับอักเสบบีเร้อื รงั [อนิ เตอร์เน็ต]. [ม.ป.ท.]:
[ม.ป.พ.]; 2560. [สบื คน้ เม่อื วันที่ 28 กรกฎาคม 2563]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :
http://www.dms.moph.go.th/imrta/images/ebook/ta doc / 4.pdf
(10) เพชรินทร์ ศรีวัฒนกุล. โรคมะเร็งในประเทศไทยและสารก่อมะเร็งในสิ่งแวดล้อม. ใน: สมชาย
บวรกิตติ, จอห์นพี และกฤษฎาศรีสำราญ, บรรณาธิการ. ตำราเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมฉบบั เฉลิมพระ
เกียรติ 72 พรรษามหาราชา. กรุงเทพฯ: เรอื นแก้วการพมิ พ์หนา้ ; 2542. น. 1001- 10220.
97
(11) เติมชัย ไชยนุวัติ และไพโรจน์ เหลืองโรจน์กุล. โรคตับและทางเดินน้ำดี. กรุงเทพ: เรือนแก้ว
การพมิ พ์; 2541.
(12) อาคม ชัยวีระวัฒนะ และคณะ. แนวทางการตรวจคดั กรองวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งตบั และ
ท่อน้ำดี [อินเตอร์เน็ต].[ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2554. [สืบค้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2563]. เข้าถึงได้
จาก : http://www.nci.go.th/th/cpg/download%20Liver/01.pdf
(13) นรินทร์ วรวุฒิ. มะเร็งตับ. กรุงเทพมหานคร หน่วยมะเร็งวิทยาภาควิชาอายุรศาสตร์คณะ
แพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย; 2551.
(14) Schiff E. R. , Sorrell M. F. & Maddrey W. C. Schiff's disease of the liver. Philadelphia:
Wolters klwer; 2003.
(15) Yu MC, Yuan JM, Govindarajan S, Ross RK. Epidemiology of hepatocellular
carcinoma. Can J Gastroenterol. 2000; 14(8): 703-709.
(16) พิมพิชฌา ปัทมสิริวัฒน์. พันธุศาสตร์มะเร็งเต้านม. กรุงเทพฯ: คณะเทคนิคการแพทย์
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล; 2553.
(17) สุรีย์รัตน์ พวงสายใจ และคณะ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งเต้านมในสตรีจังหวัด
ลำปาง. ลำปาง : โรงพยาบาลมะเรง็ ลำปาง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ; 2555.
(18) ธนุตม์ ก้วยเจริญพานิชก์. ตำรามะเร็งเต้านม. อุบลราชธานี: กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ
กลุ่มภารกิจวชิ าการ โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี; 2558.
(19) สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์.การตรวจคัดกรอง
มะเร็งปอด [อินเตอร์เน็ต]. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2564 [ปรับปรุเมื่อ 16 ม.ค. 2564; สืบค้นเมื่อวันที่
19 เม.ย. 2564]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.chulacancer.net/patient-list-page.php?id=40
(20) สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.แนวทางการตรวจวินิจฉัยและ
รักษาโรคมะเร็งปอด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ;
2552.
(21) สถาบันมะเร็งแหง่ ชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ .แนวทางการตรวจคัดกรอง วินจิ ฉยั
และรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั โฆสติ การพมิ พ์ จำกดั ; 2558.
(22) สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์.การตรวจคัดกรอง
มะเร็งลำไส้ใหญ่ [อินเตอร์เน็ต]. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2559. [สืบค้นเมื่อวันท่ี 30 พฤษภาคม 2564].
จาก : https://www.chulacancer.net/patient-list-page.php?id=41
(23) สมหญิง พุ่มทอง. รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน
ปี 2561-2562. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2562.
(24) รัชตะ รัชตะนาวิน, อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร, ลออชัย ลือกิจ. การศึกษาความชุกของปัญหาทาง
คลินิกที่เกิดจากการใช้สารที่มีสเตียรอยด์ปะปนโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.];
2550.
(25) ชมพูนทุ เสยี งแจว้ , คชาพล นิ่มเดช, นาฏยา สุวรรณ, พทุ ธชาด มากชมุ นมุ ,วโิ รจน์ ทองฉิม,
ณัฐนนท์ เพชรประดิษฐ์. การสำรวจการใช้ยาปฏิชีวนะและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผสมสเตียรอยด์ใน
ผูส้ งู อายุ . [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2561.
98
(26) อัปสร บุญยัง. การประเมินและถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมยาปลอดภัยในชุมชนจังหวัด
พษิ ณุโลกปีงบประมาณ 2560. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.]; 2560.
(27) ศุภลักษณ์ สุขไพบูลย์ , ชุภาศิริ อภินนท์ เดชา, กวี ไชยศิร. พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของ
ผู้รับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสร้างโศก อำเภอบ้านหมอจังหวัดสระบุรี. การประชุม
วิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2 : บูรณาการงานวิจัย ใช้่องค์
ความรู้ สู่ความยั่งยืน; 17 มิถุนายน 2559; ณ วิทยาลัยนครราชสมี า. นครราชสีมา: [ม.ป.พ.]; 2559.
(28) อารีรัตน์ คุณยศยิ่ง. ความชุกและลักษณะของร้านชำที่จำหน่ายยาปฏิชีวนะในเขตอำเภอ
วังเหนอื จงั หวดั ลำปาง. วารสารเภสชั กรรมไทย. 2558;7(2): 114-120.
(29) Infectious Disease Society of America. Combating antimicrobial resistance: policy
recommendations to save lives. Clin Infect Dis. 2011;52: 397-428.
99
ภาคผนวก
100
ภาคผนวก ก: แบบสอบถามขอ้ มูลด้านสุขภาพของประชาชนในตำบลพิชยั
อำเภอเมือง จงั หวัดลำปาง
แบบสอบถาม
ขอ้ มูลด้านสุขภาพของประชาชนในตำบลพชิ ัย อำเภอเมือง จงั หวัดลำปาง
*******************************************************
คำชี้แจง : แบบสอบถามชุดนี้ใช้ในโครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดมะเร็งใน
เขตตำบลพิชัย (Pichai Model) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความตระหนักเรื่องโรคมะเร็งใน
เขตตำบลพิชัย และเพื่อพัฒนารูปแบบหมู่บ้านปลอดมะเร็งในเขตตำบลพิชัย ตลอดจนเพื่อศึกษา
ประสทิ ธผิ ลของโครงการต้นแบบหมู่บา้ นปลอดมะเรง็ ในเขตตำบลพชิ ัย (Pichai Model)
แบบสอบถามชุดนแี้ บง่ ออกเปน็ 7 สว่ น คอื
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป
ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลดา้ นสุขภาพ
ตอนที่ 2.1 ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ประวัตสิ ขุ ภาพและการรับบริการ
ตอนที่ 2.2 การตรวจสุขภาพประจำปี
ส่วนที่ 3 พฤติกรรมสุขภาพ (การออกกำลังกาย/การใชส้ ารเคมี/สง่ิ แวดลอ้ ม)
สว่ นที่ 4 พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร/อาหารเสริม
สว่ นที่ 5 ความรอบรูด้ า้ นสุขภาพ
ตอนท่ี 5.1 ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ
ตอนที่ 5.2 การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และบริการสขุ ภาพ
ตอนที่ 5.3 การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
ตอนที่ 5.4 ขอ้ มลู ข่าวสารดา้ นสุขภาพ
ส่วนท่ี 6 ความรู้เรอื่ งโรคมะเร็ง
สว่ นที่ 7 การใช้ยาในครวั เรือน
ตอนที่ 7.1 ขอ้ มลู เก่ียวกับยาปฏชิ วี นะ
ตอนที่ 7.2 ข้อมูลเกี่ยวกับยาสเตยี รอยด์
ตอนที่ 7.3 การใช้ยาของประชาชน
โปรดอา่ นคำชีแ้ จงในแบบสอบถามแต่ละส่วนใหเ้ ข้าใจก่อนตอบ ความร่วมมือของท่าน
ในครั้งนี้จะมีคุณค่าและมีประโยชน์อย่างยิ่ง ซึ่งผลที่ได้จากการศึกษาจะเป็นข้อมูลในการวางแ ผน
พัฒนาชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดมะเรง็ ในเขตตำบลพชิ ัยต่อไป
101
สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไป
1.เพศ
1. ชาย 2. หญิง
2.สถานภาพ
1. โสด 2. สมรส/คู่ 3. หม้าย 4. หย่ารา้ ง/แยกกันอยู่
3.ปัจจุบันทา่ นอายุ ......................................................ปี
4.น้ำหนัก.................................กิโลกรมั ส่วนสงู .........................................เซนตเิ มตร
5.ทา่ นจบการศึกษาสูงสดุ หรือกำลงั ศึกษาระดับช้ันใด
1. ไม่ได้เรยี นหนังสือ 2. ประถมศึกษา
3. มธั ยมศึกษาตอนต้น 4. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช.
5. อนุปรญิ ญา/ปวส. 6. ปรญิ ญาตรีข้ึนไป
6.อาชีพ
1. ทำสวน/ทำนา/ทำไร่ 2. รับจ้างท่ัวไป
3. รบั ราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 4. ทำงานโรงงาน/บริษทั เอกชน
5. ค้าขาย/ทำธุรกจิ สว่ นตัว 6. อนื่ ๆ……………….
7.รายไดเ้ ฉลยี่ ของครอบครัว......................................................บาท/เดอื น
8.สิทธกิ ารรกั ษา
1. รัฐวสิ าหกจิ /ข้าราชการ 2. ประกันสังคม 3. ประกันสุขภาพถว้ นหนา้
4. อปท./ครเู อกชน 5. ชำระเงนิ เอง 6. อื่นๆ...โปรดระบ.ุ ..................
สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลด้านสขุ ภาพ/การตรวจคดั กรอง/ตรวจสขุ ภาพประจำปี
ตอนท่ี 2.1 ข้อมลู เกี่ยวกบั ประวัตสิ ขุ ภาพและการรับบริการ
1. โรคประจําตัว(ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ )
1. ไม่มี 2. มี (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
2.1 เก๊าท์ 2.2 ไขมนั ในเลอื ดสงู 2.3 เบาหวาน
2.4 ความดันโลหติ สูง 2.5 หอบหืด 2.6 ไวรสั ตับอักเสบบี
2.7 ไวรสั ตบั อักเสบซี 2.8 ไตเรอื้ รัง 2.9 อน่ื ๆ (ระบุ).........
2. ประวัติการเจ็บปว่ ย
2.1ประวตั กิ ารเจ็บปว่ ยด้วยโรคมะเร็งของตนเอง
1. ไม่มี 2. มี ระบุ………………………………………………..
2.2 ประวัติการเจบ็ ป่วยด้วยโรคมะเรง็ ของญาติสายตรง
1. ไม่มี 2. มี ระบ…ุ ……………………………………………..
2.3 ประวัตคิ รอบครัวพน่ี ้องสายตรงป่วยเป็นไวรัสตบั อกั เสบ
1. ไมม่ ี 2. มี.... 2.1 ไวรสั ตับอักเสบบี 2.2 ไวรสั ตับอักเสบซี
102
3. การรบั บริการสุขภาพ
3.1 ทา่ นเคยตรวจสขุ ภาพประจำปหี รือไม่
1. ไม่เคย เนอื่ งจาก ............. 2. เคย คร้งั สุดทา้ ย เมอ่ื ปี พ.ศ..........
3.2 ทา่ นเคยไดร้ ับบรกิ ารตรวจคัดกรองโรคมะเรง็ หรือไม่
1. ไมเ่ คย 2. เคย
2.1 มะเร็งปากมดลูก 2.2 มะเรง็ ลำไส้ใหญ่และไส้ตรง
2.3 มะเรง็ ต่อมลูกหมาก 2.4 มะเรง็ ปอด
2.5 มะเร็งตับ 2.6 มะเรง็ เต้านม
3.3 ทา่ นเคยติดเช้ือไวรัสตับอักเสบบหี รือไม่
1. ไมเ่ คย 2. เคย 3. ไม่ทราบ
3.4 ท่านเคยตดิ เชื้อไวรสั ตบั อักเสบซีหรือไม่
1. ไมเ่ คย 2. เคย 3. ไม่ทราบ
3.5 ทา่ นเคยได้รับวคั ซีนป้องกันไวรสั ตบั อกั เสบบี หรือไม่
1. ไม่เคย 2. เคย 3. ไม่ทราบ
3.6 ทา่ นเคยได้รับการตรวจหาภมู คิ ุ้มกันต่อไวรัสตบั อกั เสบบี หรอื ไม่
1. ไม่เคยตรวจ 2. เคย
2.1 ผลการตรวจ “ม”ี ภูมคิ มุ้ กันต่อไวรสั ตับอกั เสบบี
2.2 ผลการตรวจ “ไม่มี” ภมู ิคุ้มกันต่อไวรสั ตบั อกั เสบบี
3. ไม่ทราบ
3.7 ทา่ นเคยตรวจอุจจาระ พบไข่พยาธิใบไม้ตบั หรือไม่
1. ไมเ่ คยตรวจ 2. เคยตรวจ
2.1 ผลการตรวจอจุ จาระ “พบ” ไข่พยาธใิ บไมใ้ นตับ
2.2 ผลการตรวจอจุ จาระ “ไม่พบ” ไข่พยาธิใบไม้ในตับ
3.8 ประวตั ิการกนิ ยาถา่ ยพยาธิ
1. ไมเ่ คย 2. เคย
4. ประวัติการสบู บหุ ร่ี
1. ไม่สูบ 2. สบู
2.1 ประเภท(ก้นกรอง/ยาเสน้ ) จำนวน......มวน/วัน
2.2 จำนวนปที ่เี คยสูบ……………..ปี
3.เคยสูบ แต่เลิกแล้ว........ปี
5. ในบา้ นของทา่ นมคี นสูบบหุ รอ่ี ยู่ในบา้ นหลังเดียวกนั หรือไม่
1. ไม่สบู 2. สูบ
6. ประวัติการการเค้ียวหมาก 1. ไมเ่ คย้ี ว 2. เค้ียว
103
7. ประวัตกิ ารดืม่ สุรา
1. ไมด่ ื่ม 2. ดมื่ โปรดระบุ
2.1 ดม่ื ประจำทุกวัน 2.2 ด่ืม 3-4 ครั้ง/สปั ดาห์
2.3 ด่ืม 1-2 ครัง้ /สปั ดาห์ 2.4 ดมื่ 1-2 ครง้ั /เดือน
8. ภาวะสขุ ภาพ/อาการเจบ็ ป่วยทีเ่ สี่ยงตอ่ สุขภาพ
8.1 ท่านมีอาการน้ำหนักลด อ่อนเพลยี เบอ่ื อาหารโดยไม่ทราบสาเหตุ
1. ไมใ่ ช่ 2. ใช่
8.2 ท่านมีอาการท้องอืดแน่น ปวดทอ้ งหรอื อึดอดั ท้อง บริเวณชายโครงขวาหรอื ปวดรา้ วไปทส่ี ะบัก
ขวา
1. ไมใ่ ช่ 2. ใช่
8.3 ท่านมีอาการไข้ ตวั ตาเหลอื งหรอื ท้องโตข้นึ ผิดปกติ
1. ไม่ใช่ 2. ใช่
ตอนที่ 2.2 การตรวจสุขภาพประจำปี
ขอ้ คำถาม เหน็ ด้วย ระดบั ความคิดเห็น ไมเ่ หน็ ดว้ ย
อยา่ งยิ่ง เห็นดว้ ย ไมแ่ น่ใจ ไม่เหน็ ด้วย อยา่ งย่ิง
1. การไปพบแพทย์เพื่อตรวจ
สขุ ภาพประจำปเี ป็นสิ่งควร
ปฏิบัตถิ งึ แม้ไมเ่ จบ็ ปว่ ยก็ตาม
2.คนจะมสี ุขภาพดไี ด้ ข้ึนอยู่กับ
การปฏิบัติตนเองเป็นสิง่ สำคัญ
ไม่จำเป็นต้องตรวจสขุ ภาพ
3.สำหรับคนท่ัวไปการตรวจ
สุขภาพช่วยค้นพบโรคไดต้ ั้งแต่
ระยะท่ยี ังไมแ่ สดงอาการ
4.ผู้ท่มี ีพฤติกรรมเสย่ี ง เช่น
การดมื่ สรุ า สบู บหุ รเ่ี ป็นประจำ
หรอื โรคอ้วน ควรไปตรวจ
สุขภาพอยา่ งน้อยปีละคร้ัง
เพ่อื แก้ไขปญั หาสุขภาพทตี่ รวจ
พบได้ทนั ทว่ งที
5.การตรวจสขุ ภาพประจำปี
ทำใหผ้ รู้ บั บรกิ ารมีความมัน่ ใจ
สบายใจวา่ ไมม่ ีความผิดปกติของ
ร่างกาย ลดความวติ กกงั วลได้
104
ข้อคำถาม เหน็ ด้วย ระดับความคิดเห็น ไม่เห็นดว้ ย
อยา่ งย่งิ เห็นด้วย ไมแ่ นใ่ จ ไมเ่ ห็นด้วย อยา่ งย่งิ
6. เราไมจ่ ำเปน็ ต้องตรวจ
สขุ ภาพ เนอ่ื งจากเม่ือเจ็บป่วย
สามารถไปพบแพทยเ์ พ่ือรกั ษา
โรคให้หายได้
7. คนที่มีอายนุ ้อยไม่จำเปน็ ต้อง
ตรวจสขุ ภาพ ควรตรวจสขุ ภาพ
เม่ือมีอายมุ ากแลว้ เทา่ น้นั
8. การตรวจสขุ ภาพช่วยลด
พฤติกรรมเส่ยี ง และลดปัจจยั
เสีย่ งตา่ ง ๆ ท่จี ะเปน็ อันตรายต่อ
สขุ ภาพ ไม่ใชเ่ ป็นการตรวจเพ่ือ
หาโรคเทา่ นั้น
ส่วนท่ี 3 พฤติกรรมสขุ ภาพ (การออกกำลังกาย/การใช้สารเคมี/สงิ่ แวดล้อม)
1. ท่านมีการใช้ยาฆ่าหนู/ป๋ยุ เคมี/ฮอรโ์ มนพืช
1. ไม่ใช้ 2. ใช้
2. ท่านมกี ารป้องกนั การสมั ผสั สารเคมี โดยการสวมชุดปอ้ งกัน/ถุงมือ/แว่นตา/หน้ากาก/
รองเท้าบูท
1. ไม่ปฏิบตั ิ 2. ปฏิบตั ิ
3. ท่านมปี ระวตั ิการใชเ้ ข็มฉีดยา/สักคว้ิ /สกั ตามร่างกาย/เข็มเจาะหู หรอื ไม่
1. ไมม่ ี 2. มี
4. ท่านหลกี เลยี่ งการอยูใ่ นสภาพแวดลอ้ มท่เี ปน็ มลพิษทางอากาศ
1. ไม่ปฏบิ ตั ิ 2. ปฏบิ ตั ิ
5. ท่านสวมหน้ากากอนามยั /ผา้ ปิดจมกู ถุงมอื หรือชดุ คลุม เพ่อื ป้องกันการสมั ผสั หรอื สูด
หายใจรับสารก่อมะเร็งเข้าส่รู ่างกาย
1. ไม่ปฏบิ ัติ 2. ปฏิบตั ิ
105
สว่ นท่ี 4 พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร/อาหารเสริม
พฤตกิ รรม ไมเ่ คย นานๆ บางครั้ง เป็น ไมร่ ะบุ
คร้ัง ประจำ
ปฏบิ ตั ิ
1. ทา่ นรบั ประทานอาหารประเภท
ผัก เช่น ผักกาดขาว ผกั กะหล่ำดอก
ผักกะหล่ำ ถั่วงอก
2. ทา่ นรบั ประทานอาหารสกุ ๆ
ดบิ ๆ เช่น ก้อยปลา/กุ้ง ลาบปลา
ปลาร้า ปูดอง ปลาสม้ /จ่อม
3. ทา่ นรับประทานอาหารประเภท
ทีม่ ีสารกนั บดู /ดินประสวิ เชน่
ไส้กรอก ฮอทดอก กุนเชยี ง กุ้งแห้ง
แหนม
4. ทา่ นเก็บรกั ษาอาหารไว้ในตเู้ ยน็
นาน เกิน 2-3วัน
5. ทา่ นใช้วตั ถดุ ิบในการปรุงอาหาร
เชน่ หอม กระเทียม ถ่วั ลสิ ง
6. ทา่ นปรุงอาหารโดยใช้กะปิ
7. ท่านฉดี /รับประทานอาหารเสริม
เชน่ คอลลาเจน กลตู ้าไธโอน
วติ ามนิ ตา่ งๆ
8. ท่านใช้หรอื ซ้อื อาหารที่ใช้
ภาชนะโฟมหรือพลาสตกิ บรรจุ
106
ส่วนท่ี 5
สว่ นที่ 5.1 ความรอบร้ดู ้านสุขภาพ
ข้อคำถาม เห็นด้วย ระดบั ความคดิ เหน็ ไมเ่ หน็ ดว้ ย
อยา่ งย่งิ เหน็ ไม่ ไมเ่ ห็น อยา่ งยง่ิ
1.การรบั ประทานอาหาร Fast ดว้ ย แน่ใจ ดว้ ย
Food หรืออาหารทม่ี ีโคเลสเตอรอล
สงู ทำใหเ้ ส่ียงต่อการเกิดโรคมะเร็ง
เชน่ พซิ ซา่ ไก่ทอด แฮมเบอร์เกอร์
เฟรนช์ฟรายส์
2.การรับประทานถ่วั สสิ ง พริกแห้ง
หอมแดง และกระเทยี มท่ีมีเช้ือรา
ทำใหเ้ สียงตอ่ การเป็นมะเร็ง
3.การสูบบหุ รี่ เป็นสาเหตุสำคัญท่ี
ทำใหเ้ กดิ มะเรง็ ปอด
ส่วนที่ 5.2 การเขา้ ถึงข้อมลู และบรกิ ารสขุ ภาพ ได้ ไม่ได้
ข้อคำถาม
1. ท่านสามารถไปพบแพทย์ บุคลากรสาธารณสขุ หรือผ้ใู ห้บรกิ ารดา้ นสุขภาพได้
2. ท่านสามารถสบื ค้นหาแหล่งบรกิ ารสขุ ภาพ ได้ตรงกบั สภาพปญั หาที่ทา่ นและ
คนในครอบครัวของทา่ นเปน็ อยไู่ ด้
3. ทา่ นมั่นใจวา่ แหล่งบริการสุขภาพที่ท่านเลือกใช้นั้น สามารถให้ความช่วยเหลือ
ได้ตรงกบั ความต้องการของท่าน
4. ท่านตรวจสอบความถูกต้องของแหลง่ ที่มาของข้อมลู เพ่ือยนื ยนั ความ
นา่ เชือ่ ถือของข้อมูลและบรกิ ารสขุ ภาพ
ความเขา้ ใจข้อมลู และบริการสขุ ภาพท่ีเพียงพอต่อการปฏบิ ตั ิ
5. ทา่ นสามารถกรอกข้อมลู ด้านสุขภาพถูกต้องตามแบบฟอรม์ ของสถานบริการที่
เข้ารับบริการ
6. ท่านรู้และเขา้ ใจคำอธิบายต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วกับข้อมลู เรอื่ งโรค อาการหรือการ
ดแู ลสขุ ภาพและบริการจากผใู้ หบ้ ริการสขุ ภาพได้
7. ท่านอา่ นด้วยความเขา้ ใจและสามารถปฏบิ ัติตามคำแนะนำในคมู่ ือ เอกสาร
แผนพบั โปสเตอร์ ท่ีเก่ียวกบั การดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคได้
8. ท่านอ่านและเขา้ ใจผลตรวจสขุ ภาพทจี่ ำเป็นต่อสขุ ภาพ เชน่ ดชั นีมวลกาย
(BMI), ระดับความดันโลหิต (HT), ระดบั นำ้ ตาลในเลือด (DM) เป็นต้น
107
ขอ้ คำถาม ได้ ไมไ่ ด้
การโตต้ อบซกั ถามเพ่ือเพ่ิมความรูค้ วามเข้าใจ
9. ท่านสามารถบอกเล่าข้อมูลสขุ ภาพของท่านกับผูใ้ ห้บริการสุขภาพ หรอื คนอืน่
รับรแู้ ละเขา้ ใจสุขภาพของท่านได้
10. ทา่ นซักถามข้อมูลทางสุขภาพกับผู้ใหบ้ ริการสขุ ภาพเพื่อใหห้ ายสงสยั และ
นำมาดแู ลสุขภาพของทา่ นให้ดีย่งิ ขนึ้
11. ทา่ นแลกเปลี่ยนความรู้หรอื แนวทางการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับผู้ให้บรกิ ารดา้ น
สุขภาพกบั ผู้อ่นื ได้
การตดั สนิ ใจดา้ นสุขภาพ
12. ท่านนำข้อมลู ด้านสขุ ภาพจากแหลง่ ต่าง ๆ ที่น่าเช่ือถือมาเปรยี บเทียบ
เพ่ือใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจทำตาม
13. ทา่ นไตรต่ รองถึงประโยชนแ์ ละโทษของผลิตภัณฑห์ รือบรกิ ารด้านสุขภาพ
กอ่ นตัดสินใจใชต้ าม
14. ท่านใชเ้ หตผุ ลในการพิจารณาขอ้ ดีข้อเสยี ของข้อมูลสขุ ภาพท่ีไดร้ บั ถึงแม้จะมี
คนใช้แลว้ ได้ผลกอ่ นท่ีจะนำมาใชต้ าม
สว่ นท่ี 5.3 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
ข้อคำถาม ไมเ่ คย นานๆ บางคร้ัง เปน็ ประจำ ไมร่ ะบุ
ปฏิบตั ิ ครง้ั
1. ทา่ นควบคุม กำกบั สขุ ภาพ
ตนเอง เชน่ น้ำหนกั มองโลกใน
แงบ่ วก ลดอาหารทำลายสุขภาพ
ออกกำลงั กาย เปน็ ตน้
2. ถึงแม้จะมงี านเยอะทา่ น
สามารถแบ่งเวลาเพอ่ื ดูแลสขุ ภาพ
ตนเองได้
3. ทา่ นเข้ารว่ มกจิ กรรมกบั
ครอบครวั คนในชุมชนหรือ
ผู้ให้บรกิ ารด้านสุขภาพที่มีผลดี
ต่อสุขภาพ
การบอกตอ่ ขอ้ มลู ด้านสุขภาพ
4. ทา่ นชกั ชวนใหผ้ ู้อื่นเพมิ่ การ
ปฏิบัตติ วั ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อ
สขุ ภาพของเขาได้
108
ข้อคำถาม ไมเ่ คย นานๆ บางคร้งั เปน็ ประจำ ไมร่ ะบุ
ปฏบิ ัติ คร้ัง
5. ท่านกลา้ เตอื นผู้อื่นท่มี ี
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสขุ ภาพ เช่น
ไม่ให้สูบบหุ ร่ใี นทสี่ าธารณะ
ลดรับประทานอาหาร หวาน
มนั เคม็
6. ท่านเสนอทางเลือกเพื่อ
สุขภาพท่ดี ี ให้กบั ผอู้ น่ื เชน่
เพ่ิมผกั ผลไม้ลดโรค เลกิ สบู บุหรี่
ลดความเสยี่ งป่วยโรควัณโรค
เปน็ ต้น
7. ท่านเป็นแบบอยา่ งใหผ้ อู้ น่ื เหน็
ความสำคญั ท่จี ะดแู ลสขุ ภาพ
ตนเองใหด้ ีอยเู่ สมอ
การเข้าถึงขอ้ มลู สื่อสารสขุ ภาพ การจัดการตนเอง
8. ทา่ นโนม้ น้าวให้บุคคลอน่ื
ยอมรับข้อมูลท่ีถูกต้อง หรือ
แนะนำให้ สามารถปฏบิ ตั ิตน
เก่ยี วกบั การป้องกันโรคมะเรง็
9. ท่านประเมินปริมาณและ
คุณคา่ อาหารที่กินในแต่ละม้ือ
พรอ้ ม วางแผนออกกำลงั ของ
ตนเองให้ได้ตามเป้าหมายทีต่ ้ังไว้
10. ทา่ นประเมินสภาวะอารมณ์
ของตนเอง ถ้าพบว่าเครยี ด ท่าน
สามารถ จัดการเพือ่ ลด
ความเครียดนนั้ ลงดว้ ยวธิ ีท่ีดีต่อ
สุขภาพของทา่ น
11. เมื่อท่านสนใจในสินค้าท่ี
โฆษณาผ่านสือ่ ต่างๆ ท่านหา
ขอ้ มลู เพิม่ จาก หลายแหลง่ เพ่ือ
ตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ก่อน
ตดั สินใจซ้อื
109
ตอนที่ 5.4 ข้อมูลขา่ วสารดา้ นสขุ ภาพ
1.ท่านร้จู ักโรงพยาบาลมะเรง็ ลำปางหรือไม่ 1. รจู้ ัก 2. ไมร่ จู้ ัก
2.ท่านตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสารด้านสขุ ภาพผ่านช่องทางใด (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ )
1. วทิ ยุ 2. หนังสือพิมพ์ 3. เอกสารวิชาการ 4. ผู้ใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์
5. สื่อออนไลน์ 6. อสม. 7. คนในครอบครวั 8. อื่นๆ ระบ.ุ .....................
ความสามารถในการเข้าถึง เห็นด้วย เหน็ ด้วย ไมแ่ นใ่ จ ไม่เหน็ ดว้ ย ไมเ่ หน็ ด้วย
ขอ้ มูลสขุ ภาพผ่านสือ่ อย่างยง่ิ อย่างยิ่ง
ประชาสัมพนั ธ์
1. ทา่ นคิดวา่ ส่อื ประชาสัมพันธ์มี
ประโยชน์ในการชว่ ยตัดสนิ ใจ
เก่ียวกับข้อมลู ด้านสุขภาพ
2. ท่านคิดว่าการใช้ส่อื
ประชาสัมพนั ธ์เพ่ือเขา้ ถงึ ข้อมูล
สุขภาพมคี วามจำเป็นสำหรบั ทา่ น
3. ทา่ นทราบว่าแหลง่ ข้อมลู
สุขภาพนั้นสามารถใช้งานไดบ้ น
ส่อื ออนไลน์
4. ท่านทราบวา่ จะสามารถหา
แหล่งข้อมลู สขุ ภาพที่เป็น
ประโยชนไ์ ด้จากส่ือ
ประชาสมั พนั ธ์
5. ทา่ นทราบถึงวิธกี ารค้นหา
แหลง่ ขอ้ มูลสขุ ภาพที่มีประโยชน์
บนสือ่ ประชาสัมพันธ์
6. ทา่ นทราบถงึ วธิ กี ารใช้สือ่
ออนไลน์เพื่อนำมาตอบข้อสงสยั
เกยี่ วกับปญั หาด้านสุขภาพของ
ท่าน
7. ทา่ นมีทกั ษะในการประเมิน
ขอ้ มูลสขุ ภาพที่พบบนส่ือ
ประชาสมั พันธ์
8. ท่านรสู้ กึ มีความมั่นใจในการท่ี
จะใช้ข้อมูลบนสื่อออนไลน์มา
จัดการกับปัญหาสุขภาพของทา่ น
110
ความสามารถในการเข้าถึง เหน็ ด้วย เหน็ ด้วย ไม่แนใ่ จ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไม่เห็นด้วย
ขอ้ มูลสขุ ภาพผา่ นสอ่ื อย่างยง่ิ อย่างยิ่ง
ประชาสัมพนั ธ์
9. ท่านใช้สื่อออนไลนเ์ พื่อเขา้ ถงึ
ขอ้ มลู สุขภาพตามคำแนะนำของ
สมาชกิ ในครอบครวั
10. เมอ่ื ทา่ นเห็นสมาชิกใน
ครอบครวั ใช้สอื่ ออนไลนเ์ พอื่
เข้าถงึ ข้อมลู สุขภาพ ทา่ นสนใจใช้
ตามด้วย
11. กอ่ นท่ีทา่ นจะนำข้อมูล
สขุ ภาพจากส่ือประชาสัมพนั ธม์ า
จัดการปญั หาสขุ ภาพของท่าน
ทา่ นจะสอบถามความคิดเห็นของ
สมาชิกในครอบครวั ก่อน
12. ท่านเข้าถึงข้อมลู สุขภาพผา่ น
สอื่ ประชาสัมพันธ์ตามคำแนะนำ
ของเพือ่ น
13. กอ่ นที่ท่านจะนำข้อมูล
สขุ ภาพจากส่ือประชาสมั พนั ธม์ า
จดั การปัญหาสขุ ภาพของทา่ น
ทา่ นจะสอบถามความคิดเห็นจาก
เพื่อนกอ่ น
111
ส่วนที่ 6 ความรเู้ รอ่ื งโรคมะเรง็ คำถาม ใช่ ไมใ่ ช่
ลำดับ
1 โรคมะเร็งเป็นโรคที่มกี ารเจริญเติบโตอยา่ งผดิ ปกติของเซลล์หรือ
เนอ้ื เย่ือ
2 โรคมะเรง็ เปน็ โรคท่ตี ิดต่อจากคนหนึ่งส่อู กี คนหนง่ึ
3 โรคมะเรง็ บางชนดิ อาจมีการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมได้
4 โรคมะเร็งท่ีพบในระยะเริ่มแรก สามารถรักษาใหห้ ายขาดได้
5 คนที่มีอายุมากกวา่ อายุ 40 ปีข้ึนไปมีความเสี่ยงเปน็ มะเรง็ มากกวา่
คนท่มี ีอายนุ อ้ ยกวา่ 40 ปี
6 ผูท้ ่ีมปี ระวัตคิ นในครอบครวั เปน็ มะเร็งปอด มีความเสี่ยงต่อการเปน็
โรคมะเร็งปอดแมจ้ ะไม่ได้สบู บุหรี่ก็ตาม
7 อาการบ่งชผ้ี ปู้ ่วยโรคมะเร็งปอด เช่น ไอเรื้อรัง ไอมีเลือดปน เสียง
แหบ หายใจเหนื่อย
8 โรคไวรสั ตบั อักเสบบีและซี สามารถตดิ ต่อทางเลอื ดและเพศสมั พนั ธ์
9 ผปู้ ่วยโรคไวรัสตับอกั เสบบี, ซี ไมค่ วรดืม่ สรุ า
10 การขาดการออกกำลังกาย และมีภาวะนำ้ หนกั เกินเกณฑ์มาตรฐาน
เปน็ ปัจจัยเสย่ี งทท่ี ำให้เกิดโรคมะเร็ง
11 อาหารประเภทเนื้อสตั วท์ ่มี ผี ่านกระบวนการปิ้งย่าง เผา เช่น ไกย่ า่ ง
หมูปงิ้ ปลาเผา จนไหมเ้ กรียมพบสารก่อมะเรง็ ได้
12 การกินอาหารที่มีกากใย เช่น ผกั ผลไม้สดเปน็ ประจำทกุ วนั จะชว่ ย
ลดการสะสมของ
สารก่อมะเร็งในร่างกาย
13 การกินอาหารท่หี ลากหลาย เปน็ การลดการสะสมสารก่อมะเรง็
14 การดื่มเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอลเ์ ป็นสาเหตุท่ีทำให้เกิดโรคมะเร็งตบั ได้
ส่วนท่ี 7 การใช้ยาในครวั เรอื น
ตอนท่ี 7.1 ข้อมูลเก่ียวกับยาปฏชิ ีวนะ
1. ทา่ นเรียก “ยาปฏิชวี นะ” วา่ ยาอะไร (ตอบได้มากกวา่ 1ขอ้ )
1. ยาแกอ้ ักเสบ 2. ยาฆา่ เชือ้ 3. ยาสเตียรอยด์
4. ไม่ทราบ/ไม่รูจ้ กั 5. เรยี กชอ่ื อื่น คือ …………………………..
2. ใหท้ ่านสํารวจดยู าทมี่ ีในครวั เรอื น และบนั ทึกวา่ มี “ยาปฏิชีวนะเหลอื ใช้” หรอื ไม่
1. ไมม่ ี (หากตอบ “ไม่มี” ข้ามไปทำตอนที่ 7.2)
2. มียาปฏชิ ีวนะเหลือใช้ ช่อื ยาคือ................................................................................
112
3. ยาปฏชิ ีวนะเหลอื ใช้ที่พบจากข้อ 2 มีลักษณะแบบน้ีบา้ งหรือไม่ (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ)
1. หมดอายุ
2. ไมส่ ามารถบอกวันหมดอายุได้ เน่ืองจากไม่มรี ะบุบนแผงหรือซอง
3. เส่ือมสภาพ (สังเกตลักษณะยา เชน่ แตก/หัก/เหมน็ หืน/ยาเปลยี่ นสี/มีจดุ ดา่ ง)
4. ฉลากซองยามีขอ้ มูล ชอ่ื ยา วิธีกิน คำเตอื นกนิ ตดิ ต่อจนหมด
5. สภาพยังดี
4. ยาปฏิชวี นะเหลือใชท้ า่ นไดม้ ากจากที่ไหน(ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ)
1.โรงพยาบาล 2.รา้ นขายยา/คลินกิ 3.รา้ นค้า/ร้านชำ
4.รถเร่ 5.มคี นใหม้ า 6.อินเทอร์เน็ต 7.อื่นๆ............
ตอนท่ี 7.2 ข้อมลู เกี่ยวกับยาสเตยี รอยด์
1. ให้ท่านสํารวจดูและบันทึกว่ามี “ยาหรอื ผลติ ภัณฑ์สุขภาพ” เหลา่ นใ้ี นครัวเรือนของทา่ น หรอื ไม่
(ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ)
1. ยาชุด 2. ยาลกู กลอน
3. ยาตม้ /ยาหม้อ 4. นำ้ สมนุ ไพร/ชน้ิ สมุ นไพร
5. กษยั เส้น/ประดง 6. ไมพ่ บทุกข้อข้างต้น
2. “ยาหรอื ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ” จากข้อ 1 ทา่ นไดม้ ากจากท่ไี หน(ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ)
1.โรงพยาบาล 2.ร้านขายยา/คลินิก 3.รา้ นคา้ /รา้ นชำ
4.รถเร่ 5.มคี นใหม้ า 6.อินเทอรเ์ นต็ 7.อน่ื ๆ............
3. “ทา่ นรู้จกั สเตียรอยดห์ รือไม่ ”
1. ร้จู กั 2. จำไม่ได้/ไม่แนใ่ จ 3. ไมร่ ู้จกั
* ถา้ ตอบ “รู้จกั ” ทำต่อข้อ 4-5
4. “ทา่ นทราบหรอื ไมว่ ่า การกินยาแผนปจั จุบันมสี เตยี รอยด์ผสมอยู่ ใชเ้ พ่ือรกั ษาอาการหรอื โรคใด”
1. ไม่ทราบ
2. จำไม่ได/้ ไม่แนใ่ จ
3. ทราบ……กินเพ่ือรักษาอาการต่อไปนี้ (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ)
1. รกั ษาได้ทุกโรค 2.ภูมแิ พ้ แพอ้ ากาศ
3.กล้ามเน้ืออักเสบปวดเม่ือย 4.ถงุ ลมโปง่ พอง
5.แผล ฝี หนอง 6. หอบหดื
7. ไข้ ไอหวดั เจบ็ คอ 8. บำรุงร่างกาย บำรุงประสาท
5. “ท่านทราบหรือไม่ว่า การกินยาแผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ สมุนไพร หรืออาหารเสริมที่มี
สเตียรอยด์ ผสมอยเู่ ปน็ เวลานานๆ จะเกดิ ผลเสียอยา่ งไร”
1. ไม่เกดิ ผลเสยี ใดๆ 2. ไม่ทราบ 3. จำไมไ่ ด้ /ไม่แนใ่ จ
4. ทราบ คือ ผลเสีย/อาการ ตอ่ ไปนี้ (ตอบได้ มากกว่า 1 ขอ้ )
1.ไตวาย 2. เบาหวาน
3. กระดูกพรนุ 4. เสย่ี งตอ่ ตอ้ กระจก
113
5. กลา้ มเน้ืออ่อนแรง 6. กระเพาะอาหารเปน็ แผล
7.ภูมคิ ้มุ กนั อ่อนแอลง ติดเชอ้ื ได้ง่าย 8. รปู รา่ งหนา้ ตาเปลย่ี นแปลงไป
เชน่ หนา้ อมู
9. อน่ื ๆ............................................................
ตอนท่ี 7.3 การใช้ยาของประชาชน
ขอ้ 1 ในชว่ ง 3 เดือนทผี่ ่านมา ทา่ นปฏิบตั ติ ามข้อความตอ่ ไปนี้ บอ่ ยเพียงใด ขีด ✓ ในช่องท๋ี
เลอื ก
ท่านปฏบิ ัติตามข้อความต่อไปนี้ ทำสม่ำเสมอ ทำบางครั้ง ไม่เคยทำ
1.1 กนิ ยาสมุนไพรหรอื ยาแผนโบราณรว่ มกบั ยา
แผนปจั จุบนั เพ่อื ชว่ ยรกั ษาโรคทเี่ ป็นอยู่
1.2 กินยาลกู กลอน ยาต้ม ยาหม้อ แทน ยาแผน
ปัจจบุ ัน
1.3 กนิ อาหารเสรมิ ร่วมกบั ยาแผนปัจจบุ ัน เพ่อื ชว่ ย
รกั ษาโรคทีเ่ ป็นอยู่
1.4 ซอ้ื อาหารเสรมิ ทีม่ ีตวั แทนหรอื บรษิ ัทมาขายที่
บ้านหรือในหมู่บา้ น
1.5 ซอื้ อาหารเสรมิ หรือยาแผนโบราณทีโ่ ฆษณาผ่าน
วทิ ยุหรอื โทรทัศน์
1.6 ซ้ือยาชุดจากรา้ นยาหรือร้านชำมากนิ เมื่อ
เจบ็ ป่วย ไมส่ บาย
ขอ้ 2 ทา่ นเหน็ ดว้ ยกบั ข้อความตอ่ ไปน้ีหรือไม่ ขดี ✓ ในช่องทตี่ รงกับความคดิ เห็นของท่าน
ทา่ นเห็นดว้ ยกบั ข้อความตอ่ ไปน้ีหรอื ไม่ เห็นด้วย ไมแ่ นใ่ จ ไมเ่ หน็ ดว้ ย
2.1 การกินอาหารเสริมเพือ่ ช่วยรักษาโรคทเี่ ปน็ อยู่
เช่น เบาหวาน ข้อเส่ือม เปน็ สิ่งท่ปี ลอดภัย
2.2 การกนิ ยาแผนโบราณไม่มีอันตราย
2.3 การกินยาชุดเม่ือมีอาการไมส่ บาย เช่น เกดิ การ
อักเสบเปน็ ไขป้ วดเม่ือยช่วยใหห้ ายจากโรคไดเ้ ร็วข้นึ
2.4 ยาสมุนไพรเป็นยาทม่ี ีความปลอดภัยสามารถซือ้
กินเองได้
2.5 ยาลกู กลอน ยาต้ม ยาหม้อ เป็นยาท่ีชว่ ย
บรรเทาอาการป่วย เชน่ ปวดเมือ่ ย แก้อักเสบ ได้ดี
114
ขอ้ 3 ในชว่ ง 3 เดือนทผ่ี ่านมา ทา่ นปฏิบัติตามขอ้ ความตอ่ ไปนี้ บอ่ ยเพยี งใด ขดี ✓ ในช่องท่ี
เลือก
ทา่ นปฏิบตั ิตามข้อความต่อไปนีห้ รือไม่ ทำสมำ่ เสมอ ทำบางครั้ง ไม่เคยทำ
3.1 เมอ่ื เปน็ หวัด เจ็บคอ ทา่ นกินยาปฏิชวี นะ
3.2 เม่อื ท้องเสยี ถ่ายเปน็ น้ำ ท่านกนิ ยาปฏชิ ีวนะ
3.3 เมื่อเปน็ แผลหรือ ฝี หนองท่านกนิ ยาปฏชิ ีวนะ
3.4 ทา่ นซื้อยาปฏิชวี นะ กนิ เองโดยไม่ไดถ้ ามหมอ
พยาบาล หรือเภสัชกร
ขอ้ 4 ทา่ นคิดวา่ ขอ้ ความต่อไปน้ี กล่าวถกู หรือ ผิด ขีด ✓ ในชอ่ งทีท่ า่ นเลือก 1 ช่อง
ข้อความต่อไปนี้ ถูกตอ้ ง ผดิ ไม่ทราบ
4.1 เมอ่ื เกิดการอักเสบ เชน่ กล้ามเนอ้ื อกั เสบ ขอ้
อกั เสบ ตอ้ งกนิ ยาปฏิชวี นะ จึงจะทุเลา
4.2 ถา้ เป็นไข้ จาม น้ำมูกไหล ไอ เจ็บคอ ตอ้ งกนิ
ยาปฏิชีวนะ จงึ จะหาย
4.3 เม่ือหายจากโรคทเ่ี ปน็ หรือมีอาการดีขึน้
สามารถหยดุ กินยาปฏชิ วี นะ ไดท้ ันที
4.4 เม่ือเกิดบาดแผลหรอื เปน็ ฝี หนอง ต้องกนิ ยา
ปฏชิ ีวนะ จึงจะหาย
4.5 หากท้องเสีย ถา่ ยเป็นน้ำ ต้องกนิ ยาปฏชิ ีวนะ
จึงจะหยุดถา่ ย
4.6 การใช้ยาปฏชิ วี นะ โดยไม่จำเปน็ จะทำให้เกดิ
เช้อื โรคดอื้ ยาได้
115
ภาคผนวก ข: ประมวลภาพกิจกรรมโครงการพฒั นาชุมชนตน้ แบบหมู่บา้ นปลอดมะเร็ง
ในเขตตำบลพชิ ยั (Pichai Model) จงั หวัดลำปาง
ระยะแรก คือ การวิเคราะหช์ ุมชน
ประชุมชแี้ จงโครงการ และวางแผนการดำเนนิ โครงการฯ
116
ระยะท่สี อง คอื ลงพื้นทสี่ ำรวจขอ้ มลู ในชมุ ชน
กจิ กรรมการประชุมประชาคมเชงิ ปฏิบตั ิการคร้ังที่ 1 โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบหม่บู ้านปลอดมะเรง็
ในเขตตำบลพชิ ยั (Pichai Model) วนั ที่ 10 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 (เวลา. 08.00-16.30 น.)
ณ หอ้ งประชุมนายแพทยส์ รุ ทัศน์ พงษน์ กิ ร โรงพยาบาลมะเรง็ ลำปาง
117
กิจกรรมการประชุมประชาคมเชงิ ปฏบิ ตั ิการคร้ังที่ 1 โครงการพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ
หมูบ่ า้ นปลอดมะเรง็ ในเขตตำบลพิชัย (Pichai Model)
วันท่ี 10 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 (เวลา. 08.00-16.30 น.)
ณ ห้องประชุมนายแพทย์สุรทศั น์ พงษ์นิกร โรงพยาบาลมะเรง็ ลำปาง
118
กจิ กรรมการประชุมประชาคมเชิงปฏิบตั ิการครั้งท่ี 1 โครงการพัฒนาชมุ ชนตน้ แบบ
หมบู่ ้านปลอดมะเร็งในเขตตำบลพิชัย (Pichai Model)
วนั ที่ 10 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 (เวลา. 08.00-16.30 น.)
ณ หอ้ งประชมุ นายแพทยส์ ุรทัศน์ พงษ์นกิ ร โรงพยาบาลมะเรง็ ลำปาง
119
กิจกรรมการเตรยี มความพรอ้ มการศึกษาชมุ ชนตน้ แบบ
ในวนั ที่ 16 มนี าคม 2564 ณ วัดฝายนอ้ ย ต.พชิ ัย อ.เมือง จ.ลำปาง
กจิ กรรมภายใตโ้ ครงการพัฒนาชมุ ชนตน้ แบบหมบู่ า้ นปลอดมะเรง็ ในเขตตำบลพชิ ัย (Pichai Model)
120
กจิ กรรมการประชมุ ลงพน้ื ทช่ี ุมชนต้นแบบ (บา้ นฝายน้อย)
ในวันท่ี 17 มนี าคม 2564 ณ วัดฝายนอ้ ย ต.พชิ ัย อ.เมอื ง จ.ลำปาง
กจิ กรรมภายใตโ้ ครงการพฒั นาชุมชนตน้ แบบหมบู่ ้านปลอดมะเรง็ ในเขตตำบลพชิ ยั (Pichai Model)
121
กจิ กรรมการประชมุ ลงพน้ื ทช่ี ุมชนต้นแบบ (บา้ นฝายน้อย)
ในวันท่ี 17 มนี าคม 2564 ณ วัดฝายนอ้ ย ต.พชิ ัย อ.เมอื ง จ.ลำปาง
กจิ กรรมภายใตโ้ ครงการพฒั นาชุมชนตน้ แบบหมบู่ ้านปลอดมะเรง็ ในเขตตำบลพชิ ยั (Pichai Model)
122