ANNUAL REPORT
Lampang Cancer Hospital
2 0 2 2รายงานประจำปี โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง
054 - 335262 - 8
199 หมู่ 12 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง 52000
www.LPCH.GO.TH
สารจากผูอ้ านวยการ 01
รายงานประจาปีโรงพยาบาลมะเร็งลาปางฉบับน้ี ได้รวบรวม นายแพทยว์ รี วตั อคุ รานนั ท์
ผลการดาเนินงานที่สาคัญต่างๆ ในปีงบประมาณ 2565 โดยสังเขป ผู้อานวยการโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง
โดยโรงพยาบาลมะเร็งลาปางคานึงถึงเป้าหมายกรมการแพทย์ในวาระ
ครบรอบ 80 ปี ของกรมการแพทย์ ซึ่งประกาศจุดเน้นให้บุคลากรในสังกัด
ปฏิบัติหน้าที่ทั้งด้านบริการ ด้านวิชาการ และด้านการสนับสนุน ภายใต้
แนวคิด “ 80 ปี กรมการแพทย์ทาดีที่สุด เพื่อทุกชีวิต” ด้วยการขับเคลื่อน
นวัตกรรมดา้ นวชิ าการบรกิ ารรวมไปถึงการพฒั นาบุคลากรของกรมการแพทย์
ให้สอดรับกบั นโยบายดังกลา่ ว
โรงพยาบาลมะเร็งลาปางซึ่งสังกัดกรมการแพทย์ได้นานโยบาย
ดังกล่าวมาขับเคลื่อนการดาเนินงาน เพื่อพัฒนาองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศ
ด้านวชิ าการและบริการดูแลรักษาโรคมะเร็ง รวมถึงมีส่วนร่วมในการสร้าง
ความเข็มแข็งของเครอื ขา่ ยบริการและวิชาการและพัฒนาระบบดูแลผู้ป่วย
โรคมะเร็งแบบไร้รอยต่อ มีการดาเนินงาน กากับ ติดตามตามแผนพัฒนา
ระบบสุขภาพด้านโรคมะเร็ง (Service Plan Cancer) อย่างต่อเนื่อง
ขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข “Cancer Anywhere
มะเร็งรักษาทุกที่...ที่พร้อม”โดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยได้รับบริการตาม
มาตรฐาน อย่างเหมาะสม ครอบคลุมและทั่วถึงในเขตสุขภาพ ท่ี 1 และ 2
ในปงี บประมาณ 2565 จากสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเช้ือโควิด - 19
ยังคงมีผู้ติดเช้ือเป็นจานวนมาก เนื้อหาในรายงานฉบับน้ีเป็นสรุปผล
ภาพรวมการบรหิ ารโรงพยาบาลภายใต้สถานการณ์โควิด - 19 และผลการ
ดาเนินงานตามนโยบาย VIP กรมการแพทย์ รวมถึงแผนการพัฒนา
โรงพยาบาล
โรงพยาบาลมะเร็งมบี ทบาทสาคญั นอกเหนอื จากการดแู ลผู้ปว่ ย
มะเรง็ ได้รว่ มกบั หนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์ ได้ดาเนินการจัดบริการ
ทางการแพทย์ เพื่อช่วยเหลือ ดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยติดเช้ือโควิด - 19
โดยการรักษาตัวที่บ้าน (DMS Home Isolation) สามารถช่วยเหลือผู้ป่วย
โควิด-19 ลดอาการรุนแรงและการเสียชีวิตได้ นอกจากนี้ผลงานการ
บริหารจัดการภายในองค์กรซึ่งเกิดจากจากความร่วมมือของบุคลากร
ทุกระดับทาให้โรงพยาบาลได้ผ่านการรับรองความเช่ียวชาญเฉพาะโรค /
เฉพาะระบบ (DSC) จากสถาบันรับรองคุณภาพสถาพยาบาล (องค์การมหาชน)
และผ่านการตรวจประเมินระบบคุณภาพห้องปฎิบัติการ โดยทีมผู้เยี่ยม
จังหวดั ลาปาง รวมทง้ั มีการเตรียมความพร้อมในการประเมินการพัฒนาคุณภาพ
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (HA IT)
ผมในฐานะตัวแทนทีมบริหารโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง
ขอขอบคุณบุคลากรของโรงพยาบาลมะเร็งลาปางทุกท่าน ตลอดจน
บุคลากรสาธารณสุขในเขตสุขภาพท่ี 1 และ 2 และกรมการแพทย์ ท่ีได้
สนับสนนุ ให้ความรว่ มมอื ปฏิบตั หิ นา้ ที่อย่างเตม็ ความสามารถ พวกเรา
ชาวโรงพยาบาลมะเร็งลาปางจะมุ่งมั่นในการปฏิบตั หิ น้าทต่ี ่อไปเพือ่ เปน็
อีกหน่งึ ทีพ่ ึ่งในการดูแลรักษาโรคมะเรง็ ใหก้ บั ประชาชน
01 สารจากผู้อานวยการ โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
03 ประวตั ิโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ภาพรวมของโรงพยาบาล
05 ยุทธศาสตร์/วสิ ยั ทัศน์/พนั ธกิจ
06 โครงสร้างการบริหารงาน
07 ทาเนยี บผู้อานวยการ
08 ทาเนยี บผูบ้ ริหาร
09 สถติ บิ ุคลากร
12 งบประมาณและเงนิ บารุง
13 สถิตผิ ้มู ารบั บรกิ าร
14 ผลงานดเี ดน่ ประจาปี 2565
สว่ นที่ 2 การดาเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์
17 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สร้างความเขม้ แข็งของเครือข่ายบริการและวิชาการ
ด้านโรคมะเร็งในเขตสุขภาพท่ี 1 และ 2
22 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาระบบดแู ลผู้ป่วยดา้ นโรคมะเรง็ แบบไร้รอยตอ่
26 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาองค์การเปน็ ศูนยค์ วามเป็นเลิศเฉพาะ
ทางด้านโรคมะเร็ง
35 ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาต้นแบบการส่งเสรมิ ป้องกนั และคดั กรอง
โรคมะเรง็ ในชุมชน
ภาคผนวก
42 เบอร์ติดตอ่ ผ้บู ริหาร/หวั หน้ากลมุ่ งาน
43 บรรณาธกิ าร
0033
ส่วนท่ี 1
ขอ้ มลู ภาพรวมของโรงพยาบาล
05
วิสยั ทัศน์ โรงพยาบาลมะเร็งชน้ั นาด้านวชิ าการและนวตั กรรมทางการแพทย์
ทใ่ี หก้ ารดูแลรักษาโรคมะเร็งอย่างครบวงจร
VISION
ดว้ ยเทคโนโลยีการแพทยข์ ัน้ สูงและไดม้ าตรฐานสากล ภายในปี 2565
พันธกิจ พฒั นางานวิชาการ ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ และให้บรกิ ารดูแลรกั ษาโรคมะเรง็
รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยเพ่อื ประชาชนสุขภาพดีอย่างยัง่ ยืน
MISSION
ยุทธศาสตร์
STRATEG
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1
สรา้ งความเขม้ แข็งของเครอื ข่ายบริการและวิชาการ
ดา้ นโรคมะเร็งในเขตสขุ ภาพท่ี 1 และ 2
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2
พัฒนาระบบดูแลผู้ป่วยดา้ นโรคมะเร็งแบบไร้รอยต่อ
(Seamless Comprehensive Health Care)
1. ความเป็นเลศิ ด้านบรกิ าร ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3
ดแู ลรักษาโรคมะเร็ง พัฒนาองค์การเป็นศนู ยค์ วามเป็นเลศิ เฉพาะทาง
ด้านโรคมะเร็ง (COE)
2. ความเปน็ เลิศดา้ นวชิ าการ
โรคมะเรง็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4
พฒั นาระบบบริการจัดการเพอื่ สนับสนุนให้เกิด
3. ความเป็นเลศิ ดา้ นการจัดการองคก์ ร ความเป็นเลิศด้านโรคมะเร็ง
4. ความเปน็ เลศิ ด้านการส่งเสรมิ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5
และปอ้ งกันโรคมะเรง็ พฒั นาตน้ แบบการสง่ เสรมิ ปอ้ งกันและคัดกรอง
โรคมะเร็งในชุมชน
: ค่านิยมหลัก
06
โครงสร้าง
การบริหารงาน โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
0077
ทาเนยี บผบู้ ริหาร 08
BOARD OF DIRECTORS
23 1 45
1 นายแพทยว์ ีรวัต อคุ รานนั ท์
ผ้อู านวยการโรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
2 นายแพทยพ์ พิ ัฒน์ คูประเสรฐิ ยิ่ง 4 นายแพทย์ถาวรัฐ เรอื นโรจน์รุง่
รองผอู้ านวยการดา้ นการแพทย์ รองผอู้ านวยการดา้ นการพัฒนาระบบสุขภาพ
3 นางสาวกัลยารตั น์ วรรณวงศ์ 5 นางนรานนั ท์ ธาราวรรษ
รองผอู้ านวยการดา้ นการพยาบาล รองผู้อานวยการด้านอานวยการ
09
สถติ บิ คุ ลากร
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
จานวนลกู จ้างประจา ข้าราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสขุ และพนักงานราชการ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565
23 190
ลูกจ้างประจา ขา้ ราชการ
19 116
พนักงานราชการ พนกั งานกระทรวงสาธารณสุข
สดั ส่วนลูกจ้างประจา ข้าราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสขุ และพนักงานราชการ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
10
สถติ บิ คุ ลากร โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง
11
สถติ บิ ุคลากร
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
(จานวน)
12
งบประมาณและเงนิ บารงุ
13
สถิติผู้มารบั บริการ
10 อันดับโรคมะเร็ง ท่ีมารบั การรักษา
ณ โรงพยาบาลมะเร็งลาปางปี พ.ศ.2561 - 2565
ผู้ปว่ ยใน
ผู้ป่วยนอก
14
ผลงานดีเดน่ ประจาปี 2565
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปางผ่านการรับรองเฉพาะโรคเฉพาะระบบ
“การดูแลรักษาผูป้ ่วยมะเรง็ ไทรอยด์หลังผา่ ตดั ”
เป็นแหง่ แรกของประเทศไทย
นายแพทย์วีรวตั อคุ รานนั ท์ ผ้อู านวยการโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง และ
แพทย์หญิงพิชานันท์ โพธิสุนทร หัวหนา้ กลุ่มงานเวชศาสตร์นิวเคลยี ร์ เขา้ รบั
การตรวจประเมินการรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ “การดแู ลรักษาผู้ปว่ ย
มะเร็งไทรอยดห์ ลังผ่าตัด” จากสถาบันรับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องค์กร
มหาชน) เมื่อวันที่ 17 สงิ หาคม 2565 และผลการประเมินโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง
ผา่ นการรบั รอง เป็นแหง่ แรกของประเทศไทย ระยะเวลาการรบั รองมีอายุ 3 ปี
(30 กันยายน 2565 - 29 กนั ยายน 2568 )
โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง
ตรวจประเมนิ GREEN & CLEAN Hospital
ผ่านเกณฑ์ ระดบั ดมี าก Plus
นายแพทย์พิพัฒน์ คูประเสริฐยิ่ง รองผู้อานวยการด้านการแพทย์
เป็นผู้แทนรับมอบประกาศนียบัตร ในวันที่ 23 กันยายน 2565
ณ ห้องประชุมจนั ผา โรงแรมเวียงลคอร อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง
ซึง่ ประกาศนียบัตรฉบบั น้ี มีระยะเวลาการรับรอง 30 กันยายน 2565
– 30 กันยายน 2567
โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง เข้าร่วมพิธเี ปิด
ศูนย์เสริมสร้างกระบวนการเรยี นรวู้ ิสาหกิจชมุ ชนผบู้ ริบาลผูส้ งู อายุ
พธิ มี อบใบประกาศนียบตั ร และพธิ ีมอบโล่ประกาศเกียรตคิ ุณ
วันท่ี 28 - 29 ตุลาคม 2565 ตัวแทนทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลมะเร็ง
ลาปางเข้าร่วมพิธีเปิดศูนย์เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน
ผู้บริบาลผู้สูงอายุ พิธีมอบใบประกาศนียบัตรผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง และพิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่องค์กร
เครือข่ายทางวิชาการ และ งานวิจัย ซึ่งโรงพยาบาลมะเร็งลาปางได้รับ
มอบโล่ประกาศเกียรติคุณหน่วยงานจัดโดยคณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์
สุขภาพ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัย
จฬุ าภรณ์ ณ สนามกฬี าเทศบาลตาบลแม่มอก อาเภอเถนิ จังหวัดลาปาง
ส่วนท่ี 2
การดาเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์
ยุทธศาสตรท์ ่ี 1
สร้างความเข้มแขง็
ของเครือขา่ ยบริการ
และวชิ าการด้านโรคมะเรง็
ในเขตสุขภาพที่ 1 และ 2
ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 17
สรา้ งความเข้มแขง็ เครือขา่ ยวชิ าการและบริการ
Lung Cancer Network
ผปู้ ่วยมะเร็งปอดไดร้ ับการดแู ลอยา่ งตอ่ เนอ่ื งครบวงจรเปน็ ไปตามมาตรฐานไร้รอยตอ่ (Seamless)
โดยในปี 2565 ได้ดาเนนิ การจดั ประชมุ วชิ าการและการจดั ตง้ั ภาคเี ครอื ข่ายในเขตสุขภาพที่ 1
ประชุมวิชาการ
“การดแู ลรักษาผปู้ ว่ ยโรคมะเรง็ ปอด”
ณ โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2564
Lung cancer network conference :
properative case conference
ณ โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
วนั ที่ 15 กันยายน 2565
Nuclear Medicine
โรงพยาบาลมะเร็งลาปางรับผู้ป่วย I-131 จากจังหวัดเชียงใหม่ มาต้ังแต่ปีงบประมาณ 2563 - 2565
(ไตรมาสท่ี 1) เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 ในจังหวัดเชียงใหม่ ทาให้อาคารท่ีมี ward I-131 ใช้รองรับ
ผปู้ ่วย COVID-19 งดให้บริการ I - 131 high dose treatment แล้ว ทาให้โรงพยาบาลในจังหวัดเชียงใหม่จึงส่ง
ผูป้ ว่ ยมายังโรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
18
เครอื ข่ายการรบั ส่งตอ่ Cancer Anywhere
แลกเปลี่ยนปัญหาและอุปสรรคการรบั -สง่ ตอ่ Cancer Anywhere
โครงการนิเทศติดตามคุณภาพข้อมูลทะเบียนมะเร็งและการรับ-ส่งต่อ Cancer Anywhere ณ โรงพยาบาล
ศรสี งั วาลยแ์ ละโรงพยาบาลปาย จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ในระหว่างวันท่ี 14 - 17 ธันวาคม 2564 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อติดตาม
คณุ ภาพข้อมลู ทะเบยี นมะเร็งและการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยมะเร็ง เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาทั้งสร้างความสัมพันธ์
อนั ดีในเครือข่ายทะเบยี นมะเรง็ และการรับ-ส่งต่อผปู้ ว่ ยมะเรง็ อย่างเหมาะสม รวดเร็ว
19
เครอื ขา่ ยการรับส่งต่อ Cancer Anywhere
การวางแผนพฒั นาการเข้าถงึ ผลพยาธวิ ิทยาเพื่อคณุ ภาพข้อมูล
นายแพทย์วีรวัต อุครานันท์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง และคณะนิเทศ ติดตามคุณภาพข้อมูลทะเบียน
มะเร็งและการรับ-ส่งต่อ Cancer Anywhere ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2565 ณ โรงพยาบาลน่าน จังหวัดน่าน โดยมี พญ.อัจฉรา
ละอองนวลพานิช ผู้อานวยการโรงพยาบาลน่าน และทีมผู้บริหารให้การต้อนรับและนาเสนอผลการดาเนินงานโรคมะเร็งในด้านต่างๆ
พร้อมทั้งประชุมวางแผนชอ่ งทางในการเขา้ ถึงผลพยาธิวิทยา เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพขอ้ มลู ให้ดียงิ่ ขน้ึ
พฒั นาการนาส่งขอ้ มลู ทะเบยี นมะเรง็ และ Cancer Anywhere
นายแพทย์วรี วตั อคุ รานันท์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง และคณะร่วมนิเทศ ติดตามคุณภาพข้อมูล
ทะเบียนมะเร็งและการรับ-ส่งต่อ Cancer Anywhere ในวันที่ 25 สิงหาคม 2565 ณ โรงพยาบาลเชียงคา จังหวัดพะเยา
โดยมี นายแพทย์ประพัฒน์ ธรรมศร รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ และทีมผู้บริหารให้การต้อนรับและนาเสนอผลการ
ดาเนินงานด้านการเตรียมให้บริการเคมบี าบดั การสง่ ผู้ป่วยคัดกรองมะเรง็ เต้านมรูปแบบ one stop service
20
ตรวจราชการและสนับสนนุ วชิ าการ ในเขตสุขภาพท่ี 2
ตรวจราชการในเขตสขุ ภาพที่ 2
สานักการแพทย์เขตสุขภาพที่ 2 นาโดย นพ.ถาวรัฐ เรือนโรจน์รุ่ง ผู้อานวยการสานักการแพทย์เขตสุขภาพที่ 2
และคณะ ร่วมตรวจราชการกรณีปกติ ของกระทรวงสาธารณสุขในเขตสุขภาพท่ี 2 จานวน 5 จังหวัด ได้แก่ ตาก สุโขทัย
พษิ ณโุ ลก อตุ รดิตถแ์ ละเพชรบูรณ์ ทงั้ รอบที่ 1 และ 2 ประจาปีงบมาณ 2565
สนบั สนนุ วชิ าการตามความตอ้ งการของเขตสขุ ภาพที่ 2
สานักการแพทยเ์ ขตสุขภาพที่ 2 ได้รว่ มสนับสนุนโครงการ
วชิ าการ ของเขตสุขภาพท่ี 2 ประจาปีงบประมาณ 2565 จานวน
2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทาง
การแพทย์ เรื่อง การสื่อสารให้ความรู้โรคมะเร็งเขตสุขภาพที่ 2
2) โครงการพัฒนา ศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรค ติดเช้ือในกระแสเลือด
เขตสุขภาพที่ 2 และทางโรงพยาบาลมะเร็งลาปางร่วมกับสานัก
การแพทย์เขตสุขภาพ ท่ี 2 ได้ดาเนินการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การดาเนินงานให้วิชาการ และบริการด้านโรคมะเร็ง กับ
โรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ จังหวดั อุตรดิตถ์
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2
พัฒนาระบบดแู ล
ผู้ป่วยด้านโรคมะเรง็
แบบไรร้ อยตอ่
22
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2
การดูแลครบวงจรในโรงพยาบาล
การให้บริการตรวจวนิ จิ ฉยั
การให้บริการตรวจวนิ ิจฉยั ทางพยาธวิ ทิ ยา (Cancer Diagnosis) : Pathology ปีงบประมาณ 2565
ร้อยละของผูป้ ว่ ยได้รับการวินิจฉยั ทางพยาธวิ ทิ ยา ภายใน 2 สปั ดาห์ 100%
การรกั ษาโรคมะเร็ง (Cancer Treatment)
รอ้ ยละผปู้ ่วยมะเรง็ 5 อันดับแรกได้รบั การรักษาภายในระยะเวลาทีก่ าหนด
Treatment (Surgery)
ร้อยละของผูป้ ่วยท่ไี ด้รบั การรกั ษาดว้ ยการผา่ ตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ รอ้ ยละ 75)
23
การรักษาโรคมะเรง็ (Cancer Treatment)
รอ้ ยละผู้ป่วยมะเรง็ 5 อันดบั แรกได้รบั การรักษาภายในระยะเวลาทก่ี าหนด
Treatment (Chemotherapy)
รอ้ ยละของผ้ปู ่วยท่ีได้รบั การรักษาด้วยเคมบี าบัดภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์ ≥ รอ้ ยละ 75
Treatment (Radiation)
รอ้ ยละของผ้ปู ่วยที่ไดร้ ับการรกั ษาด้วยรงั สรี ักษาภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์ ≥ ร้อยละ 60
24
การใหบ้ รกิ ารแบบไร้รอยตอ่
การให้บรกิ ารสอ่ งตรวจลาไสใ้ หญ่ ใน จ.แม่ฮ่องสอน และ จ.สุโขทัย
จ.แมฮ่ อ่ งสอน เม่อื วนั ที่ 15 ธนั วาคม 2564
ได้ Colonoscope ผ้ปู ว่ ย Fit-test positive จานวน 10 ราย
พบต่งิ เนื้อเสีย่ งตอ่ การเป็นมะเรง็ จานวน 3 ราย
ไดร้ ับการวินิจยั ว่าเปน็ มะเร็งลาไสใ้ หญ่ จานวน 1 ราย
จ.สุโขทัย เมอ่ื วันที่ 12 - 13 มีนาคม 2565
ได้ Colonoscope ผูเ้ ข้ารบั บรกิ ารจานวน 156 ราย
พบรอยโรคจาเปน็ ตอ้ งตัดชน้ิ เนอื้ ตรวจเพมิ่ จานวน 63 ราย
Telemedicine และการสง่ ยาใหผ้ ปู้ ่วย
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปางได้ใหบ้ รกิ าร Telemedicine
เปน็ 2 กลมุ่ คือ กลมุ่ ผู้ป่วยมะเร็งและกลมุ่ ผปู้ ว่ ยทไ่ี ม่ใช่มะเร็ง
ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับยาเป็นประจาต่อเน่ือง ได้แก่
เบาหวาน, ความดัน, ไขมัน เป็นต้น ท้ังน้ีเม่ือได้รับบริการ
ผา่ น Telemedicine ผู้ปว่ ยจะได้รบั ยาทางไปรษณีย์
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3
พัฒนาองค์การ
เปน็ ศูนย์ความเป็นเลิศ
เฉพาะทางด้านโรคมะเรง็
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 26
ดา้ นที่ 1 การบริการระดบั ตตยิ ภมู ิและสงู กว่า
(Super Tertiary Care)
การใหบ้ รกิ ารตรวจสขุ ภาพ
การใหบ้ รกิ ารตรวจสขุ ภาพ ปีงบประมาณ 2561 - 2565
การให้บริการกลมุ่ งานศัลยศาสตร์ จานวนผู้รบั บริการ ห้องสอ่ งกล่องตรวจพเิ ศษ
จานวนผูร้ บั บรกิ าร ห้องผา่ ตัด ปีงบประมาณ 2561 - 2565
การใหบ้ ริการงานเคมีบาบดั จานวนผูร้ บั ยา ด้านเคมีบาบดั
จานวนผ้รู บั บริการ ห้องตรวจเคมีบาบัด ปงี บประมาณ 2561 - 2565
27
การให้บริการงานรงั สีรกั ษา
การใหบ้ รกิ ารรงั สีรักษา
1. เพม่ิ ประสิทธภิ าพการรกั ษาผูป้ ว่ ยดว้ ยการฉายรงั สี
โดยใช้ความรอ้ นชนิดตื้น
2. ให้บริการการรักษาด้วยเทคนิคการรักษาด้วยรังสีข้ันสูง
ไดแ้ ก่ SRS,SRT,SBRT และ 3D brachytherapy
3. พัฒนาระบบวางแผนการรักษาแบบทางไกล รองรับ
การทางานแบบ work from home และเพม่ิ ความ
สะดวกในการเข้าถึงขอ้ มลู การวางแผนการรักษา
4. เคร่ืองฉายรังสีได้รับการสอบเทียบปริมาณรังสี (out put)
และได้รบั การตรวจสอบและรับรอง
5. ผ้ปู ่วยสามารถ ได้รับการฉายรังสภี ายใน 1 วนั นอกเหนือ
จากกรณีฉุกเฉินตามการพิจารณาของแพทย์ เช่น ผู้ป่วย
ประคบั ประคองทีต่ อ้ งฉายรงั สเี พ่ือบรรเทาอาการ
การให้บรกิ ารงานเวชศาสตรน์ ิวเคลียร์
จานวนผูร้ บั บริการด้านงานเวชศาสตรน์ ิวเคลียร์ (คร้งั )
การใหบ้ รกิ ารดา้ น Palliative Care และ คลนิ กิ กญั ชา
28
ดา้ นท่ี 2 การรับสง่ ต่อ (Referral)
API R1
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปางมกี ารเชื่อมโยงข้อมูลผปู้ ว่ ยกับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพท่ี 1 ด้วยระบบ API R1
ทาให้สามารถดูข้อมูลผู้ป่วยได้ ทั้งนี้ข้อมูลได้เชื่อมต่อกัน 13 datasets และได้อยู่ระหว่างดาเนินการเชื่อมข้อมูลเพ่ือ
ดผู ลพยาธิวทิ ยา
โรงพยาบาลมะเร็งลาปางดูของโรงพยาบาลอ่ืนๆ
โรงพยาบาลอน่ื ๆดขู องโรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
29
ดา้ นที่ 3 การวิจัยและการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
(Research and Technology Assessment)
วจิ ยั
โรงพยาบาลมะเร็งลาปางได้สนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนางานผลงานวิชาการ งานวิจัย โดย
ในปีงบประมาณ 2565 มีผลงานวิจัยท่ีตีพิมพ์ท้ังในระดับนานาชาติและระดับชาติ (TCI ฐาน 1 และ 2) และมีการ
นาเสนอการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ
Published Paper (International Journal)
Publication of Thai Journal Citation Index
Estimation of lung cancer death attributable to indoor
radon exposure in upper northern Thailand
(Scentific Reports Impact Factor 2022 =Q1:4.996)
Poster Presentation (National) Published Paper (National Journal)
Innovative Education and Research for TCI1
Future Sustainable Development
ณ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนยล์ าปาง ระบาดวิทยาโรคมะเร็งในประชากรผู้สูงอายุ
วันที่ 24 มิถนุ ายน 2565 ภ า ค เ ห นื อ ต อ น บ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ร ะ ห ว่ า ง
ปี พ.ศ.2556 - 2560
“ เร่อื ง ประสิทธผิ ลของอาหารเหลว
คุณค่าโภชนาการครบถว้ น TCI2
ในผูป้ ว่ ยมะเร็งศรี ษะและลาคอทีม่ ภี าวะ การพัฒนารูปแบบการบริการพยาบาลผู้ป่วย
ทพุ โภชนาการ ” มะเร็งด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของพยาบาล
วิชาชพี
การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบ
ประคบั ประคองและระยะทา้ ยโดยการมีส่วนร่วม
ของเครือข่ายชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดมะเร็ง
จังหวดั ลาปาง
30
ดา้ นท่ี 4 การพัฒนาบคุ ลากร (Training)
การฝึกอบรมทางการพยาบาล
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปางร่วมกบั สถาบนั สมทบรว่ มกบั วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนพี ะเยา จัดอบรมหลักสูตร
การพยาบาลผปู้ ่วยมะเรง็ 4 เดอื น (จัดเป็นรุ่นท่ี 2 ระหว่างวนั ที่ 1 ก.พ. 65 - 31 พ.ค. 65)
ในปีงบประมาณ 2565 ไดจ้ ัดอบรมใหแ้ ก่เขตสขุ ภาพที่ 1 และ 2
❖ 21 - 25 ก.พ. 65
หลกั สูตร การพยาบาลผปู้ ว่ ยมะเรง็ ท่ไี ด้รบั เคมีบาบัด (ฟน้ื ฟู 5 วัน)
❖ 23 - 25 ม.ี ค. 65
หลกั สตู ร การพยาบาลผู้ป่วยมะเรง็ ทมี่ ที วารเทียมและแผล (3 วัน)
❖ 30 พ.ค. - 8 ก.ค. 65
หลกั สูตร การพยาบาลผูป้ ่วยมะเรง็ ทไี่ ดร้ ับเคมบี าบัด (1 เดอื น)
❖ 18 - 22 เม.ย. 65
หลักสตู ร การพยาบาลผปู้ ่วยแบบประคับประคอง (5 วัน)
❖ 18 เม.ย. - 13 พ.ค. 65
หลักสูตร การพยาบาลผปู้ ่วยแบบประคับประคอง (1 เดือน)
31
ดา้ นท่ี 5 การเป็นศูนย์อ้างองิ วิชาการแพทย์
(Reference)
Epidemiology Research
Year Title Download, View
or Cite
2018 1)Temporal Trends and Geographic Patterns of Lung Cancer Incidence by Download = 2,199
Histology in Thailand, 1990 to 2014
2)Childhood cancer incidence and survival in Thailand: A comprehensive Cite = 20
population- based registry analysis, 1990-2011. Pediatric blood & cancer
3)Global surveillance of trends in cancer survival 2000-14 (CONCORD-3): Cite = 11
analysis of individual records for 37 513 025 patients diagnosed with one
of 18 cancers from 322 population-based registries in 71 countries
2020 1)Trends In Cancer Incidence and Mortality in Northern Thailand, 1993- -
2017
2)Classification of hepatocellular carcinoma and intrahepatic Cite = 10
cholangiocarcinoma based on multi-phase CT scans
2021 1)Cancer epidemiology of an aging population in Upper-Northern Thailand Download = 738
from 2013 to 2017
2)Individualized Prediction of Breast Cancer Survival Using Flexible View = 1,210
Parametric Survival Modeling: Analysis of a Hospital-Based National Clinical
Cancer Registry
2022 1)Geographical risk pattern and temporal trends in incidence of HPV- View = 442
related cancers in northern Thailand: A population-based study
2)An analysis of the incidence and survival rates of bone sarcoma patients Cite = 1
in Thailand: reports from population-based cancer registries 2001–2015
32
ด้านท่ี 6 การเป็นองค์กรระดับชาตแิ ละนาเสนอขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย
(National Body and Policy Advocacy)
การใหบ้ รกิ ารตรวจคดั กรองมะเรง็ ปากมดลูก
โรงพยาบาลมะเร็งลาปางให้บริการการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีเอชพีวี ดีเอ็นเอ (HPV DNA test)
เป็นการตรวจหาเช้อื เอชพีวีสายพันธ์ุท่ีมีความเสี่ยงสูง ทั้ง 14 สายพันธ์ุ คือ สายพันธ์ุ 16, 18 และสายพันธ์ุอื่นๆ นอกจากน้ี
ในปี 2565 ยงั มีการใหบ้ รกิ ารคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยการเกบ็ ส่งิ สง่ ตรวจดว้ ยตนเอง (HPV Self Sampling)
HPV DNA test
จงั หวัด จานวนท่ีลงทะเบยี น
ลาปาง 7,210
เชยี งราย 15,365
พะเยา 990
361
แพร่ 312
ลาพูน
24,238
รวม
HPV self sampling
จังหวัด จานวนท่ีลงทะเบียน
ลาปาง 1,816
เชยี งราย 498
841
แพร่
3,155
รวม
33
ดา้ นที่ 7 การมเี ครือข่าย (Networking)
เครอื ขา่ ยทางดา้ นบริการและวชิ าการ
อบรมหลักสตู รการวเิ คราะห์ข้อมลู ระดบั ประชากร
เร่ือง “รูปแบบการจัดการและนาเสนอข้อมูลทะเบียนมะเร็งระดับประชากรให้มีประสิทธิภาพ” โดยวิทยากร
ผู้ทรงคุณวุฒิ รศ.นพ.หัชชา ศรปี ลง่ั , ดร.นพ.ดลสขุ พงษน์ ิกร, และวิทยากรจากมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่, วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร
จงั หวัดยะลา ในระหวา่ งวันที่ 26 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ณ อา่ วนางปรน้ิ วิลล์ วิลล่า รีสอร์ต อ.เมอื งกระบ่ี จ.กระบ่ี
• สร้างความรว่ มมอื เครอื ข่ายทะเบียนมะเร็งและงานวจิ ัยระบาดวทิ ยาโรคมะเรง็ ในระดับประเทศ
• ได้รูปแบบการนาเสนอขอ้ มูลโดยใช้ Google Data Studio
• นาความรู้ไปใช้การวเิ คราะหอ์ ัตรารอดชวี ติ (Survival Rate) แนวโน้ม (Trend) และอตั ราตาย (Mortality Rate)
ยุทธศาสตร์ท่ี 4
พัฒนาต้นแบบ
การสง่ เสริมป้องกันและ
คดั กรองโรคมะเร็งในชุมชน
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 35
กจิ กรรมสร้างองคก์ รแหง่ ความสขุ
Happy Heart - กิจกรรสง่ เสริมจิตสาธารณะ
& - กิจกรรมชวนทาดีแกป้ ชี ง
- กิจกรรมวันสาคัญทางพุทธศาสนา
Happy Soul - กิจกรรมรดนา้ ดาหัว
- กิจกรรมยกย่องเชดิ ชบู ุคลากรดีเดน่
- สถานทอี่ อกกาลงั กายกลางแจง้ Happy Body
- จดั ตง้ั ชมรม เช่น ชมรมเปตอง ชมรมฟุตบอล
- การส่งเสรมิ สขุ ภาพเจ้าหน้าท่โี รงพยาบาล
และตรวจสขุ ภาพ บุคคลากรท่วั ไปและกล่มุ เส่ยี ง
Happy Money - กิจกรรมถอดบทเรยี นพ่เี ลยี้ งทางการเงนิ
- สรา้ ง line กลุ่มทางด้านการเงิน
- ขบั เคลอื่ นวัฒนธรรมองคก์ ร HR Mini Happy Brain - สาหรับผู้ท่ีสนใจ
- อบรม Work อยา่ งไร ไม่เสย่ี งภัย Office Syndrome
- อบรมซอ้ มแผนอัคคภี ยั ปี 2565 - สง่ เสริมการจดั กิจกรรมสัมพันธ์ OD
- อบรมหลักสูตร ผู้บรหิ าร ผบต. ผบก. 14 ราย ในแต่ละภารกจิ
- อบรมวชิ าชพี เฉพาะ 9 ราย - กิจกรรมปีใหม่
- ศึกษาต่อ 2 ราย - กิจกรรมแขง่ ขนั กฬี า
Happy Relax
36
การขบั เคล่ือนและสง่ เสรมิ คา่ นยิ มวฒั นธรรมองคก์ ร
คณะกรรมการ HR mini
จดั กิจกรรมพฒั นาสมรรถนะ ทักษะ
การวางแผนการขบั เคลื่อน คา่ นยิ ม
วัฒนธรรมองค์กร และสร้างความ
เขา้ ใจในความสาคัญและวิธกี ารจดั
ทาแผนพัฒนารายบุคคล (IDP)
37
Digital Hospital
Paperless Hospital
การบนั ทกึ ข้อมูลผปู้ ว่ ย OPD ทกุ อยา่ ง
ใชแ้ บบ Paperless
Personal Health Record : PHR
ทา API รบั ขอ้ มลู จากเครื่องวดั
เช่ือมต่อกับระบบ SoftCon
38
การพฒั นาคุณภาพ
รบั การตรวจเยย่ี มเฉพาะโรค : การดูแลรกั ษามะเรง็ ไทรอยด์
ชนดิ differentiated โดยการกลนื แร่ไอโอดนี - 131
โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง เขา้ รับการตรวจเยย่ี มเฉพาะโรค : การดูแลรักษามะเรง็ ไทรอยด์ชนิด differentiated
โดยการกลืนแรไ่ อโอดีน - 131 นาทมี โดยนายแพทยว์ ีรวตั อุครานันท์ ผ้อู านวยการโรงพยาบาล และแพทย์หญิงพิชานัน
โพธิสุนทร หัวหน้ากลุ่มงานเวชศาสตรน์ วิ เคลียร์ รบั การตรวจเยี่ยมจากสถาบนั รบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องคก์ ารมหาชน)
ในวนั ที่ 17 สิงหาคม 2565 “ ผ่านการรบั รองเป็นแหง่ แรกในประเทศ ”
39
รบั การตรวจเยีย่ ม : การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง รับการตรวจเย่ียม :
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ นาทีมโดย
นายแพทย์ถาวรัฐ เรือนโรจน์รุ่ง รองผู้อานวยการ
ด้านการพัฒนาระบบสุขภาพ และนายแพทย์พีรวุฒิ
บุญยะนิวาศ หัวหน้ากลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
และสนับสนุนวิชาการรับการตรวจเย่ียมจากสมาคม
เวชสารสนเทศไทย ในวนั ท่ี 10 สงิ หาคม 2565
การประเมินมาตรฐานระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง เข้ารับการตรวจ
ประเมนิ ระบบบริการสขุ ภาพ (HS4) โดยทมี
ผู้เย่ยี มจากศนู ย์สนบั สนนุ บริการเขตสุขภาพ ท่ี 1
ประจาปงี บประมาณ 2565 อยใู่ น “ระดับพัฒนา”
40
การดาเนนิ งานตามนโยบาย VIP
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
ให้บรกิ าร Smart Queue ณ คลนิ กิ ต่างๆ ดงั นี้
คลินิกคัดกรองสุขภาพ จานวน 2 จุด
คลนิ ิกเฉพาะทางผปู้ ว่ ยนอก จานวน 2 จุด
คลินิกเคมีบาบัด จานวน 1 จุด
คลินกิ เวชศาสตร์นวิ เคลียร์ จานวน 1 จดุ
โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง
ดาเนินการออกแบบหอผปู้ ว่ ยสามัญ
เ พื่ อ เ ป็ น ห อ ผู้ ป่ ว ย ท่ี ทั น ส มั ย
มคี วามปลอดภัย และน่าใช้บริการ
41
Happiness โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง ได้ใหค้ วามสาคญั กบั โภชนาการ
Safety ที่เหมาะสมกบั สขุ ภาวะของผูป้ ว่ ย ดังน้ี
Healthy Diet
อาหารอุ่นร้อน ได้รับบริการอาหาร
ในเวลาท่ีเหมาะสม โดยม้ือเช้าจะเร่มิ
ใหบ้ ริการเวลา 07.30 น. ม้อื กลางวัน
เวลา 11.30 น. มือ้ เยน็ เวลา 16.00 น.
โดยกาหนดเวลาการปรุงประกอบอาหาร
ก่อนเวลาขนส่งอาหารให้กับผู้ป่วย
อยา่ งนอ้ ย 30 นาที
อาหารสะอาด ปลอดภยั
มีการควบคุมการประกอบอาหาร
ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร โดยได้
มาตรฐาน Clean Food Good Taste
จากสานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลาปาง
เมือ่ วันท่ี 31 สิงหาคม 2565 ซ่ึงมกี าร
ตรวจหาเชื้อโคลฟิ อรม์ ในมอื ผู้สัมผัส
อาหาร ภาชนะ อาหารปรงุ สกุ ตรวจหาสารบอแรกซ์ สารกนั รา
สารฟอร์มาลีนและตรวจความเคม็ โดยมีการสุม่ ตรวจติดตามเดอื นละ1คร้งั
คุณคา่ ทางโภชนาการ
ทีเ่ หมาะสมตามหลกั โภชนบาบดั
จัดทา e-Book เมนูอาหารชูสุขภาพ
เบอร์โทรศัพทภ์ ายใน 4422
โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง
ต.พชิ ัย อ.เมืองลาปาง จ.ลาปาง 52000
Tel. 054 335 262 – 8 Fax. 054 335 273
ชื่อ - นามสกลุ เบอร์ฯ ภายใน
นายวีรวัต อุครานันท์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง 100 / 541 (เลขาฯ)
นางกาลนกิ าร์ แปงจิตร์ หัวหนา้ กลมุ่ งานพฒั นาคณุ ภาพ 632, 633
ภารกจิ ด้านอานวยการ รองผู้อานวยการดา้ นอานวยการ 505 / 176 (เลขาฯ)
นางนรานันท์ ธาราวรรษ หวั หนา้ กลมุ่ งานการเงนิ บัญชี 210, 536
นางสาวบษุ บา วงศอ์ นุ่ ใจ
ภารกิจดา้ นวชิ าการและการแพทย์
นายพิพฒั น์ คปู ระเสริฐยงิ่ รองผู้อานวยาการด้านการแพทย์ 195 / 635 (เลขาฯ)
นางกาลนกิ าร์ แปงจิตร์ หัวหน้ากลุ่มงานมะเรง็ นรีเวช 146, 181
นายถาวรฐั เรือนโรจนร์ งุ่ หวั หน้ากลมุ่ งานศลั ยศาสตร์ 174, 181
นางอมุ าภรณ์ พงษพ์ ันธุ์ หวั หน้ากลมุ่ งานวสิ ญั ญีวทิ ยา 170
นายคณวชั อาวพิ ันธ์ุ หวั หน้ากลมุ่ งานอายุรศาสตร์ 145
นางสริ กิ ุล ศรฤทธิ์ชิงชยั หัวหน้ากลุ่มงานเคมีบาบดั 621
นางศิรริ ตั น์ เชือ้ สาราญ หัวหน้ากลมุ่ งานโสต ศอ นาสิก 118
นางสาวทศั นว์ รรณ อาษากจิ หัวหนา้ กลมุ่ งานรังสรี ักษา 180
นางธันยภทั ร พงษเ์ ลาหพนั ธุ์ หวั หนา้ กล่มุ งานรงั สวี นิ ิจฉัย 611
นายชยั ชริ ัตน์ วงศ์จริ สกลุ หัวหนา้ กลมุ่ งานพยาธิวทิ ยากายวิภาค 152, 552
นางบุณยานชุ ขนั ไชยวงค์ หวั หนา้ กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลนิ กิ และเทคนิกาการแพทย์ 532, 530
190, 201
นางสาววรภทั ร เชงิ ปัญญา หวั หน้ากลมุ่ งานเวชศาสตรป์ ระคับประคอง
209, 204
นางสาวปยิ ะพร สกลุ กรกิจ หวั หนา้ กลมุ่ งานทันตกรรม
630, 636
นายนพคุณ บุศยพนั ธ์ุ หวั หนา้ กลุ่มงานเภสัชกรรม
183
นางสภุ า เกียรตกิ ้องแกว้ หวั หน้ากลมุ่ งานโภชนศาสตร์
526
นางสาวพิชานัน โพธิสุนทร หวั หน้ากลมุ่ งานเวชศาสตรน์ วิ เคลียร์
622, 503
นางนิลบุ ล เรอื นโรจน์รงุ่ หวั หนา้ กลมุ่ งานธนาคารโลหิต
ภารกจิ ด้านการพยาบาล รองผู้อานวยการดา้ นการพยาบาล 644 / 642 (เลขาฯ)
นางสาวกัลยารัตน์ วรรณวงศ์
หวั หนา้ กลุ่มงานวชิ าการพยาบาล 641
นางกาญจนา ดาวประเสรฐิ
หวั หน้ากลมุ่ งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก 643
นางสพุ ัตรา ธรารกั ษ์
หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลผูป้ ว่ ยใน 643
นางสรุ ียร์ ัตน์ พวงสายใจ
ภารกจิ ด้านการพฒั นาระบบสุขภาพ
นายถาวรัฐ เรือนโรจนร์ ่งุ รองผอู้ านวยการดา้ นพฒั นาระบบสขุ ภาพ 630 / 635 (เลขาฯ)
นางนลิ บุ ล เรือนโรจนร์ งุ่ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ 339, 168
นายพีรวุ ฒุ ิ บณุ ยะนิวาส หวั หนา้ กลมุ่ งานดจิ ทิ ัลทางการแพทย์ 181
นายวทญั ญู สมัครการ หัวหนา้ กลมุ่ งานวจิ ัย ถ่ายทอดและสนับสนนุ วชิ าการ 114, 535
หวั หน้ากลุ่มงานพฒั นานโยบายและยทุ ธศาสตร์ทางการแพทย์ 631, 637
นางพัชยา โพธทิ์ อง
43
บรรณาธิการ
ผจู้ ดั ทา : คณะกรรมการยุทธศาสตร์
นางกาญจนา ดาวประเสริฐ
นางพชั ยา โพธท์ิ อง
นางสาวพริ ุณพร มโนเจริญ
นางสาววรศิ รา จบั ไหว
นางสาวอัญชลี สามงามมี
นางประกายทิพย์ เครอื จนั ทร์
นางสาวฉตั รฤทยั ไชยชนะ
นางสาวมนฐติ นิ ันท์ ประดิษฐค่าย
ค่ า นิ ย ม
L LOVE TO WORK รักในงานที่ทำ
P PEOPLE CENTRIC สำคัญคือประชาชน
C CANCER SPECIALIST พัฒนาตน สู่ความเชี่ยวชาญ
H HAPPY WORKPLACE ทำงานอย่างมีความสุข