The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไมโครมิเตอร์วัดนอก
ไมโครมิเตอร์วัดใน
ไมโครมิเตอร์วัดลึก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jueworasan, 2022-03-21 23:01:16

ไมโครมิเตอร์

ไมโครมิเตอร์วัดนอก
ไมโครมิเตอร์วัดใน
ไมโครมิเตอร์วัดลึก

หนว่ ยที่ 4 97

ไมโครมเิ ตอร์
(Micrometer)

Mind Mapping สาระการเรียนรู้
1. ไมโครมเิตอร์
แผนผังความคดิ 2. ไมโครมเิตอรว์ ดั นอก
ไมโครมเิ ตอร์ (Micrometer) 3. ไมโครมเิตอรแ์ บบแสดงผลเปน็ ตวั เลข
4. ไมโครมเิตอรแ์ บบใชง้ านเฉพาะ
ไมโครมเิตอร์ 5. ไมโครมเิตอรว์ ดั ในแบบคาลปิ เปอร์
ไมโครมเิตอรว์ ดั นอก 6. ไมโครมเิตอรว์ ดั ในแบบเปลย่ี นแกนวดั
ไมโครมเิตอรแ์ บบแสดงผลเปน็ ตวั เลข 7. ไมโครมเิตอรว์ ดั ลกึ
ไมโครมเิตอรแ์ บบใชง้ านเฉพาะ
ไมโครมเิตอรว์ ดั ในแบบคาลปิ เปอร์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ไมโครมเิตอรว์ ดั ในแบบเปลย่ี นแกนวดั
ไมโครมเิตอรว์ ดั ลกึ 1. บอกชื่อสว่ นประกอบของไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกได้
2. อ่านค่าขดี มาตราของไมโครมเิ ตอร์ได้
3. บอกวธิ ีใชไ้ มโครมิเตอรไ์ ด้
4. บอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบ

ดิจิตอลได้
5. บอกวธิ ีการใช้ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกแบบดจิ ิตอลได้
6. บอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดในแบบ

คาลปิ เปอรไ์ ด้
7. อ่ า น ค่ า ขี ด ม า ต ร า ข อ ง ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ วั ด ใ น แ บ บ

คาลปิ เปอรไ์ ด้
8. บอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดในแบบ

เปลี่ยนแกนวัดได้
9. อ่านค่าขีดมาตราของไมโครมิเตอร์วัดในแบบเปล่ียน

แกนวดั ได้
10. บอกชอื่ ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดลึกได้
11. อ่านคา่ ขีดมาตราของไมโครมเิ ตอร์วดั ลึกได้
12. บอกข้อควรระวังและการบ�ำ รงุ รกั ษาไมโครมิเตอรไ์ ด้
13. ใชไ้ มโครมเิ ตอร์วัดขนาดชิ้นงานได้

วดั ละเอียด

98 แทบดบสอบ

กอ่ นเรียน

ค�ำ สัง่ จงท�ำ เครอื่ งหมายกากบาท (7) ลงหนา้ ขอ้ ที่

ถูกตอ้ งท่ีสุด

จากรูปสว่ นประกอบของไมโครมเิ ตอร์ จงใชต้ อบคำ�ถามขอ้ 1 4. จากรูป ค่าวดั ทอ่ี ่านได้จากไมโครมิเตอร์ คอื ขอ้ ใด
ก. 6.666 นิ้ว
1. จากรูป หมายเลข 3 คือส่วนประกอบใดของ ข. 6.516 นวิ้
ไมโครมเิ ตอร์ ค. 6.016 น้ิว
ก. โครง ข. แกนวัด ง. 0.666 นวิ้
ค. กา้ นลอ็ ก ง. ปลอกหมุนวดั จ. 0.616 น้วิ
จ. หัวหมนุ กระทบเล่อื น 5. การใช้ไมโครมเิ ตอรว์ ัดขนาดช้นิ งาน เมื่อแกนวดั ใกล้
2. จากรูป คา่ วัดทอ่ี า่ นไดจ้ ากไมโครมเิ ตอร์ คอื ข้อใด
ก. 6.09 มิลลิเมตร สัมผัสชิ้นงาน ควรทำ�อยา่ งไร
ข. 3.61 มลิ ลิเมตร ก. หมุนท่ปี ลอกหมุนวัดอย่างรวดเรว็
ค. 3.59 มิลลเิ มตร ข. หมนุ ทีป่ ลอกหมุนกระทบเลือ่ นอยา่ งรวดเรว็
ง. 3.11 มลิ ลเิ มตร ค. คอ่ ย ๆ หมุนท่ปี ลอกหมนุ กระทบเลอื่ นอยา่ งชา้ ๆ
จ. 3.09 มิลลิเมตร ง. ค่อย ๆ หมุนท่ีปลอกหมุนวดั อย่างช้า ๆ
3. จากรปู คา่ วดั ท่อี า่ นไดจ้ ากไมโครมเิ ตอร์ คือขอ้ ใด จ. หมุนที่ปลอกหมุนวัดหรือหัวหมุนกระทบก็ได้แต่

เม่อื ได้ยนิ เสยี งดงั คลกิ ๆ ให้หยดุ หมนุ
จากรปู จงใช้ตอบคำ�ถามขอ้ 6



ก. 24.403 มลิ ลิเมตร ข. 24.373 มิลลิเมตร 6. จากรูป หมายเลข 1 คือส่วนประกอบใดของ
ค. 23.873 มิลลิเมตร ง. 23.403 มลิ ลเิ มตร ไมโครมเิ ตอร์วัดนอกแบบดจิ ิตอล
จ. 23.373 มลิ ลเิ มตร
ก. ก้านลอ็ ก
ข. ปุ่มปรับค่าเป็น 0
ค. ปลอกสเกลเลื่อน
ง. ปุ่มก�ำ หนดคา่ อ้างองิ
จ. กา้ นปลอกสเกลหลกั

7. จากรปู ค่าวดั ที่อา่ นไดจ้ ากไมโครมิเตอร์วัดในแบบ 9. จากรปู คา่ วดั ทอ่ี า่ นไดจ้ ากไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ คอื ขอ้ ใด 99
คาลิปเปอร์ คอื ข้อใด

ก. 13.21 มิลลิเมตร
ข. 6.71 มิลลิเมตร
ค. 6.69 มลิ ลิเมตร ก. 8.22 มิลลิเมตร
ง. 6.21 มิลลเิ มตร ข. 2.72 มิลลิเมตร
จ. 6.19 มลิ ลเิ มตร ค. 2.22 มิลลเิ มตร
8. จากรปู ค่าวัดทีอ่ า่ นได้จากไมโครมิเตอร์วดั ในแบบ ง. 1.72 มลิ ลเิ มตร
เปลี่ยนแกนวดั คอื ขอ้ ใด จ. 1.22 มลิ ลิเมตร
10. ขอ้ ใดกล่าว ไม่ถกู ตอ้ ง เกย่ี วกบั ข้อควรระวงั และการ
บ�ำ รุงรกั ษาไมโครมิเตอร์
ก. กอ่ นใชง้ านไมโครมเิ ตอรค์ วรตรวจสอบศนู ยเ์ สมอ ๆ
ข. เมอ่ื ตอ้ งการใหแ้ กนวัดเคลื่อนท่ีเรว็ ควรใชก้ ารหมุน
โดยฝา่ มอื
ค. ระมัดระวังไม่ทำ�ให้ไมโครมิเตอร์ตกหล่นกระแทก
พืน้ โดยเด็ดขาด
ก. 50.72 มลิ ลเิ มตร ง. ก่อนและหลังใช้งานไมโครมิเตอร์ควรทำ�ความ
ข. 50.22 มลิ ลเิ มตร
ค. 22.50 มิลลเิ มตร สะอาดแกนวดั และแกนรบั เสมอ ๆ
ง. 0.72 มิลลเิ มตร จ. หลังใช้งานไมโครมิเตอร์ควรเช็ดทำ�ความสะอาด
จ. 0.22 มลิ ลเิ มตร
เกบ็ เขา้ ท่ี โดยหมนุ แกนวดั เขา้ ใหแ้ นน่ แลว้ ลอ็ กสกรู

วดั ละเอยี ด ไมโครมเิ ตอร์ (Micrometer)

100 หนว่ ยที่ 4 ไมโครมเิ ตอรจ์ ดั เปน็ เครอ่ื งมอื วดั ทม่ี คี วามละเอยี ดสงู
ใช้งานแพรห่ ลายในงานอุตสาหกรรม ปี ค.ศ. 1772
ไมโครมเิ ตอร์ เจมส์ วัตต์ (James Watt) ได้ประดษิ ฐ์ไมโครมิเตอร์
(Micromiter) ขน้ึ มา ประกอบดว้ ย หน้าปัดนาฬิกา 2 หนา้ ปดั ตอ่ มา
ปี ค.ศ. 1848 พาลเมอร์ (Palmer) ชาวฝรงั่ เศสได้คิดค้น
สาระสำ�คญั ไมโครมเิ ตอรแ์ บบโครงตัวซี ความละเอียด 0.05 มม.
หลังจากนน้ั ปี ค.ศ. 1877 บริษทั บราวนแ์ อนดช์ าร์ป
ไมโครมเิ ตอร์ จดั เปน็ เครอ่ื งมอื วดั แบบมขี ดี (Brown & Sharp) ไดผ้ ลติ ไมโครมเิ ตอร์ออกวาง
มาตราปรบั เลอ่ื นไดท้ ม่ี คี วามส�ำ คญั ในงานวดั ละเอยี ด จำ�หน่ายขนึ้ เป็นครงั้ แรก หลังจากนั้นไมโครมเิ ตอรถ์ กู
จัดว่าเป็นเคร่ืองมือวัดท่ีให้ค่าความละเอียดสูง พฒั นาใชง้ านมาจนถงึ ปจั จบุ ัน
ส�ำ หรบั เครอ่ื งมอื วดั ทม่ี ใี ชใ้ นงานวดั ละเอยี ด อา่ นคา่
วดั ไดล้ ะเอยี ดกวา่ เวอรเ์ นยี รค์ าลปิ เปอร์ อกี ทง้ั ยงั ใช้
คา่ ความถกู ตอ้ งดกี วา่ สามารถอา่ นคา่ ไดท้ ง้ั ระบบ
เมตรกิ คอื หนว่ ยมลิ ลเิ มตรและระบบองั กฤษ คอื
หนว่ ยนว้ิ ไมโครมเิ ตอรแ์ บง่ ออกตามชนดิ การใชง้ าน
ไดแ้ ก่ ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ใน และ
ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ

เจมส์ วตั ต์ ปี ค.ศ. 1772
เฮนรี มูดสเ์ ลย์ ปี ค.ศ. 1800

พาลเมอร์ ปี ค.ศ. 1848
บราวนแ์ อนด์ชาร์ป ปี ค.ศ. 1877

มิตูโตโย ยคุ ปัจจุบัน

รูปที่ 4-1 พัฒนาการของไมโครมิเตอร์

ปัจจุบันไมโครมิเตอร์มีการพัฒนาให้เลือกใช้งาน 101
หลายชนิด และประกอบดว้ ยการอา่ นคา่ แบบขดี สเกล
ธรรมดาและแบบดจิ ติ อล ส่วนการใช้งานไมโครมิเตอร์
จะแตกต่างกับเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ที่สามารถวัดขนาด
ภายนอก ขนาดภายใน และความลึกในตัวเดยี วกัน แต่ รปู ที่ 4-2 หลักการทำ�งานของเกลยี วไมโครมเิ ตอร์

ไมโครมิเตอร์ถ้าจะวัดขนาดภายนอกก็จะต้องเลือกใช้
ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอก (Outside Micrometer) หากจะ
วัดขนาดภายในก็ตอ้ งเลือกใช้ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ใน (Inside ไ(มOโuคtรsiมdิเeตอMร์วicัดrนomอกeter)
Micrometer) และถ้าต้องการวดั ขนาดความลึกจะต้อง
เลอื กใช้ไมโครมเิ ตอร์วัดลึก (Depth Micrometer) ไมโครมิเตอร์วัดนอกได้ออกแบบมาเพ่ือใช้วัด
ไมโครมิเตอร์ผลิตให้เลือกใช้ทั้งระบบเมตริกและ ขนาดภายนอกช้ินงาน  สามารถเลือกใช้ได้ท้ังระบบ
ระบบองั กฤษ แต่จะไม่ไดอ้ ยู่ในตัวเดียวกนั เหมอื นกบั
เวอรเ์ นียร์คาลปิ เปอร์ หากต้องการใช้ระบบเมตรกิ ทม่ี ี เมตริก  และระบบอังกฤษ ชวนคดิ
หน่วยเป็นมิลลิเมตร  ก็ต้องเลือกใช้แบบระบบเมตริก และมหี ลายขนาดใหเ้ ลอื กใช้ ไมโครมิเตอร์แบบสเกล
และหากต้องการใช้ ส�ำ หรบั ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก กบั แบบดิจิตอล แบบใดวัด
ชวนคิด ระบบองั กฤษทม่ี หี นว่ ย แบบสเกล  ในระบบเมตริก ได้ละเอยี ดกวา่ กัน
ท�ำไมไมโครมิเตอร์ใช้วัดนอก เป็นนิ้วก็ต้องเลือกใช้ จะประกอบดว้ ยขนาด 0–25 มม.25–50 มม. 50–75 มม.
วัดใน และวัดลกึ ในตวั เดียวกนั ไมไ่ ด้ แบบระบบองั กฤษสว่ น 75–100 มม.และเพม่ิ ขนาดตวั ละ 25 มม. จนถงึ ขนาดสงู สดุ ท่ี
1,000 มม.สว่ นขนาดในระบบองั กฤษจะประกอบดว้ ยขนาด
ค่าความละเอียดของไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกท่ีนิยมใช้ 0–1 นว้ิ 1–2 นว้ิ 2–3 นว้ิ 3–4 นว้ิ และจะเพม่ิ ขนาดตวั
คอื 0.01 มิลลเิ มตร และ 0.001 มิลลเิ มตร และคา่ ความ ละ 1 นว้ิ จนถงึ ขนาด 40 นว้ิ ส�ำ หรบั ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอกท่ี
ละเอยี ดของไมโครมิเตอรร์ ะบบอังกฤษ คือ 0.001 นว้ิ นยิ มใชจ้ ะแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื
 ไมโครมิเตอรว์ ัดนอกแบบสเกล
และ 0.0001 น้ิว

หลกั การทำ�งานของไมโครมเิ ตอร์  ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกแบบดิจติ อล

ไมโครมิเตอร์ใช้หลักการเคลื่อนท่ขี องเกลียว  เม่ือ รปู ที่ 4-3 ไมโครมิเตอรแ์ บบสเกล
หมนุ เกลยี วไป 1 รอบกจ็ ะเคลอ่ื นท่ีไปในระยะทางเทา่ กบั รปู ที่ 4-4 ไมโครมเิ ตอรแ์ บบดิจติ อล
ลีด  (Lead)  ของเกลียว  ในไมโครมิเตอร์วัดนอกระบบ
เมตรกิ คา่ ความละเอยี ด 0.01 มม. จะใชเ้ กลยี วปากเดยี ว
ระยะพติ ช์ (Pitch) เทา่ กบั 0.5 มม. (เนอ่ื งจากเปน็ เกลยี ว
ปากเดยี วระยะลดี จะเทา่ กบั ระยะพติ ช)์ ดงั นน้ั เมอื่ หมนุ
เกลียวท่ปี ลอกหมุนวัดไป  1  รอบ  แกนวัดซ่งึ ติดอย่กู ับ
ปลอกหมนุ วดั กจ็ ะเคลอ่ื นท่ีไปทร่ี ะยะ 0.5 มม. จากนน้ั น�ำ
ปลอกหมนุ วดั มาแบง่ ขดี ชอ่ งสเกลอกี 50 ชอ่ งสเกล ดงั นน้ั
1 ชอ่ งสเกลกจ็ ะมคี า่ เทา่ กบั 0.01 มม. ส�ำ หรบั ไมโครมเิ ตอร์
ระบบองั กฤษกจ็ ะใชร้ ะยะพติ ช์ 0.025 นว้ิ ซง่ึ จะอธบิ าย
ตอ่ ไปในหลกั การอา่ นคา่ วดั ไมโครมเิ ตอรร์ ะบบองั กฤษ

วดั ละเอียด 5 10

102 สว่ นประกอบของไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอก

23
1

6

9 11
8
7
4

รูปท่ี 4-5 สว่ นประกอบของไมโครมิเตอรว์ ดั นอก

1. โครง (Frame) เปน็ ชนิ้ สว่ นหลักของไมโครมเิ ตอร์ ปลอกสเกลหลกั ที่กา้ นปลายจะมขี ีดสเกลอยู่รอบ ๆ เพอื่
ส�ำ หรับยึดชิน้ สว่ นต่าง ๆ เข้าดว้ ยกัน ท่ีโครงจะมีขนาด อา่ นค่าละเอียดของไมโครมิเตอร์
ช่วงวัดและค่าความละเอียดของไมโครมิเตอร์แสดงไว้ 7. เส้นอ้างอิง (Reference Line) มลี ักษณะเปน็ เส้น
ด้วย เชน่ ช่วงวดั 0-25 มม. คา่ ความละเอียด 0.01 มม. กลางขนานไปบนปลอกสเกลหลกั ใช้เปน็ เสน้ อา้ งองิ ใน
2. แกนรบั (Fixed Anvil) ท�ำ หน้าทรี่ องรับชนิ้ งาน การอ่านค่าของสเกลปลอกหมนุ วัด
เพือ่ ทำ�การวัดขนาด มีลักษณะเป็นเพลากลมยดึ อยกู่ บั 8. ขีดสเกลหลกั (Sleeve Scale) เปน็ ขีดสเกลหลัก
โครงของไมโครมิเตอร์ทำ�จากเหล็กคาร์ไบด์ซ่ึงมีความ ส�ำ หรับอ่านค่าจ�ำ นวนเต็มของไมโครมเิ ตอร์
แข็ง เพ่อื ลดการสึกหรอเมอื่ ใช้วดั ช้ินงาน 9. ขีดสเกลปลอกหมุนวัด (Thimble Scale) เปน็ ขีด
3. แกนวดั (Spindle) ทำ�หนา้ ทีเ่ ปน็ แกนเคล่ือนท่เี ข้า สเกลละเอยี ดอย่บู นปลอกหมุนวัด
วัดช้นิ งาน มลี ักษณะเปน็ เพลากลม สามารถหมุนเข้า-ออก 10. แหวนปรบั ความฝดื (Adjusting Nut) เปน็ แป้น
เพ่ือท�ำ การวัดขนาดช้ินงาน ทด่ี า้ นปลายจะทำ�จากเหลก็ เกลยี วอย่ดู า้ นในปลอกหมุนวัด ใช้สำ�หรับขันปรบั ให้
คาร์ไบด์เพ่ือลดการสึกหรอเช่นกนั ปลอกหมนุ วัดฝดื ขณะหมุนวดั ชน้ิ งาน เพื่อป้องกันปลอก
4. กา้ นล็อก (Spindle Clamp Assembly) ท�ำ หน้าที่ หมนุ วดั คลายออกขณะอา่ นคา่ วดั
ล็อกแกนวัดให้อยู่กับท่ีเพ่ือการอ่านค่าวัดมีลักษณะเป็น 11. หัวหมุนกระทบเล่ือน (Ratchet Stop) ทำ�หน้าที่
ก้านสามารถโยกไป-มา เพ่ือลอ็ กและคลายแกนวดั ใน ตัดแรงให้กับปลอกหมุนวัดในการเคล่ือนที่เข้าสัมผัสกับ
บางรนุ่ อาจทำ�เป็นแหวนล็อกกม็ ี ช้ินงาน ทุก ๆ ครั้งท่หี มุนวัดชนิ้ งาน เมือ่ แกนวัดใกลจ้ ะ
5. ปลอกสเกลหลัก (Sleeve) มีลักษณะเป็นกา้ น สัมผัสชิ้นงานควรหมุนที่หัวหมุนกระทบเลื่อนเข้าสัมผัส
ปลอกทรงกระบอก มีขดี สเกลหลักอยตู่ ลอดความยาว งานเบา ๆ เมื่อแกนวดั สมั ผัสช้ินงาน หัวหมนุ กระทบ
6. ปลอกหมุนวัด (Thimble) ท�ำ หน้าที่หมนุ เข้าวัด เลื่อนจะทำ�งานเสียงดังคลกิ ๆ กห็ ยดุ แลว้ อ่านค่าวัด
ชน้ิ งาน มีลักษณะเปน็ ปลอกทรงกระบอกสวมอยูก่ บั ก้าน

ไมโครมิเตอรว์ ัดนอกระบบเมตรกิ การอ่านค่าไมโครมิเตอร์ความละเอียด 0.01 มลิ ลเิ มตร 103
สำ�หรับท่ีปลอกสเกลหลักจะประกอบดว้ ย 3 สว่ น
ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกระบบเมตริก จะมีหน่วยเปน็ สำ�คญั ที่ผเู้ รยี นควรท�ำ ความเขา้ ใจก่อนอ่านค่า คือ
มลิ ลเิ มตร โดยทว่ั ไปคา่ ความละเอยี ดทนี่ ยิ มใช้ คอื 0.01 1. สเกลหลกั ช่องสเกลละ 1 มลิ ลิเมตร
มลิ ลเิ มตร และ 0.001 มิลลเิ มตร สำ�หรบั ไมโครมิเตอร์ 2. สเกลหลกั ขดี ละ 0.5 มลิ ลิเมตร
วัดนอกระบบเมตริกจะผลิตออกมาใช้งานในลักษณะ 3. เส้นอา้ งอิงอ่านค่าสเกลปลอกหมนุ วดั
เปน็ ขนาดชว่ ง ช่วงละ 25 มิลลิเมตร คือ ขนาดของ
ไมโครมเิ ตอรแ์ ตล่ ะตวั จะมขี นาดชว่ งวดั ตวั ละ 25 มลิ ลเิ มตร 1
ที่นิยมใช้งาน ได้แก่ ไมโครมิเตอร์ขนาดวัด 0–25 มม.
ไมโครมเิ ตอร์ขนาดวดั 25–50 มม. ไมโครมิเตอร์ขนาด 32
วดั 50–75 มม. และไมโครมเิ ตอรข์ นาดวดั 75–100 มม. รูปท่ี 4-7 สว่ นประกอบของปลอกสเกลหลกั
เปน็ ตน้ ค่าขนาดของสเกลหลกั บนปลอกสเกลหลักค่า
ไมโครมิเตอร์วดั นอกความละเอยี ด 0.01 มิลลิเมตร ของช่องสเกลหรือขีดสเกลที่อยู่บนเส้นอ้างอิงจะมีค่า
สำ�หรับไมโครมิเตอร์วัดนอกค่าความละเอียด ของช่องสเกล 1 ชอ่ งสเกล เทา่ กบั 1 มม. 2 ชอ่ งสเกล
0.01 มม. จะใช้ระยะพติ ช์ (Pitch) ของเกลียวแกนวดั มคี า่ เทา่ กับ 2 มม. 3 ชอ่ งสเกล มคี ่าเท่ากบั 3 มม. 4 ช่อง
เทา่ กับ 0.5 มม. นน่ั คอื เมอื่ หมนุ เกลียวแกนวดั ไป 1 รอบ สเกล มคี า่ เทา่ กับ 4 มม. 5 ชอ่ งสเกล มคี ่าเทา่ กบั 5 มม.
จะเคลือ่ นท่ีไป 0.5 มม. เมื่อหมุนเกลยี วแกนวัดไป 2 รอบ ซ่ึงจะมเี ลข 5 ก�ำ กบั ไว้ ทกุ ๆ ช่องสเกลทเ่ี พ่มิ ข้นึ 1 ชอ่ ง
แกนวดั ก็จะเคล่ือนที่ไป 1.00 มม. นั่นเอง จากนั้นจะ สเกล คา่ ขนาดก็จะเพ่มิ ขน้ึ 1 มม. เสมอไปจนครบระยะ
แบ่งสเกลรอบ ๆ ปลอกหมนุ วดั ออกเปน็ 50 ส่วน เม่ือ 25 ชอ่ งสเกล ซ่งึ กม็ ีขนาดเท่ากบั 25 มม. นน่ั เอง
หมุนปลอกหมุนวดั ไป 1 สว่ นสเกลปลอกหมนุ วดั ก็จะ
0ทเทท.��ำำ0่าใใ1กหหบั้แแ้ มกกม0นน..วว0ัดดั2ถเเ้าคคมหลลมม่อืือ่ .ุนนนสไททปว่ ี่่ีไไนปปท2ี่บ551น200สส่วเขนกขอลสองหเงกล0ลัก.0ป5ข.ล5ออมงกมไมมห.มโม.ซคนุ ง่ึรซวเมทัดึ่งเิ า่ตมกกอีคจ็ ับรา่ะ์ 3 มม.
จะแบ่งขดี สเกลไว้ 1 ช่องสเกลเท่ากับ 1 มม. และ 0.5 มม. 12 มมมม.. 54 มมมม..

ขีดสเกล = 0.5 มม. ขดี สเกล = 0.01 มม. เสน้ อ้างอิง 24.5 มม.
18.5 มม.
11.5 มม.
5.5 มม.
0.5 มม.

รูปที่ 4-6 ค่าขนาดขดี สเกล รูปท่ี 4-8 ค่าขนาดของสเกลหลกั

วดั ละเอยี ด

104 ส่วนทดี่ ้านล่างของเสน้ อา้ งองิ จะเป็นการแบง่ ขนาดของชอ่ งสเกลหลักที่ด้านบน ซึ่งคอื 1 ช่องสเกลหลกั
ดา้ นบนมคี า่ 1 มม. ขดี สเกลด้านลา่ งก็จะแบง่ คร่ึงชอ่ งสเกลด้านบนซ่งึ จะมคี า่ เท่ากับ 0.5 มม. สว่ นช่องสเกลท่ี 2 จะ
แบ่งครง่ึ ของช่องสเกลหลักดา้ นบนระหว่าง 1–2 มม. มคี า่ เท่ากบั 1.5 มม. ส่วนชอ่ งสเกลท่ี 3 แบ่งค่าชอ่ งสเกลหลกั
ด้านบนระหวา่ ง 2–3 มม. มีค่าเท่ากับ 2.5 มม. จะเป็นเช่นน้ีจนครบระยะ 25 มม. ของสเกลหลกั
สำ�หรับการอ่านค่าขนาดสเกล

ไมโครมิเตอร์ทมี่ ขี นาดมากกวา่ 25 มม. 0.05 มม.

ก็จะเปน็ ในลักษณะนเ้ี ดยี วกัน ซึง่ จะ 0.03 มม.
สงั เกตทข่ี นาดเรมิ่ ตน้ สเกลหลักก็จะ 0.01 มม.
มีเลขขนาดเริ่มตน้ ที่ 25 มลิ ลเิ มตร 0.49 มม.
ส�ำ หรบั ไมโครมเิ ตอรท์ ว่ี ดั ได้ 25–50 มม. 0.47 มม.
หรือขนาดเร่ิมต้นสเกลหลักจะเริ่มต้น 0.45 มม.

ที่ 50 มม. ในกรณีท่ีใช้ไมโครมิเตอร์
ขนาด 50–75 มม. เปน็ ต้น
รูปที่ 4-9 ค่าขนาดของสเกลบนปลอกหมนุ วดั

คา่ ขนาดของสเกลปลอกหมุนวัด ที่สเกลปลอกหมนุ วัด 1 ช่องสเกล มคี า่ เท่ากับ 0.01 มม. 2 ช่องสเกล มคี ่า
เทา่ กบั 0.02 มม. 3 ชอ่ งสเกล มคี า่ เท่ากับ 0.03 มม. 4 ชอ่ งสเกล มคี ่าเท่ากับ 0.04 มม. 5 ช่องสเกล มีค่าเทา่ กับ
0.05 มม. จะมเี ลข 5 กำ�กับไว้ ทกุ ชอ่ งสเกลท่ีเพ่ิมขน้ึ 1 ช่องสเกลจะมีค่าขนาดเพิ่มขึน้ 0.01 มม. เสมอ จะเปน็ เช่นนี้
ไปจนครบระยะ 50 ช่องสเกล ซง่ึ ก็จะมคี า่ เท่ากับ 0.50 มม.
การอ่านคา่ ขนาดวดั ของไมโครมิเตอรค์ วามละเอยี ด 0.01 มลิ ลิเมตร
สำ�หรับการอา่ นค่าขนาดวัดของไมโครมเิ ตอร์ มีวิธีการอ่านดงั ตอ่ ไปนี้
1. ดทู ่ีขอบของปลอกหมนุ วดั ว่าตรงกับขีดสเกลหลักใดถ้าตรงพอดีให้อา่ นค่านั้น (กรณที ่ีตรงพอดี ขีด 0
บนสเกลปลอกหมนุ วดั จะตรงกบั เส้นอ้างองิ เสมอ) แต่ถา้ ไมต่ รงให้อ่านขีดสเกลที่ขอบของปลอกหมุนวัดผ่าน มคี า่
เท่ากบั ก่มี ลิ ลเิ มตร แล้วนำ�ไปรวมกบั คา่ สเกลปลอกหมุนวดั ข้อท่ี 2
2. ดทู ่คี ่าของสเกลปลอกหมุนวัด ว่าขีดสเกลใดตรงกบั เสน้ อ้างองิ อ่านคา่ สเกลปลอกหมนุ วดั นนั้ แล้วนำ�ค่านัน้
ไปรวมกบั ข้อที่ 1 กจ็ ะเป็นค่าวัดทีอ่ า่ นไดจ้ ากไมโครมเิ ตอร์
ตัวอยา่ งการอา่ นค่า



 = 1.50 มม.  = 3.00 มม.
= 0.37 มม. = 0.16 มม.
1. ค่าสเกลหลัก = 1.87 มม. 1. คา่ สเกลหลกั = 3.16 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด 2. ค่าสเกลปลอกหมุนวัด

ค่าวดั ทอ่ี า่ นได้ คา่ วดั ท่อี ่านได้

105



 

1. ค่าสเกลหลัก = 4.00 มม. 1. คา่ สเกลหลัก = 7.50 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.19 มม. 2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.29 มม.
= 4.19 มม. = 7.79 มม.
คา่ วัดทอ่ี ่านได้ คา่ วัดทอ่ี า่ นได้



 

คา่ วดั ทอ่ี ่านได้ = 1.23 มม. คา่ วดั ท่อี ่านได้ = 6.00 มม.

ตัวอยา่ งการอา่ นคา่



 

1. คา่ สเกลหลัก = 6.00 มม. 1. ค่าสเกลหลกั = 17.50 มม.

2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วดั = 0.45 มม. 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.20 มม.

ค่าวัดทอ่ี า่ นได้ = 6.45 มม. คา่ วัดท่อี ่านได้ = 17.70 มม.

วดั ละเอียด
106

 

 

1. คา่ สเกลหลัก = 12.00 มม. 1. คา่ สเกลหลกั = 23.00 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.02 มม.
= 12.02 มม. 2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วัด = 0.13 มม.
คา่ วัดทอี่ ่านได้
คา่ วดั ทอ่ี า่ นได้ = 23.13 มม.



 

1. คา่ สเกลหลกั = 21.00 มม. 1. คา่ สเกลหลกั = 24.00 มม.

2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วดั = 0.40 มม. 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวดั = 0.09 มม.

คา่ วัดท่ีอ่านได้ = 21.40 มม. คา่ วดั ที่อ่านได้ = 24.09 มม.

ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกความละเอียด 0.001 มลิ ลิเมตร
สำ�หรบั ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอก ค่าความละเอยี ด 0.001 มม. จะใช้หลกั การเดียวกับไมโครมเิ ตอร์วดั นอก

ความละเอียด 0.01 มม. โดยใชร้ ะยะพติ ช์ (Pitch) ของเกลยี วแกนวดั เทา่ กับ 0.5 มม. นนั่ คือเมอ่ื หมนุ เกลยี ว

แกนวดั ไป 1 รอบ จะเคลือ่ นท่ีไป 0.5 มม. เม่อื หมุนเกลียวแกนวดั ไป 2 รอบ แกนวัดก็จะเคลื่อนที่ไป 1.00 มม.

วหแนดับมั่นกนุ่งเอ็จขวงะดีัดทสจ�ำกเากใจ็กหละนแ้ ไท้ันวกำ�้จนใ1ะหวแ้แัดชบกเ่อคง่นงลสสวอ่ืเัดเกกนเลคลทรลเ่ีไอทปือ่ บา่ นก5ท2ๆับ0่ีไปป0ข.ลอ55อ1ง0มก0หมข.5.มอนุแมงวตมัดจ่0.อ.ะ5ซมอึง่ สีกมมว่เมคีปน.า่ ็นทเซทเ่ี ง่ึ5พา่ เ0มิ่กทมับ่าสากว่ 0จบัน.า0ก20เไม.0มมือ่ 1โมหค.มมรสมนุม่วเิป.นตลถอทอา้ รี่บหกว์ นหมัดสมนุนเุนไกอปวลก ัดหคไ2ลวปาักสมขว่ ล1อนะงสสเไอมเ่วกยีโนลคดสปรเม0ลก.เิอล0ตกป1อหลรมมอ์จมุนกะ.
ก็คอื ขีดสเกลละเอียด ซ่งึ ในบางตำ�ราอาจเรียกว่า สเกลชว่ ย จะขนานกับเสน้ อ้างองิ บนปลอกสเกลหลกั มที ้ังหมด
10 ชอ่ งสเกล แตล่ ะชอ่ งสเกลหรอื ขดี สเกลมีคา่ เทา่ กบั 0.001 มม.

เส้นอ้างองิ คา่ ขนาดของสเกลปลอกหมุนวัด ที่สเกลปลอก 107
หมนุ วัด 1 ชอ่ งสเกล มคี ่าเท่ากบั 0.01 มม. 2 ชอ่ งสเกล

มคี า่ เท่ากบั 0.02 มม. 3 ชอ่ งสเกล มคี ่าเทา่ กบั 0.03 มม.

4 ชอ่ งสเกล มีค่าเทา่ กับ 0.04 มม. 5 ช่องสเกลจะมี

คา่ เท่ากับ 0.05 มม. จะมเี ลข 5 ก�ำ กับไว้ ทุกชอ่ งสเกล

ท่เี พมิ่ ข้ึน 1 ช่องสเกลจะมีคา่ ขนาดเพิ่มขึน้ 0.01 มม.

ขีดสเกลหลัก 0.5 มม. เสมอ จะเปน็ เชน่ นี้ไปจนครบระยะ 50 ชอ่ งสเกล กจ็ ะมี
คา่ เทา่ กบั 0.50 มม. น่นั เอง
ขีดสเกลละเอยี ด 0.001 มม.
0.01 มม.
รปู ท่ี 4-10 สเกลหลัก 0.050ม.0ม3. มม.

ค่าขนาดของสเกลหลกั ท่ีช่องสเกลหลัก ค่าของ
ช่องสเกลหรือขีดสเกลท่ีอยู่ด้านล่างของเส้นอ้างอิงนั้น

1 ช่องสเกล มคี า่ เท่ากบั 0.5 มม. 2 ช่องสเกล มีค่าเทา่ กบั

1 มม. 3 ช่องสเกล มคี า่ เท่ากับ 1.5 มม. 4 ช่องสเกล

มคี ่าเท่ากับ 2 มม. 10 ชอ่ งสเกล มีค่าเทา่ กับ 5 มม. 0.45 มม.
และจะมีเลข 5 กำ�กบั ไว้ ทกุ ช่องสเกลทเ่ี พิ่มขึ้น 1 ช่อง 0.48 มม.
สเกล ค่าของขนาดก็จะเพ่มิ ข้นึ 0.5 มม. เสมอ ไปจน
ครบ 25 มม. รูปที่ 4-11 ขนาดสเกลปลอกหมนุ วดั

ส่วนท่ีด้านบนของเส้นอ้างอิงอ่านค่าสเกลปลอก การอ่านค่าขนาดวัดของไมโครมิเตอร์ ความ
หมุนวัด จะเปน็ ขดี สเกลค่าละเอยี ด 0.001 มม. ของ ละเอียด 0.001 มิลลเิ มตร
ไมโครมเิ ตอรช์ นิดน้ี โดยจะมีขดี สเกล 10 ขีด ขีดที่ 1 สำ�หรับการอ่านค่าขนาดวัดของไมโครมิเตอร์
มีคา่ เท่ากับ 0.001 มม. ขดี ที่ 2 มคี า่ เทา่ กบั 0.002 มม. สามารถท�ำ การอ่านคา่ ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี
และจะมีเลข 2 ก�ำ กบั ไว้ ขดี ท่ี 3 มคี า่ เทา่ กับ 0.003 มม. 1. ดูที่ขอบของปลอกหมุนวัดว่าตรงกับขีดสเกล
ขีดที่ 4 มีคา่ เท่ากับ 0.004 มม. และจะมีเลข 4 กำ�กบั หลักใด ถ้าตรงพอดีใหอ้ า่ นคา่ นั้น (กรณีท่ตี รงพอดี ขดี
ไว้ ขีดที่ 5 มีค่าเทา่ กบั 0.005 มม. ขีดที่ 6 มีค่าเท่ากับ 0 บนสเกลปลอกหมนุ วัดจะตรงกับเส้นอ้างองิ เสมอ) แต่
0.006 มม. และจะมเี ลข 6 กำ�กับไว้ ขดี ท่ี 7 มีคา่ เทา่ กับ ถ้าไม่ตรงให้อ่านขีดสเกลท่ีขอบของปลอกหมุนวัดผ่าน
0.007 มม. ขดี ที่ 8 มคี ่าเทา่ กับ 0.008 มม. และจะมี มคี ่าเท่ากบั กม่ี ิลลิเมตร แล้วนำ�ไปรวมกบั คา่ สเกลปลอก
เลข 8 ก�ำ กบั ไว้ ขีดที่ 9 มีคา่ เทา่ กบั 0.009 มม. ขีดท่ี หมุนวดั ตามข้อท่ี 2
10 มคี ่าเท่ากับ 0.010 มม. และจะมีเลข 0 กำ�กับไว้ ใน 2. ดูท่ีค่าของสเกลปลอกหมุนวัดว่าขีดใดตรงกับ
การอ่านค่าดูทข่ี ีดสเกลละเอยี ด ซึง่ หากขดี ท่ี 1 ตรงกับ เสน้ อา้ งองิ ถา้ ตรงพอดีใหน้ �ำ คา่ นน้ั ไปรวมกบั ขอ้ ท่ี 1 แต่
ขีดใดบนสเกลเล่ือนท่ปี ลอกหมนุ วดั กอ็ ่านค่าได้ 0.001 มม. ถ้าหากไม่ตรง  ให้อ่านขีดสเกลท่ีเส้นอ้างอิงผ่านเลยมา
หากขดี ท่ี 2 ตรงกบั ขดี ใดบนสเกลเลอื่ นท่ปี ลอกหมุนวดั น�ำ ไปรวมกบั ขอ้ ท่ี 1 แลว้ ไปอา่ นคา่ สเกลละเอยี ดตามขอ้ ท่ี 3
จะอา่ นค่าได้ 0.002 มม. หากขดี ที่ 3 ตรงกบั ขีดใดบน 3. อา่ นคา่ ของสเกลละเอียด 0.001 มม. บน
สเกลเลื่อนท่ปี ลอกหมุนวัดจะอา่ นคา่ ได้ 0.003 มม. ปลอกสเกลหลกั ว่าขดี ใดไปตรงกับขีดสเกลปลอกหมนุ วัด
จะเปน็ เชน่ นี้ไปจนครบ 10 ขดี สเกล
แลว้ นำ�ค่าไปรวมกับข้อที่ 1 และข้อที่ 2

วดั ละเอยี ด 1. คา่ สเกลหลัก = 2.000 มม.
108 ตัวอย่างการอ่านคา่
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.360 มม.

 3. ค่าสเกลละเอียด = 0.004 มม.

คา่ วดั ท่อี า่ นได้ = 2.364 มม.
ตวั อย่างการอ่านค่า
ชวนคิด

ไมโครมิเตอร์ความละเอยี ด 0.001 มิลลิเมตร กบั
 ความละเอยี ด 0.0001 น้ิว สเกลใดละเอยี ดกว่ากนั

 1. ค่าสเกลหลกั = 4.000 มม.

2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วดั = 0.260 มม.

  3. ค่าสเกลละเอยี ด = 0.005 มม.

คา่ วดั ทอี่ า่ นได้ = 4.265 มม.

1. ค่าสเกลหลัก = 9.000 มม.

2. ค่าสเกลปลอกหมุนวดั = 0.170 มม.
 3. คา่ สเกลละเอยี ด
= 0.003 มม.

คา่ วดั ทีอ่ า่ นได้ = 9.173 มม.

1. ค่าสเกลหลัก = 10.500 มม.

2. คา่ สเกลปลอกหมุนวดั = 0.310 มม.
 3. ค่าสเกลละเอียด
= 0.004 มม.

ค่าวดั ทอี่ ่านได้ = 10.814 มม.

ไมโครมิเตอรว์ ดั นอกระบบอังกฤษ 109

มแลาปะรไะ0มก.0โอค0บร0ไม1ดเิ ต้ซนอง่ึ ้วิ จระ์ร(ทะ1บำ�0ใบห,10อ้ผ0ังู้เ0กรฤียนษนว้ิ จเ)กะดิผมคู้เีหรวนียาว่นมยสเเขาปา้ม็นใาจนรไิว้ถดใง้ ช่าโ้คยดวขยาน้ึทมวั่ รไู้เสปด�ำ คิมห่าจรคาบั วกไากมมาโลคระอรเมา่ อนิเยีตคดอา่ ทรเวว์ี่ใชอดั ้อรน์เยอนู่กียครรือะค์ บว0บา.อ0ม0งัลก1ะฤเอนษยีิ้วจดะ(ผ10ล,.ิต001อ0001อกนนมิ้ว้ิวา)
ใช้งานเปน็ ช่วงขนาดวดั ทน่ี ิยมใช้งาน ไดแ้ ก่ ขนาด 0–1 นว้ิ 1–2 นิ้ว 2–3 นว้ิ 3–4 นิว้ เปน็ ตน้
ส�ำ หรบั ไมโครมิเตอร์ความละเอยี ด 0.001 นิว้ จะใช้ระยะพิตช์ของเกลียวแกนวัดเทา่ กบั 0.025 นว้ิ น่ันคอื เมอื่

หมุนเกลยี วแกนวดั ไป 1 รอบ จะเคลือ่ นท่ีไป 0.025 นิว้ เม่อื หมุนเกลยี วแกนวดั ไป 2 รอบ กจ็ ะเคลือ่ นท่ีไป 0.050

นว้ิ นั่นเอง 1จาชกอ่นงัน้ สจเะกไลปแกบจ็ ่งะรทอำ�บให้แๆกสนเวกัดลเคเลลอื่ ่อื นนทท่ีบ่ีไนปป2ล15อกขหอมงุน0ว.ัด0อ2อ5กนเป้วิ น็ ซง่ึ 2ก5็คอืช่อ0ง.0ส0เก1ลน้วิเม่อื หมุนปลอกหมุนวดั
เคลอื่ นท่ีไป

ไมโครมิเตอรร์ ะบบอังกฤษ ความละเอียด 0.001 นิว้ ( 1 นว้ิ )
1,000
สำ�หรบั การอา่ นคา่ สเกลหลกั บนปลอกสเกลหลกั จะประกอบด้วย สว่ นส�ำ คัญ คอื

1. สเกลหลักช่องสเกลละ 0.025 นว้ิ

2. เส้นอ้างองิ อ่านคา่ สเกลปลอกหมนุ วดั

0.050 น้ิว
0.100 น้ิว

0.150 นิว้

เส้นอ้างอิง

0.125 นวิ้
0.075 นว้ิ
0.025 น้วิ

รูปท่ี 4-12 สเกลหลักไมโครมเิ ตอร์ 0.001 นิ้ว

ค่าขนาดช่องสเกลหลัก ส�ำ หรบั คา่ ขนาดของชอ่ งสเกลหรอื ขดี สเกล 1 ช่องสเกล มคี ่าเทา่ กบั 0.025 นิ้ว
2 ชอ่ งสเกล มคี ่าเทา่ กับ 0.050 นิว้ 3 ช่องสเกล มคี า่ เท่ากบั 0.075 นิ้ว 4 ชอ่ งสเกล มีค่าเทา่ กับ 0.100 นิว้ และ
จะมีเลข 1 กำ�กับไว้ให้ง่ายต่อการสังเกต การอา่ นค่าสเกล ทกุ ๆ ช่องสเกลท่ีเพมิ่ ข้นึ 1 ชอ่ งสเกล จะมขี นาดเพม่ิ ขึ้น
0.025 นิ้วเสมอ จะเปน็ เช่นนี้ไปจนครบระยะ 1 นวิ้ ซึ่งหากผ้เู รียนสงั เกตจะเหมือนกบั ค่าสเกลหลักของเวอร์เนยี ร์
คาลปิ เปอรค์ วามละเอยี ด 0.001

วดั ละเอียด

110 ส�ำ หรับการอา่ นค่าของไมโครมิเตอร์ท่มี ีขนาดมากกว่า 1 น้ิว กจ็ ะอ่านในลกั ษณะเดยี วกนั ผ้อู า่ นควรสังเกต
ขนาดเริ่มตน้ สเกลหลัก จะมีขนาดเริ่มท่ี 1 นว้ิ ส�ำ หรบั ไมโครมเิ ตอรท์ ว่ี ัด 1–2 นว้ิ ในกรณีท่ีไมโครมิเตอรข์ นาด 2–3 น้วิ
กจ็ ะมีขนาดเริม่ ต้นสเกลหลักท่ี 2 นิ้ว

0.003 นว้ิ

0.002 นิว้

0.001 นิ้ว

0.024 น้ิว

0.023 น้วิ

รูปที่ 4-13 สเกลปลอกหมุนวดั ไมโครมิเตอร์ 0.001 นว้ิ

ค่าขนาดสเกลปลอกหมนุ วัด สำ�หรับทส่ี เกลปลอกหมนุ วดั 1 ช่องสเกล มคี ่าเท่ากับ 0.001 น้วิ และจะมีเลข 1
กำ�กบั อยู่ 2 ชอ่ งสเกล มคี า่ เท่ากับ 0.002 นวิ้ และจะมีเลข 2 ก�ำ กับอยู่ 3 ชอ่ งสเกล มคี ่าเท่ากบั 0.003 นิว้ มีเลข
3 ก�ำ กับอยู่ 4 ช่องสเกล มีคา่ เท่ากบั 0.004 มเี ลข 4 กำ�กบั อยู่ 5 ช่องสเกล มีคา่ เทา่ กบั 0.005 นิว้ และจะมเี ลข 5
ตวั หนาก�ำ กบั อยู่เพอ่ื เพ่ิมจดุ สงั เกต และทกุ ๆ ชอ่ งสเกลทีเ่ พม่ิ ข้นึ 1 ช่องสเกล คา่ ขนาดก็จะเพ่มิ ขนึ้ 0.001 นิว้ เสมอ
จะเปน็ เช่นนี้ไปจนครบระยะ 25 ช่องสเกลเล่ือนบนปลอกหมุนวัด ซึ่งจะมีค่าเทา่ กบั 0.025 นิ้วนนั่ เอง
การอ่านคา่ ขนาดวัดของไมโครมเิ ตอร์ ความละเอยี ด 0.001 น้วิ
สำ�หรับการอา่ นค่าขนาดวัดของไมโครมเิ ตอร์ ความละเอยี ด 0.001 น้ิว มีวิธีการอ่านดังต่อไปน้ี
1. ดทู ่ีขอบของปลอกหมนุ วดั วา่ ตรงกับขดี สเกลหลักใด ถา้ ตรงพอดีให้อ่านคา่ น้นั (กรณีที่ตรงพอดี ขีด 0 บน
สเกลปลอกหมนุ วดั จะตรงกบั เส้นอ้างอิงเสมอ) แต่ถา้ ไม่ตรงใหอ้ า่ นค่าขีดสเกลท่ขี อบของปลอกหมนุ วัดผ่านวา่ มีค่า
เท่ากับกนี่ ้ิว แลว้ นำ�ไปรวมกับคา่ สเกลปลอกหมนุ วดั ตามข้อท่ี 2
2. ดูทคี่ ่าของสเกลปลอกหมนุ วัด ว่าขีดสเกลใดตรงกบั เสน้ อ้างองิ อ่านค่าสเกลปลอกหมนุ วดั แล้วนำ�คา่ นัน้
ไปรวมกับคา่ สเกลหลกั ตามข้อที่ 1 ก็จะได้ค่าวัดจากไมโครมิเตอร์

1. คา่ สเกลหลัก = 0.300 นิว้

 2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วัด = 0.004 นิว้

ค่าวัดท่อี ่านได้ = 0.304 นิ้ว



ตวั อย่างการอา่ นค่า 111

 

 

1. ค่าสเกลหลกั = 0.325 นิ้ว 1. คา่ สเกลหลัก = 0.575 นิ้ว
2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วัด = 0.021 นวิ้ 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.015 นว้ิ
= 0.346 นว้ิ = 0.590 นว้ิ
คา่ วัดทอ่ี า่ นได้ ค่าวัดทอ่ี ่านได้



 

1. ค่าสเกลหลกั = 0.650 นิ้ว 1. ค่าสเกลหลกั = 0.775 นว้ิ
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.016 นิว้ 2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วัด = 0.013 นิ้ว
= 0.666 น้วิ = 0.788 น้ิว
คา่ วัดทอี่ า่ นได้ ค่าวดั ทีอ่ า่ นได้



 

1. ค่าสเกลหลกั = 0.850 นว้ิ 1. คา่ สเกลหลกั = 0.925 นิ้ว
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.005 น้วิ 2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.011 น้วิ
= 0.855 นิ้ว = 0.936 นวิ้
คา่ วดั ท่ีอา่ นได้ คา่ วัดที่อา่ นได้

วดั ละเอียด

112 ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอกระบบองั กฤษ ความละเอยี ด 0.0001 นิว้ ( 10,1000 ) นวิ้
สำ�หรบั ไมโครมเิ ตอร์ความละเอยี ด 0.0001 นว้ิ จะใชห้ ลักการของไมโครมเิ ตอร์ความละเอียด 0.001 น้ิว แต่

จะเพม่ิ สเกลละเอียด 0.0001 น้ิว บนปลอกสเกลหลกั ขึ้นมาเท่าน้นั คล้ายกบั หลกั การไมโครมเิ ตอรค์ วามละเอยี ด

0.001 มิลลิเมตรนน่ั เอง
ค่าขนาดชอ่ งสเกลหลัก ส�ำ หรบั ค่าช่องสเกลหรือขีดสเกลหลกั จะเหมอื นกบั ไมโครมเิ ตอร์ ความละเอยี ด
0.001 นิว้ ทุกประการ คือ 1 ช่องสเกล จะมีค่าเทา่ กับ 0.025 น้ิว 2 ชอ่ งสเกล มคี ่าเทา่ กับ 0.050 นว้ิ แตจ่ ะมีสว่ น

ท่เี พ่มิ มา คอื สเกลละเอียดที่ปลอกสเกลหลกั 10 ขดี สเกล 1 ชอ่ งสเกล มคี า่ เท่ากบั 0.0001 น้วิ 2 ชอ่ งสเกล มีค่า

เท่ากบั 0.0002 น้ิว 3 ช่องสเกล มีค่าเทา่ กบั 0.0003 นิว้ เปน็ เช่นน้ีไปจนครบ 10 ขีดสเกล ซง่ึ จะมคี า่ เท่ากบั

0.0010 นิ้ว น่ันเอง

สเกลละเอยี ด 0.050 นิว้
0.100 นวิ้

0.150 นิว้

ขดี สเกล 0.0002 น้ิว
ขดี สเกล 0.0001 นว้ิ

เสน้ อา้ งอิง

0.125 นิ้ว
0.075 น้วิ
0.025 นิว้

รปู ท่ี 4-14 คา่ สเกลหลกั และสเกลละเอียด

ค่าขนาดสเกลปลอกหมุนวดั ส�ำ หรบั ท่สี เกลปลอกหมนุ วดั 1 ช่องสเกล มีคา่ เทา่ กับ 0.001 นว้ิ และจะมีเลข 1
กำ�กบั อยู่ 2 ช่องสเกล จะมคี า่ เท่ากบั 0.002 นวิ้ และจะมเี ลข 2 ก�ำ กบั อยู่ 3 ช่องสเกล มีคา่ เท่ากับ 0.003 น้วิ
จะมีเลข 3 ก�ำ กับอยู่ 4 ช่องสเกล มคี า่ เท่ากบั 0.004 จะมเี ลข 4 ก�ำ กบั อยู่ 5 ช่องสเกล มีคา่ เทา่ กบั 0.005 นิว้
และจะมเี ลข 5 ตัวหนาก�ำ กับอยเู่ พ่ือเพ่ิมจุดสังเกต และทกุ ๆ ช่องสเกลทเี่ พมิ่ ขน้ึ 1 ช่องสเกล คา่ ขนาดก็จะเพิ่มขึน้
0.001 นว้ิ เสมอ เป็นเชน่ น้ีไปจนครบ 25 ช่องสเกลปลอกหมนุ วัด ซ่งึ มคี ่าเทา่ กบั 0.025 นิ้วน่นั เอง

0.005 น้ิว
0.004 น้วิ

0.003 นว้ิ

0.002 นิ้ว
0.001 นิ้ว

รปู ที่ 4-15 ค่าสเกลปลอกหมุนวัด

การอา่ นค่าไมโครมเิ ตอร์ความละเอยี ด 0.0001 นิว้ (10,1000) นิว้ 113

ส�ำ หรบั การอา่ นค่าขนาดวัดของไมโครมเิ ตอรค์ วามละเอยี ด 0.0001 นว้ิ มีลกั ษณะการอา่ นคลา้ ยกับ

ไมโครมิเตอร์ความละเอียด 0.001 น้ิว จะมสี ่วนท่ีเพิม่ มาในการอา่ นไมโครมเิ ตอร์ชนดิ นี้ คอื ขนั้ ตอนการอา่ นสเกล

ละเอียด 0.0001 นว้ิ ซง่ึ การอา่ นค่าไมโครมเิ ตอร์ความละเอยี ด 0.0001 น้วิ มวี ธิ ีการดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ดูที่ขอบของปลอกหมุนวัดวา่ ตรงกับขดี สเกลหลกั ใด ถา้ ตรงพอดีใหอ้ า่ นค่าน้ัน (กรณที ี่ตรงพอดี ขดี 0 บน

สเกลปลอกหมุนวดั จะตรงกบั เสน้ อ้างอิงเสมอ) แต่ถ้าไม่ตรงใหอ้ า่ นคา่ ขีดสเกลท่ีขอบของปลอกหมุนวัดผา่ นวา่ มคี ่า

เทา่ กบั กีน่ ้ิว แลว้ นำ�ไปรวมกบั คา่ สเกลปลอกหมนุ วัดตามข้อที่ 2

2. ดวู า่ ขีดใดบนสเกลปลอกหมนุ วัดตรงกับเส้นอา้ งองิ พอดีให้อา่ นคา่ น้นั แล้วนำ�ไปรวมกบั ขอ้ ที่ 1 แต่ถา้ ไมต่ รง

ให้อ่านคา่ ขีดสเกลปลอกหมนุ วัดทีเ่ สน้ อ้างอิงผ่าน น�ำ ไปรวมกับขอ้ ที่ 1 และขอ้ ท่ี 3

3. ดทู สี่ เกลละเอียด 0.0001 น้ิว บนปลอกสเกลหลักวา่ ขีดใดตรงกบั สเกลปลอกหมนุ วัด อา่ นค่าแล้วน�ำ ไป

รวมกับข้อที่ 1 และข้อท่ี 2

ตัวอยา่ งการอ่านค่าวดั



1. คา่ สเกลหลัก = 0.050 นว้ิ

2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.010 น้ิว

 3. คา่ สเกลละเอยี ด = 0.0002 นิ้ว

ค่าวดั ที่อ่านได้ = 0.0602 นิว้


 1. ค่าสเกลหลกั = 0.375 นิ้ว

 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.013 นว้ิ

 3. คา่ สเกลละเอียด = 0.0008 น้วิ
ค่าวัดทอ่ี ่านได้ = 0.3888 นิ้ว

วดั ละเอียด 1. คา่ สเกลหลกั = 0.850 น้ิว
2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วัด = 0.015 น้ิว
114 3. ค่าสเกลละเอยี ด = 0.0004 นิว้
= 0.8654 นว้ิ
 ค่าวัดทอี่ ่านได้





การใชง้ านไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอก

กรณชี ้นิ งานเคล่อื นท่ีได้
การใช้งานไมโครมิเตอร์วัดนอกวัดขนาดชิ้นงานท่ี
เคล่อื นท่ีได้ ใช้มือซา้ ยจบั ชิ้นงานใหม้ น่ั คง แลว้ ใชม้ ือขวา
จับยดึ ไมโครมเิ ตอร์ไว้ในอุ้งมอื สอดนว้ิ กอ้ ยหรือน้วิ นาง
ตามถนดั เขา้ ไปยดึ บรเิ วณโครงของไมโครมเิ ตอร์ไว้ จากนน้ั
ใช้น้ิวหัวแม่มือกับนิ้วช้ีหมุนปลอกหมุนวัดและหัวหมุน
กระทบเข้าไปสัมผสั กบั ชิ้นงานทต่ี อ้ งการวดั ขนาด

กรณีใชร้ ว่ มกับอปุ กรณจ์ บั ยดึ ไมโครมิเตอร์ รปู ที่ 4-16 การใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ัดนอกวัดขนาดชิน้ งานท่ี
การใช้งานไมโครมิเตอร์วัดนอกวัดขนาดชิ้นงาน เคลื่อนท่ีได้
ทเ่ี คลอื่ นท่ีไดร้ ว่ มกบั อปุ กรณจ์ บั ยดึ ไมโครมเิ ตอร์ สามารถ
กระทำ�ได้โดยใชม้ ือซ้ายจบั ยดึ ช้นิ งานให้มั่นคง น�ำ ช้ินงาน รปู ท่ี 4-17 การใช้ไมโครมิเตอร์วดั นอกวดั ขนาดช้นิ งาน
เข้าไปวางระหว่างแกนรับและแกนวัดของไมโครมิเตอร์ ร่วมกบั อปุ กรณ์จับยึด
ใช้น้ิวหัวแม่มือและน้ิวชี้หมุนปลอกหมุนวัดเคลื่อนที่
เข้าไปวัดช้ินงานจนใกลจ้ ะสมั ผัสช้ินงาน จากนน้ั ใหห้ มนุ ท่ี
หัวหมุนกระทบเลอื่ นสมั ผัสชน้ิ งานเบา ๆ จนไดย้ นิ เสยี ง
หวั หมนุ กระทบดังคลกิ ๆ จงึ หยดุ หมุนท�ำ การล็อกปลอก
หมุนวัดโดยโยกก้านล็อกตามเข็มนาฬิกาแล้วทำ�การ
อา่ นค่าวัด

กรณีช้นิ งานอยกู่ บั ท่ี 115
การใช้งานไมโครมิเตอร์วัดนอกวัดช้ินงานที่อยู่กับ

ทแี่ ละไมส่ ามารถน�ำ ออกมาวดั ดา้ นนอกได้ เชน่ ช้ินงาน

ทถ่ี ูกจับยึดบนเคร่ืองจักร ชิ้นงานที่กำ�ลังทำ�การกลงึ

ลดขนาดบนเครอื่ งกลึง ให้ใช้มือซ้ายจับยดึ บรเิ วณโครง

ของไมโครมิเตอร์แล้วใช้น้ิวหัวแม่มือกับนิ้วชี้หมุนปลอก

หมนุ วัดเคลือ่ นท่เี ขา้ ไปวัดขนาดชิ้นงาน เม่ือใกลจ้ ะสัมผสั

ช้ินงานให้หมุนท่ีหัวหมุนกระทบเล่ือนเข้าสัมผัสงาน รปู ท่ี 4-20 การใชแ้ ทง่ มาตรฐานตรวจสอบศนู ยไ์ มโครมเิ ตอร์

เบา ๆ แล้วท�ำ การอ่านคา่ วัด

ส่วนในกรณที ่ีไมโครมเิ ตอร์ทม่ี ขี นาดมากกวา่ 0–25
รูปที่ 4-18 การใชไ้ มโครมิเตอรว์ ัดนอกวัดชน้ิ งานทอี่ ยกู่ บั ที่ มม. หรอื 0–1 นวิ้ ใหใ้ ช้แทง่ ขนาดมาตรฐานทบี่ รษิ ัท
ผู้ผลิตให้มาไปเป็นขนาดอ้างอิงในการปรับศูนย์หรือใช้
เกจเหลีย่ มแทนกไ็ ด้ เร่ิมตน้ โดยน�ำ แท่งขนาดมาตรฐาน
เขา้ ไปไว้ระหว่างแกนรับกับแกนวดั จากนัน้ หมุนแกนวดั
เคลื่อนท่ีเข้าไปสมั ผัสแท่งขนาดมาตรฐาน จากน้ันดูทข่ี ีด
ศูนย์สเกลปลอกหมนุ วดั ตรงกบั เสน้ อา้ งอิงหรือไม่ ถา้
ไมต่ รงก็ปรับให้ตรง

การตรวจสอบศูนย์ไมโครมเิ ตอร์

สำ�หรับการตรวจสอบความถูกต้องของศูนย์ ไมโครมิเตอรแ์ บบแสดงผลเปน็
ไมโครมิเตอร์ เชน่ ไมโครมิเตอร์ขนาด 0–25 นว้ิ หรอื ตวั เลข (Digimatic Micrometer)
0–1 น้ิว ให้ท�ำ ความสะอาดแกนรบั และแกนวดั แล้วหมุน

แกนวัดเขา้ ไปจนสมั ผัสแกนรับ โดยให้หมนุ ทห่ี วั หมนุ ไมโครมิเตอร์แบบน้ีสามารถแสดงผลการวัดเป็น
กระทบเบา ๆ ดูที่ตำ�แหน่งขดี ศนู ย์สเกลปลอกหมุนวดั ตัวเลขโดยอัตโนมตั ิ ผู้ใชง้ านเพียงทำ�การวดั ขนาดชนิ้ งาน
ตรงกบั เส้นอ้างอิงหรอื ไม่ ท�ำ ซ้�ำ ประมาณ 2-3 คร้ัง ถา้ ตามหลักการก็จะได้ขนาดวัดแสดงผลเป็นตัวเลขทันที
ทำ�ให้ปัจจุบันไมโครมิเตอร์แบบน้ี ได้รับความนิยม
ไมต่ รงให้ใช้ประแจปรับให้ตรงดังรปู ที่ 4–19
ใช้งาน อยา่ งแพรห่ ลายในอุตสาหกรรมวัดละเอยี ดและ

สอ่ื ความหมายกนั ในชอื่ ของ “ไมโครมเิ ตอรแ์ บบดจิ ติ อล” ซง่ึ

ผลิตออกมาใช้งานท้ังไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบดิจิตอล

ไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบดิจิตอล และไมโครมิเตอรว์ ัดลกึ

แบบดจิ ติ อล ซึง่ ครอบคลุมขนาดชว่ งการวดั เหมือนกับ

ไมโครมิเตอร์แบบสเกล มีใหเ้ ลอื กใชห้ ลากหลายรุ่นและ

ความละเอียด หากเป็นรุ่นทัว่ ไปส�ำ หรบั ระบบเมตรกิ ก็

รูปที่ 4-19 การปรับศูนยไ์ มโครมเิ ตอร์ จะสามารถให้คา่ วัดได้ละเอยี ดถงึ 0.001 มิลลิเมตร หาก

เป็นระบบอังกฤษจะให้ค่าวัดไดล้ ะเอยี ดถงึ 0.00005 นวิ้

วดั ละเอยี ด

116 ในบางรุ่นสามารถแสดงผลการวัดท้ังระบบเมตริกและ
ระบบอังกฤษเพียงเลือกฟังก์ชันการใช้งานว่าต้องการ
ให้แสดงผลการวัดเป็นระบบใดและยังมีแบบกันนำ้�
อกี ดว้ ย

รูปที่ 4-21 ไมโครมเิ ตอร์วดั นอกแบบดจิ ติ อล

รูปที่ 4-22 ไมโครมิเตอรว์ ดั ในแบบดจิ ิตอล รูปท่ี 4-23 ไมโครมิเตอร์วัดลกึ แบบดิจติ อล

ไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบดิจิตอล (Digital Micrometer)

2 34 5 67

18
9
10
11

รปู ท่ี 4-24 สว่ นประกอบของไมโครมิเตอรว์ ดั นอกแบบดจิ ิตอล
สว่ นประกอบของไมโครมิเตอร์วดั นอกแบบดจิ ติ อล
1. โครง (Frame) เปน็ ชิ้นสว่ นหลักของไมโครมเิ ตอรส์ �ำ หรับยดึ ช้นิ สว่ นต่าง ๆ เข้าด้วยกนั ที่โครงจะมีขนาด
ช่วงวดั และค่าความละเอยี ดของไมโครมเิ ตอร์แสดงไวด้ ้วย เชน่ ชว่ งวดั 0-25 มม. คา่ ความละเอยี ด 0.001 มม.
2. แกนรบั (Fixed Anvil) ทำ�หน้าทรี่ องรับชิ้นงานเพื่อทำ�การวัดขนาด มลี ักษณะเป็นเพลากลมยดึ อยกู่ บั
โครงของไมโครมิเตอร์ ทำ�จากเหลก็ คาร์ไบดซ์ งึ่ มคี วามแข็ง เพือ่ ลดการสึกหรอเม่ือใช้วดั ชน้ิ งาน

3. แกนวดั (Spindle) ท�ำ หน้าทีเ่ ปน็ แกนเคลอ่ื นที่เขา้ วัดช้นิ งาน มีลกั ษณะเป็นเพลากลม สามารถหมนุ 117
เข้า–ออก เพื่อท�ำ การวดั ขนาดช้ินงาน ทด่ี ้านปลายจะท�ำ จากเหล็กคาร์ไบดเ์ พอ่ื ลดการสึกหรอเชน่ กัน
4. ก้านลอ็ ก (Spindle Clamp Assembly) ท�ำ หนา้ ท่ลี ็อกแกนวดั ใหอ้ ยู่กบั ท่ี เพ่ือการอา่ นคา่ วัดมลี ักษณะ
เป็นก้าน สามารถโยกไป–มา เพอื่ ล็อกและคลายแกนวัด ในบางรนุ่ อาจทำ�เปน็ แหวนล็อกก็มี
5. ปลอกสเกลหลัก (Sleeve) มีลักษณะเป็นกา้ นปลอกทรงกระบอก มขี ีดสเกลหลกั อยู่ตลอดความยาว
ถงึ แมว้ า่ ไมโครมเิ ตอรแ์ บบน้ีจะแสดงค่าวัดให้โดยอัตโนมตั แิ ต่ผู้ใชง้ านสามารถอ่านคา่ จากขีดสเกลไดเ้ ช่นกัน
6. ปลอกหมนุ วัด (Thimble) ท�ำ หน้าท่หี มนุ เข้าวัดชิน้ งาน มีลักษณะเป็นปลอกทรงกระบอกสวมอย่กู ับก้าน
ปลอกสเกลหลกั ทีก่ ้านปลายจะมีขีดสเกลอยู่รอบ ๆ เพือ่ อา่ นค่าละเอยี ดของไมโครมเิ ตอร์
7. หวั หมนุ กระทบเล่อื น (Ratchet Stop) ทำ�หนา้ ที่ตดั แรงใหก้ ับปลอกหมุนวดั ในการเคล่อื นทเ่ี ขา้ สัมผัสกบั
ช้นิ งาน ทกุ ๆ คร้งั ทีห่ มนุ วัดช้นิ งาน เมอื่ แกนวัดใกล้จะสมั ผัสชิ้นงาน ควรหมนุ ที่หวั หมุนกระทบเลื่อนเขา้ สมั ผัสงาน

เบา ๆ เมือ่ แกนวัดสมั ผสั ชน้ิ งานหวั หมุนกระทบเลอ่ื นจะท�ำ งานเสยี งดังคลิก ๆ กห็ ยุด แล้วอ่านค่าวดั
8. ชอ่ งเสยี บสายสัญญาณข้อมลู (Output Connector) มลี ักษณะเปน็ ฝาครอบยางเมื่อเปดิ ออกจะเห็น
ชอ่ งเสยี บสัญญาณปอ้ นคา่ ที่อา่ นได้เข้าเครอื่ งประเมินผลทางสถิติ (S.P.C.)
9. ปมุ่ ปรับค่า 0 และเลอื กรูปแบบการวัด (Zero/ABS Button) เป็นปุ่มสำ�หรับตงั้ ค่าตำ�แหนง่ การวัดนัน้ ๆ
ใหเ้ ป็นศนู ย์และเป็นปมุ่ เลอื กรปู แบบการวดั แบบสมั บรู ณ์ (Apsolute) หรือแบบสัมพัทธ์ (Incremental)
10. ปมุ่ Hold (Hold button) เปน็ ปมุ่ ท่ีใชส้ �ำ หรบั เลอื กใหแ้ สดงผลบนหน้าจอขณะนน้ั ๆ
11. ปมุ่ Origin (Origin button) เป็นปุ่มที่ใชก้ �ำ หนดตำ�แหนง่ อา้ งองิ ของการวดั แบบสมั บูรณ์

การใช้งานไมโครมเิ ตอร์วดั นอกแบบดิจติ อล รูปที่ 4-25 การเปดิ ฝาครอบแบตเตอรไ่ี มโครมเิ ตอร์แบบ
ดจิ ิตอล
จากที่กล่าวไว้แล้วไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบดิจิตอล
ได้ผลิตออกมาใช้งานหลายรุ่น มีทั้งระบบเมตริกและ รปู ท่ี 4-26 การใส่แบตเตอรีไ่ มโครมิเตอรร์ ุ่น 293-340
ระบบองั กฤษ แต่ละรนุ่ จะมีรปู แบบการใชง้ านคล้าย ๆ กัน
อาจมที ่ีแตกต่างกันอยู่บา้ ง เชน่ รายละเอียดของฟังกช์ ัน
การใชง้ านแต่ละร่นุ อาจแตกตา่ งกันบา้ งเล็กนอ้ ย ในท่นี ้ี
จะยกตัวอย่างการใช้งานของไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบ
ดิจติ อลของมติ ูโตโย รนุ่ 293-340 จะอธิบายต้ังแตก่ าร
เรมิ่ ต้นใช้งานเพือ่ เปน็ แนวทางการใช้งานรุ่นอ่นื ๆ ต่อไป
ก่อนใช้งานไมโครมิเตอร์ควรทำ�ความสะอาดโดยใช้
กระดาษท่ีไม่มีขนเช็ดทำ�ความสะอาดโดยเฉพาะผิวหน้า
แกนรบั และแกนวัดเพ่อื ความถกู ตอ้ งของขนาดวดั
ใช้ดา้ นหลังของประแจขอเก่ยี ว ขันเปิดฝาครอบ
แบตเตอรี่ออกโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา จากนั้นใส่
แบตเตอร่ีเขา้ ไป สำ�หรบั ไมโครมิเตอรร์ นุ่ นี้ใช้แบตเตอร่ี
SR 44 แล้วท�ำ การขันปิดฝาครอบใหเ้ รยี บร้อย

วดั ละเอยี ด

118 หลงั จากทีใ่ สแ่ บตเตอรีแ่ ล้วหนา้ จอแสดงผลจะแสดงสถานะตัวเลข 0.00000 in และมตี วั P กะพรบิ อยซู่ ึ่ง
แมผ้ ใู้ ช้จะหมุนปลอกหมนุ วัดออกหรอื เขา้ ไมโครมิเตอรก์ ็จะแสดงผลสถานะนี้ตลอด เนือ่ งจากระบบประมวลผลของ

ไมโครมเิ ตอรต์ ้องการใหท้ ำ�การต้ังค่า Origin ก่อนซง่ึ สามารถท�ำ ไดโ้ ดยหมุนปลอกหมุนวดั เขา้ สุดจนแกนวัดสัมผสั

กับแกนรบั ข้ันตอนน้สี �ำ คัญ ผู้ใชง้ านควรระมัดระวงั

โดยเฉพาะเม่อื แกนวัดใกล้สัมผัสแกนรับควรหมุนท่หี ัวหมุน

กระทบเลื่อนเขา้ สัมผัสเบา ๆ เม่ือหวั หมนุ กระทบเล่ือน

ท�ำ งานดงั คลกิ ๆ ให้กดปุ่ม Origin กจ็ ะสามารถใช้งาน

ไมโครมิเตอร์ได้ตามปกติ และหลังเลิกใช้งานสักพัก

ไมโครมิเตอร์จะปิดเองโดยอัตโนมัติ และเมื่อต้องการ

ใช้งานอีกคร้ังให้หมุนปลอกหมุนวัดไมโครมิเตอร์ก็จะ

ท�ำ งานทันที รปู ท่ี 4-27 การตัง้ คา่ Origin ให้กับไมโครมิเตอร์

รุน่ 293-340

ส�ำ หรับไมโครมเิ ตอรร์ นุ่ 293-340 เป็นระบบ รูปท่ี 4-28 การต้งั ค่าใช้งานระบบเมตรกิ ของไมโครมิเตอร์
องั กฤษ เมอ่ื ทำ�การเปิดใช้งานคร้งั แรกระบบจะต้งั คา่ รุ่น 293-340
ใช้งานเป็นระบบอังกฤษโดยอตั โนมตั ิ ท่ีจอแสดงผลจะ
แสดง 0.00000 in แตใ่ นรุ่นนส้ี ามารถใช้งานเป็นระบบ
เมตริกได้โดยให้กดปมุ่ in/mm หน้าจอแสดงผลกจ็ ะ
แสดง 0.000 mm ผ้ใู ช้งานกส็ ามารถใชไ้ มโครมเิ ตอร์
วัดขนาดชิ้นงานในระบบเมตริกได้และหากจะกลับไปใช้
ระบบองั กฤษให้กดทีป่ มุ่ in/mm อกี คร้งั

ตัวอย่างการใชง้ านไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอกแบบดจิ ติ อล

รปู ที่ 4-29 การใชไ้ มโครมิเตอรด์ ิจิตอลวดั ขนาดช้ินงาน

119

รปู ที่ 4-30 การใชไ้ มโครมิเตอรด์ ิจิตอลรว่ มกับอปุ กรณ์ รูปท่ี 4-31 การใชไ้ มโครมิเตอร์ดจิ ติ อลวัดขนาดชนิ้ งาน
จับยึดวดั ขนาดช้นิ งาน บนเครื่องกลึง

ไมโครมเิ ตอร์แบบใชง้ านเฉพาะ

ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอกแบบเปลีย่ นแกนรบั (Outside Micrometer with Interchangeable)
ไมโครมิเตอร์ชนิดน้ีสามารถปรับเปลี่ยนแกนรับได้หลายขนาด เพ่ือใช้วดั ชนิ้ งานขนาดตา่ ง ๆ ได้

รูปที่ 4-32 ไมโครมเิ ตอร์วดั นอกแบบเปล่ียนแกนรับ
ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกแบบปากวัดคาลปิ เปอร์ (Caliper Type Micrometer)
ไมโครมิเตอรช์ นดิ น้ีมีลกั ษณะของแกนวัดคล้ายกับปากวัดเวอรเ์ นยี ร์ ใช้วดั งานที่เป็นบา่ หรือรอ่ ง

รปู ที่ 4-33 ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกแบบปากวัดคาลปิ เปอร์

วดั ละเอยี ด
120 ไมโครมเิ ตอร์วดั ฟันเฟอื ง (Gear Tooth Micrometer)

ไมโครมิเตอร์ชนิดนอ้ี อกแบบให้แกนรับและแกนวดั กลมเพื่อใชว้ ดั ขนาดฟันเฟือง

รูปท่ี 4-34 ไมโครมิเตอรว์ ดั ฟันเฟือง
ไมโครมเิ ตอรว์ ดั เกลยี วสกรู (Screw Thread Micrometer)
ไมโครมเิ ตอรช์ นดิ นอี้ อกแบบให้แกนรับและแกนวดั เรียว 60° และ 55° เพือ่ ใช้วัดขนาดเกลยี ว

รูปที่ 4-35 ไมโครมเิ ตอรว์ ัดเกลยี ว
ไมโครมเิ ตอรว์ ัดความหนากระดาษ (Paper Thickness Micrometer)
ไมโครมิเตอรช์ นดิ นอ้ี อกแบบให้แกนวัดเปน็ แบบจานขนาดใหญ่ เพือ่ ใชว้ ัดขนาดความหนากระดาษ

รปู ที่ 4-36 ไมโครมเิ ตอรว์ ัดความหนากระดาษ

ไมโครมิเตอรว์ ดั รอยยน่ (Crimp Height Micrometer) 121
ไมโครมิเตอรช์ นิดน้ีออกแบบให้แกนวัดมีลักษณะเรยี ว ใชว้ ัดขนาดความหนาของช้ินงานทห่ี ดตวั ได้

รูปท่ี 4-37 ไมโครมิเตอร์วัดรอยยน่
ไมโครมิเตอรว์ ดั ความหนาท่อ (Tube Micrometer)
ไมโครมิเตอร์ชนิดนีอ้ อกแบบให้แกนรบั และแกนวัดโค้งมน เพื่อใชว้ ัดขนาดความหนาร่องโค้งหรือท่อ

รปู ที่ 4-38 ไมโครมิเตอร์วัดความหนาทอ่ แบบแกนวดั และแกนรบั โคง้ มน
ไมโครมิเตอร์แบบหน้าจาน (Disc Micrometer)
ไมโครมิเตอรช์ นดิ นอ้ี อกแบบใหแ้ กนรบั และแกนวัดเป็นแบบหน้าจาน เพือ่ ใชว้ ดั ความหนาของรอ่ งบา่ หรอื ใช้
วัดขนาดของฟันเฟือง

รูปท่ี 4-39 ไมโครมิเตอร์แบบหน้าจาน

วดั ละเอยี ด

122 ไมโครมเิ ตอรแ์ บบพกิ ดั ขนาด
(Limit Micrometer)
ไมโครมิเตอร์ชนิดนี้ออกแบบให้มีแกน

รบั และแกนวดั จำ�นวน 2 ชุด เพือ่ ตง้ั ค่า

ขนาดท่ตี ่างกัน ตวั บนคอื คา่ ขนาดใหญส่ ดุ

ส่วนตัวล่างคือขนาดเล็กสุด ใช้สำ�หรับ

ตรวจสอบขนาดจำ�นวนมากว่าอยู่ในพิกัด รูปที่ 4-40 ไมโครมิเตอรแ์ บบพิกดั ขนาด

ขนาดหรือไม่

ไมโครมิเตอรว์ ัดความหนาโลหะแผน่
(Sheet Metal Micrometer)
ไมโครมิเตอร์ชนิดน้ีออกแบบให้ โครง
มขี นาดลึก เพ่ือใชว้ ดั ขนาดความหนาของ
แผน่ โลหะท่มี ีขนาดกวา้ ง ๆ

รูปที่ 4-41 ไมโครมิเตอร์วดั ความหนาโลหะแผน่

ไมโครมิเตอรว์ ัดใน (Inside Micrometer)
ไมโครมเิ ตอร์วดั ใน สร้างขน้ึ มาเพอ่ื ใชข้ นาดภายในของชิ้นงานทต่ี ้องการความละเอียดสงู ลกั ษณะการใชง้ าน
ก็ลักษณะเดียวกับไมโครมิเตอร์วัดนอกแต่จะเปลีย่ นมาใชว้ ดั ขนาดภายในเทา่ นน้ั ไมโครมิเตอร์วัดในที่ใช้ในปจั จบุ ัน
จะมี 2 ลกั ษณะ คอื ไมโครมิเตอร์วัดในแบบคาลิปเปอรแ์ ละไมโครมเิ ตอรว์ ัดในแบบเปลีย่ นแกนวัด อกี ท้งั ยงั มีแบบ
สเกลและแบบดจิ ิตอล

รูปที่ 4-42 ไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบคาลิปเปอร์สเกล รูปที่ 4-43 ไมโครมิเตอร์วัดในแบบคาลิปเปอรด์ ิจติ อล

รปู ที่ 4-44 ไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบเปล่ียนแกนวัด

ไมโครมิเตอรว์ ดั ในแบบคาลิปเปอร์ (Inside Micrometer Calipers Typs) 123

ลกั ษณะของไมโครมเิ ตอรว์ ดั ในแบบคาลปิ เปอรน์ ้ี จะมลี กั ษณะการใชง้ านเหมอื นกบั เวอรเ์ นยี รค์ าลปิ เปอร์ สว่ น
การเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ -ออกเพอื่ วดั ขนาดชน้ิ งานจะไม่ใชก้ ารเลอื่ นเหมอื นเวอรเ์ นยี รแ์ ตจ่ ะใชก้ ารหมนุ วดั เขา้ -ออกเหมอื นกบั
ไมโครมเิ ตอร์วัดนอก มีให้เลือกใชท้ ้งั ระบบเมตริกและระบบองั กฤษ ในส่วนของระบบเมตริกจะเร่ิมท่ี 5–30 มม.
25–50 มม. 50–75 มม. จนถึง 275–300 มม. ส่วนในระบบองั กฤษจะเริ่มที่ 0.2–1.2 นิว้ 1–2 นิว้ 2–3 นวิ้ 3–4 น้วิ
ซ่ึงหากสังเกตขนาดเร่ิมต้นของไมโครมิเตอร์วดั ในแบบคาลปิ เปอร์จะไม่ไดเ้ ริม่ จากขนาด 0 มม. เน่อื งจากปากวัด
ของไมโครมิเตอรช์ นดิ นจี้ ะมกี ลไกในการสร้างจึงเริม่ จาก 0 ไม่ได้

1 526 3 4

7

รูปที่ 4-45 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ในแบบคาลปิ เปอร์

สว่ นประกอบของไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบคาลปิ เปอร์
1. ปากวดั (Jaws) 5. สเกลหลกั (Main Scale)

2. ปลอกสเกลหลกั (Sleeve) 6. สเกลเลื่อน (Micro Scale)

3. ปลอกหมนุ วัด (Thimble) 7. สกรูลอ็ ก (Clamp Screw)

4. หัวหมนุ กระทบ (Ratchet Stop)

ส�ำ หรบั ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ในแบบคาลปิ เปอร์ การเคลอื่ นทข่ี องแกนวดั จะมที ศิ ทางตรงกนั ขา้ มกบั ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก
ท่ัวไป เม่อื หมุนปลอกหมุนวดั ตามเขม็ นาฬกิ า ปากวัดจะเคล่อื นที่ออกและปดิ สเกลขนาดวัดจนมองไมเ่ ห็น

วดั ละเอียด

124 การอา่ นค่าไมโครมิเตอร์วัดในแบบคาลิปเปอร์สเกลความละเอยี ด 0.01 มลิ ลเิ มตร

ค่าขนาดของสเกลหลัก บนปลอกสเกลหลักค่าของช่องสเกลหรอื ขดี สเกลที่อย่บู นเส้นอา่ นอ้างอิงจะมีค่าของ
ชอ่ งสเกล 1 ช่องสเกล เท่ากับ 1 มม. แตส่ �ำ หรบั ไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบคาลิปเปอร์จะเร่ิมค่าขนาดสเกลที่ 5 มม.
เพราะฉะนน้ั คา่ ขนาดช่องสเกลที่ 2 มคี า่ เทา่ กบั 6 มม. 5 ชอ่ งสเกล มีค่าเท่ากบั 10 มม. ซ่ึงจะมเี ลข 10 กำ�กบั ทกุ ๆ
ช่องสเกลท่เี พมิ่ ขึ้น 1 ชอ่ งสเกล ค่าขนาดกจ็ ะเพมิ่ ขนึ้ 1 มม. เสมอไปจนครบระยะ 30 มม. นั่นเอง

28 มม. 22 มม. 13 มม. 9 มม.
6 มม.

28.5 มม. 19.5 มม. 12.5 มม. 5.5 มม.

รูปที่ 4-46 ค่าขนาดสเกลหลักไมโครมิเตอรว์ ดั ในแบบคาลปิ เปอร์
สว่ นทด่ี า้ นลา่ งของเสน้ อา้ งองิ จะเปน็ การแบง่ ขนาดของชอ่ งสเกลหลกั ทด่ี า้ นบน ซง่ึ คอื 1 ชอ่ งสเกลหลกั ดา้ นบน
มคี ่า 1 มม. ค่าดา้ นลา่ งกจ็ ะแบ่งครึ่งชอ่ งสเกลด้านบนซง่ึ จะมคี ่าเท่ากับ 0.5 มม. แต่เนอ่ื งจากคา่ สเกลเริม่ ตน้ ของ
ไมโครมิเตอรช์ นดิ นจี้ ะเริ่มท่ี 5 มม. ฉะนน้ั ชอ่ งสเกลดา้ นลา่ งชอ่ งสเกลแรกจะมคี า่ 5.5 มม. ส่วนชอ่ งสเกลที่ 2 จะ
แบง่ ครง่ึ ของช่องสเกลหลกั ด้านบนระหวา่ ง 6-7 มม. กจ็ ะมคี ่าเท่ากับ 6.5 มม. เป็นเช่นน้ีไปจนครบระยะ 30 มม.

0.46 มม.
0.49 มม.
0.02 มม.
0.05 มม.

คา่ ขนาดของสเกลปลอกหมนุ วัด ทีส่ เกลปลอกหมุนวัด 1 ช่องสเกล มคี า่ เทา่ กบั 0.01 มม. 2 ชอ่ งสเกล มคี า่
เท่ากบั 0.02 มม. 3 ช่องสเกล มคี า่ เท่ากับ 0.03 มม. 4 ช่องสเกล มคี ่าเทา่ กบั 0.04 มม. 5 ชอ่ งสเกล มีค่าเทา่ กับ
0.05 มม. จะมเี ลข 5 กำ�กับไว้ ทุกช่องสเกลทเ่ี พ่มิ ขนึ้ 1 ช่องสเกลจะมีค่าขนาดเพิม่ ขน้ึ 0.01 มม. เสมอ จะเปน็ เช่นน้ี
ไปจนครบระยะ 50 ชอ่ งสเกล กจ็ ะมคี า่ เทา่ กบั 0.50 มม.

ตัวอย่างการอา่ นค่า 125

 

 

1. คา่ สเกลหลัก = 5.00 มม. 1. คา่ สเกลหลัก = 9.00 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวดั = 0.25 มม.
= 5.25 มม. 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.19 มม.
คา่ วัดทีอ่ า่ นได้
ค่าวัดที่อา่ นได้ = 9.19 มม.

 

 

1. คา่ สเกลหลกั = 13.00 มม. 1. ค่าสเกลหลกั = 15.50 มม.

2. ค่าสเกลปลอกหมุนวดั = 0.32 มม. 2. ค่าสเกลปลอกหมุนวดั = 0.31 มม.

ค่าวดั ที่อ่านได้ = 13.32 มม. คา่ วดั ท่อี ่านได้ = 15.81 มม.

 

1. คา่ สเกลหลกั  1. คา่ สเกลหลัก 
2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด
= 24.00 มม. = 26.50 มม.
คา่ วดั ทีอ่ า่ นได้ = 0.09 มม. ค่าวัดที่อ่านได้ = 0.14 มม.
= 24.09 มม. = 26.64 มม.

วดั ละเอยี ด
126 การใช้งานไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบคาลปิ เปอร์

1. หมนุ ปลอกหมุนวดั จนปากวดั มขี นาดเล็กกว่าขนาดชนิ้ งานท่ตี อ้ งการวดั
2. น�ำ ปากวดั ของไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบคาลิปเปอร์เข้าไปวดั ตามตำ�แหนง่ ทตี่ ้องการ
3. หมุนปลอกหมุนวัดจนปากวัดใกล้สัมผัสชิ้นงาน ให้เปลี่ยนมาหมุนที่หัวหมุนกระทบ จัดแนวแกนของ
ไมโครมเิ ตอร์ให้อยู่ในแนวทถี่ ูกตอ้ ง หมนุ หวั หมุนกระทบเบา ๆ จนปากวัดสมั ผัสชิ้นงาน
4. อ่านคา่ วัดจากไมโครมิเตอรห์ ากกระท�ำ ไดส้ ะดวก ในกรณีที่ไมส่ ะดวกให้ทำ�การลอ็ กแลว้ น�ำ ออกมาอา่ นคา่
วดั ทีด่ ้านนอกทสี่ ะดวก

การใช้ไมโครมเิ ตอร์วดั ใน
วดั ขนาดภายในร่องชิน้ งาน

การใช้ไมโครมิเตอรว์ ัดใน
วดั ขนาดความโตของรูชนิ้ งาน

การใช้ไมโครมเิ ตอร์วัดในวัดขนาดรูควา้ น
บนเครื่องกลึง

ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ในแบบเปลี่ยนแกนวัด 127
(Inside Micrometer with Interchangeable Rod)

ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ในแบบเปลีย่ นแกนวดั นี้ สามารถใชว้ ดั ขนาดภายในได้กวา้ งกว่าแบบคาลิปเปอร์ โดยมีชุด
ก้านต่อหลายขนาด เพอื่ สามารถวัดขนาดภายในตั้งแตข่ นาดเรม่ิ ต้นที่ 50 มลิ ลเิ มตร จนถึง 200 มิลลิเมตร
แตล่ ะช่วงขนาดของก้านต่อจะมีขนาดเพ่ิมข้นึ ก้านละ 25 มม. ส�ำ หรับระบบเมตรกิ แตถ่ ้าหากเป็นระบบอังกฤษ

ขนาดวัดจะเรมิ่ ตน้ ที่ 2 นว้ิ ขนาดของกา้ นตอ่ จะเพิ่มช่วงละ 1 นิว้ เม่ือตอ้ งการวัดขนาดช่วงระยะเท่าใดกจ็ ะเลือก

กา้ นต่อใหเ้ หมาะสมและน�ำ ไปใชว้ ดั ขนาดภายในของชนิ้ งานตามต้องการ

2

1
3

รปู ที่ 4-47 ไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบเปลยี่ นแกนวัด

สว่ นประกอบของไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบเปลย่ี นแกนวดั
1. หวั ไมโครมเิ ตอร์ (Micrometer Head) เปน็ ส่วนหลักของไมโครมิเตอรน์ ี้ จะประกอบด้วยสเกลหลัก
และสเกลเลือ่ นเปน็ ส่วนของการอ่านคา่ ขนาดวดั ของช้ินงาน
2. กา้ นตอ่ ขนาดวัด (Measure Rod) เป็นส่วนที่ใช้ตอ่ กับสว่ นหัวไมโครมเิ ตอรเ์ พื่อเพิ่มขนาดวัดขนาด
ตา่ ง ๆ เพื่อใชว้ ดั ช้ินงาน ในระบบเมตรกิ จะเพ่มิ ข้นึ กา้ นต่อละ 25 มม. ในระบบอังกฤษจะเพิ่มขนึ้ ก้านตอ่ ละ 1 นวิ้
3. ด้ามจับ (Micrometer Handle) เปน็ ด้ามจบั ในกรณีตอ้ งนำ�สว่ นหัวไมโครมเิ ตอร์เข้าไปวัดขนาด
ภายในลึก ๆ

สว่ นประกอบของหัวไมโครมิเตอร์วดั ในแบบเปลยี่ นแกนวดั

1 6 45 1. แกนวดั
2. หัวสมั ผัสวดั
3. ปลอกหมุนวัด
4. สเกลหลัก
5. สเกลเล่อื น
6. สกรลู ็อก

32

วดั ละเอียด
128 ตัวอย่างการอ่านคา่

 

 

1. ค่าสเกลหลกั = 50.50 มม. 1. คา่ สเกลหลัก = 52.00 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวดั = 0.22 มม. 2. ค่าสเกลปลอกหมุนวัด = 0.19 มม.
= 50.72 มม. = 52.19 มม.
คา่ วัดท่ีอ่านได้ คา่ วดั ทอ่ี ่านได้

 

 

1. คา่ สเกลหลกั = 52.50 มม. 1. ค่าสเกลหลกั = 53.50 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.38 มม. 2. ค่าสเกลปลอกหมุนวดั = 0.31 มม.
= 52.88 มม. = 53.81 มม.
ค่าวดั ทอี่ ่านได้ คา่ วัดที่อ่านได้

 

 

1. คา่ สเกลหลัก = 54.00 มม. 1. ค่าสเกลหลกั = 54.00 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.04 มม. 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวดั = 0.40 มม.
= 54.04 มม. = 54.40 มม.
ค่าวดั ทีอ่ า่ นได้ คา่ วัดที่อ่านได้

ตัวอย่างการอ่านค่า 129

 

 

1. ค่าสเกลหลกั = 2.025 นว้ิ 1. ค่าสเกลหลกั = 2.100 นวิ้
2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.013 นิ้ว 2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วัด = 0.011 นิ้ว
= 2.038 นิ้ว = 2.111 นิ้ว
ค่าวดั ทอี่ ่านได้ ค่าวดั ท่ีอา่ นได้

 

 

1. ค่าสเกลหลัก = 2.125 นว้ิ 1. ค่าสเกลหลัก = 2.300 นิ้ว
2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วัด = 0.018 นิ้ว 2. ค่าสเกลปลอกหมนุ วัด = 0.013 นว้ิ
= 2.143 นว้ิ = 2.313 นิ้ว
ค่าวดั ทอ่ี า่ นได้ คา่ วัดทีอ่ ่านได้

 

 

1. คา่ สเกลหลัก = 2.450 นิ้ว 1. ค่าสเกลหลกั = 2.500 น้ิว
2. คา่ สเกลปลอกหมุนวดั = 0.015 นิ้ว 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวัด = 0.000 นิ้ว
= 2.465 น้วิ = 2.500 นว้ิ
ค่าวดั ทีอ่ า่ นได้ ค่าวดั ที่อ่านได้

วดั ละเอยี ด

130 การใชไ้ มโครมิเตอรว์ ดั ในแบบเปล่ยี นแกนวดั
1. เลอื กขนาดไมโครมเิ ตอรว์ ัดในแบบเปล่ยี นแกนวดั ใหม้ ขี นาดเหมาะสมกบั ช้นิ งานทต่ี อ้ งการวดั
2. นำ�ไมโครมิเตอร์เข้าไปวัดในตำ�แหน่งท่ีตอ้ งการ ในกรณที ่ีเป็นรูขนาดเล็กควรประกอบดา้ มจบั ชว่ ยวัด
3. หมุนปรับไมโครมิเตอร์ออก  พร้อมจัดตำ�แหน่งแนวแกนให้อยู่ในตำ�แหน่งที่ถูกต้อง  จนแกนวัดและ
หวั สมั ผสั วดั ของไมโครมิเตอร์สัมผัสชน้ิ งาน กท็ �ำ การอ่านค่าวดั แตถ่ า้ หากไม่สะดวกก็ทำ�การล็อกไมโครมิเตอรแ์ ล้ว
น�ำ ออกมาอา่ นค่าทดี่ ้านนอกตอ่ ไป

รูปท่ี 4-48 การใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ในวดั ขนาดชนิ้ งาน รปู ท่ี 4-49 การใช้ไมโครมเิ ตอรแ์ บบประกอบด้ามจับวดั
ขนาดรูควา้ นช้ินงาน

ไมโครมเิ ตอรว์ ัดลึก (Depth Micrometer)

ไมโครมเิ ตอร์วัดลกึ เปน็ เคร่ืองมือที่ใชว้ ัดขนาดความลึกทตี่ อ้ งการความละเอียดสูง มีให้เลือกใช้ทง้ั ระบบเมตริก
และระบบองั กฤษ อกี ท้ังยงั ออกแบบใหส้ ามารถใช้ไดห้ ลายขนาด โดยการเปล่ียนก้านวัดลึก ซ่งึ ก้านวดั ลึกจะมขี นาด
ความยาวสำ�หรบั วัดขนาดความลกึ 0–25 มม. 25–50 มม. 50–75 มม. 75–100 มม. ขนาดความยาวของก้านวัดลึก
จะเพ่ิมขึ้นก้านละ 25 มม. จนถงึ ขนาดสงู สดุ ระยะ 300 มม. ส่วนในระบบอังกฤษจะมีขนาด 0–1 นิ้ว 1–2 นิ้ว
2–3 นว้ิ จนถงึ 12 นว้ิ ในระบบอังกฤษกา้ นวัดลึกจะมีขนาดเพ่ิมข้นึ กา้ นละ 1 น้วิ



ส่วนประกอบของไมโครมเิ ตอร์วดั ลึก
1. ก้านวดั ลกึ (Measuring Rod)
 2. ผิวสมั ผัสอา้ งอิง (Reference Plane)
3. สะพานยัน (Base)
 4. สเกลหลัก (Barrel Scale)
5. สเกลปลอกหมุนวัด (Thimble Scale)
 6. ปลอกหมุนวัด (Thimble)
7. หวั หมนุ กระทบเลอ่ื น (Ratchet Stop)



 รปู ท่ี 4-50 ส่วนประกอบของไมโครมเิ ตอรว์ ัดลกึ


ไมโครมเิ ตอรว์ ัดลึกผลิตมาเพ่ือใช้งานทง้ั แบบสเกลและแบบดจิ ติ อล 131

รูปท่ี 4-51 ไมโครมิเตอร์วดั ลึก รูปท่ี 4-52 ไมโครมเิ ตอร์วัดลกึ แบบสเกล
แบบดิจิตอล

การอา่ นคา่ ไมโครมเิ ตอร์วดั ลกึ

สำ�หรบั การอา่ นค่าขีดสเกลของไมโครมเิ ตอรว์ ัดลึกน้นั หลักการสร้างสเกลจะเหมือนกับไมโครมเิ ตอร์วดั นอก
และไมโครมิเตอร์วัดในแต่จะแตกต่างกันตรงที่เวลาอ่านค่าสเกล ค่าขนาดจริงที่เกิดขึ้นจะถูกปลอกหมุนวัดทับจน
มองไม่เหน็ ผเู้ รียนจะต้องอ่านสเกลทเ่ี หลอื อยูแ่ ลว้ ท�ำ ความเข้าใจว่าคา่ ขนาดท่ีหายไปมคี า่ เท่าไร



 1. ค่าขนาดสเกลหลกั ทเี่ ห็น = 1.50 มม.

ค่าขนาดจริงของสเกลหลัก = 1.00 มม.

2. ค่าขนาดสเกลปลอกหมนุ วดั = 0.35 มม.

ค่าวดั ทอ่ี า่ นได้ = 1.35 มม.

ตัวอย่าง การอ่านคา่ ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ ระบบเมตริก ความละเอยี ด 0.01 มลิ ลิเมตร





1. คา่ สเกลหลัก = 8.50 มม. 1. ค่าสเกลหลกั = 10.50 มม.
2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.05 มม.
2. ค่าสเกลปลอกหมุนวัด = 0.19 มม. = 10.55 มม.
ค่าวดั ทอี่ า่ นได้
ค่าวัดทอ่ี ่านได้ = 8.69 มม.

วดั ละเอียด
132

 
 

1. คา่ สเกลหลัก = 13.00 มม. 1. ค่าสเกลหลัก = 19.00 มม.
= 0.19 มม.
2. ค่าสเกลปลอกหมุนวดั = 0.38 มม. 2. คา่ สเกลปลอกหมุนวดั = 19.19 มม.

คา่ วัดทอี่ า่ นได้ = 13.38 มม. คา่ วดั ทีอ่ ่านได้

ตวั อย่าง การอ่านค่าไมโครมิเตอรว์ ัดลึกระบบอังกฤษ ความละเอียด 0.001 น้วิ





1. คา่ สเกลหลัก = 0.000 นว้ิ 1. คา่ สเกลหลกั = 0.050 น้ิว
2. คา่ สเกลปลอกหมนุ วดั = 0.012 น้วิ 2. ค่าสเกลปลอกหมุนวดั = 0.015 นิ้ว
= 0.012 น้วิ = 0.065 นิ้ว
ค่าวดั ท่ีอา่ นได้ คา่ วดั ที่อา่ นได้

 

 

1. คา่ สเกลหลัก = 0.225 นวิ้ 1. คา่ สเกลหลกั = 0.350 นิว้
2. ค่าสเกลปลอกหมุนวัด = 0.014 นิ้ว 2. ค่าสเกลปลอกหมุนวัด = 0.005 นว้ิ
= 0.239 น้วิ = 0.355 น้วิ
คา่ วดั ที่อา่ นได้ ค่าวดั ทอ่ี า่ นได้

การใชง้ านไมโครมิเตอร์วดั ลกึ ข้อควรระวังและการบำ�รงุ รักษาไมโครมเิ ตอร์ 133

สำ�หรับการใช้ไมโครมิเตอร์วัดลึกวัดขนาดความลึก 1. ก่อนและหลังใช้งานไมโครมิเตอร์ควรทำ�ความ
ชิน้ งาน สามารถทำ�ไดโ้ ดยใช้น้วิ หวั แม่มอื และนิว้ ชี้ของ สะอาดเสมอ
มือด้านถนัดจับไมโครมิเตอร์วัดลึกบริเวณสะพานยัน 2. ควรเลือกใช้ไมโครมิเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน
นำ�ไปทาบกับผิวด้านบนของช้ินงานที่จะท�ำ การวัดโดยให้ เสมอ
ผิวสมั ผัสสะพานยนั แนบสมั ผสั ไปกบั ชน้ิ งาน แล้วใชน้ ้ิว
หัวแม่มือกับนิ้วช้ีของมืออีกข้างหนึ่งหมุนปลอกหมุนวัด
ไมโครมเิ ตอร์วัดลึกลงไปวดั ขนาดความลึกชนิ้ งาน คอย
สงั เกต พอใกล้จะสมั ผัสช้ินงานใหเ้ ปลี่ยนมาหมนุ ที่หัวหมนุ
กระทบจนก้านวัดลึกสัมผัสช้ินงานหัวหมุนกระทบจะ
ทำ�งานดงั คลกิ ๆ ให้หยดุ หมนุ แลว้ ทำ�การอ่านคา่

รูปที่ 4-53 การใชไ้ มโครมิเตอร์วัดลกึ วัดขนาดช้นิ งาน 3. ระมัดระวงั การกระทบกระเทอื น ตกหลน่ หรอื
กระแทก ไม่ควรใหเ้ กดิ กบั ไมโครมิเตอร์

รูปที่ 4-54 การใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ัดลกึ วดั ขนาดชิน้ งาน 4. การคลายปลอกหมุนวัดไมโครมิเตอร์ออกเร็ว
ห้ามใชก้ ารควง ควรใชก้ ารหมนุ โดยฝา่ มอื
5. ก่อนทำ�การวัดควรวางไมโครมิเตอร์และช้ินงาน
ในหอ้ งท่มี ีการควบคุมอุณหภูมเิ ดียวกัน

วดั ละเอียด

134 6. ก่อนใช้ไมโครมิเตอร์ควรใช้ผ้าหรือกระดาษที่ 9. หลงั จากใช้งานไมโครมเิ ตอรแ์ ลว้ เสรจ็ ให้เชด็
สะอาดและไมเ่ ป็นขน เชด็ ทำ�ความสะอาดผิวหนา้ แกนรับ ทำ�ความสะอาดด้วยผ้าหรือกระดาษที่สะอาดและไม่
เป็นขนทั้งตัวแล้วชโลมนำ้�มันหรือเคลือบวาสลีนบริเวณ
(Anvil) และแกนวัด (Spindle)

แกนรบั และแกนวัดเสมอ

7. กอ่ นใชง้ านควรตรวจสอบศนู ยข์ องไมโครมเิ ตอร์
หากพบวา่ ศูนย์ไม่ตรงตอ้ งปรบั กอ่ นเสมอ

10. ควรเก็บไมโครมิเตอร์ในกล่องท่ีผู้ผลิตให้มา

โดยหมุนปลอกหมุนวัดให้ตำ�แหน่งแกนวัดห่างจาก

แกนรบั ประมาณ 0.2–2 มลิ ลิเมตร และไม่ต้องลอ็ กสกรู

8. ทุกครั้งของการใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาด ยดึ แกนวดั
ชน้ิ งาน เมอ่ื ผวิ หนา้ แกนวดั ใกลส้ มั ผสั งานควรใชป้ ลอกหมนุ 11. ไมโครมเิ ตอรท์ ีเ่ ป็นดจิ ติ อล หากไม่ใชง้ านเปน็
กระทบเลอ่ื น (Ratchet Stop) เพื่อตดั แรงเสมอ ๆ เวลานาน ๆ ควรถอดแบตเตอรี่ออก หากแบตเตอรี่
หมดอายุไประยะเวลาหน่ึงแล้วไม่เปล่ียนออกจะทำ�ความ

เสียหายกบั ไมโครมิเตอร์ได้

สรปุ ทา้ ยหน่วย 135

ไมโครมิเตอร์  เป็นเคร่ืองมือวัดที่มีความละเอียดสูง  ออกแบบให้ใช้งานท้ังระบบเมตริกและ
ระบบองั กฤษ  ทง้ั แบบสเกลธรรมดาและแบบดจิ ติ อล  สามารถเลอื กใชง้ านแบบวดั นอก  แบบขนาด
ภายใน แบบวดั ขนาดความลกึ ซง่ึ แตล่ ะระบบจะอยคู่ นละตวั กนั ไมเ่ หมอื นเวอร์เนยี ร์คาลิปเปอร์
ไมโครมเิ ตอรใ์ ชห้ ลกั การเคลอื่ นทขี่ องเกลยี ว เม่ือหมุนเกลียวไป 1 รอบ จะเคลอื่ นทไ่ี ปเปน็
ระยะทางเท่ากับลีดของเกลียว  ค่าความละเอียดของสเกลวัดของไมโครมิเตอร์วัดนอกท่ีใช้ใน
ปัจจบุ นั
ระบบเมตรกิ –  ความละเอยี ด 0.01 มลิ ลเิ มตร
–  ความละเอียด 0.001 มลิ ลเิ มตร
ระบบองั กฤษ –  ความละเอยี ด 0.001 มลิ ลิเมตร
–  ความละเอยี ด 0.0001  มิลลิเมตร
ไมโครมิเตอร์แบบดิจิตอล  ออกแบบให้แสดงผลการวัดเป็นตัวเลขโดยอัตโนมัติ  เพ่ือความ
สะดวกต่อการใช้งานเป็นอย่างสงู ปัจจบุ นั นยิ มใช้อยา่ งกว้างขวาง เนือ่ งจากใชง้ านงา่ ยและให้คา่
วัดทถี่ ูกต้องแมน่ ย�ำ ไมต่ ้องเสยี เวลา อ่านค่าขีดสเกลแบบไมโครมิเตอร์แบบธรรมดา ส่วนราย
ละเอยี ดการใช้งานก็เหมือนกับไมโครมเิ ตอรแ์ บบสเกลน่นั เอง
ไมโครมิเตอร์วัดใน  ออกแบบมาเพ่ือใช้วัดขนาดภายในของช้ินงานท่ีต้องการความละเอียด
สงู มใี ห้เลอื กใชง้ านแบบสเกลธรรมดาและแบบสเกลดิจิตอล แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื
–  ไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบคาลิปเปอร์
–  ไมโครมเิ ตอรว์ ัดในแบบเปลีย่ นแกนวดั
ไมโครมิเตอร์วัดลึก  เป็นเคร่ืองมือวัดท่ีใช้วัดขนาดของความลึกท่ีต้องการความละเอียดสูง
ออกแบบให้เลือกใช้ทง้ั ระบบเมตรกิ และระบบองั กฤษและแบบดิจติ อล

วดั ละเอยี ด จุดประสงค์ ผูเ้ รียนสามารถใชไ้ มโครมิเตอรว์ ดั ขนาดช้นิ งานได้
136 ใบงานท่ี คำ�สัง่ ใหผ้ ู้เรยี นใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ดั ขนาดชน้ิ งานและบันทึกคา่ ลงใน

4.1 ตารางบนั ทึกผล

เครื่องมอื และอปุ กรณ์

1. ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอกความละเอียด 0.01 มลิ ลิเมตรและความละเอียด 0.001 นิว้
2. ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ในความละเอยี ด 0.01 มลิ ลเิ มตรและความละเอยี ด 0.001 น้ิว
3. ไมโครมิเตอร์วัดลึกความละเอียด 0.01 มลิ ลเิ มตรและความละเอยี ด 0.001 น้วิ
4. ชิ้นงาน (ผูส้ อนสามารถประยุกต์ใชช้ น้ิ งานตามความเหมาะสม)

ขั้นตอนการปฏบิ ัติ

1. ตรวจสอบท�ำความสะอาดไมโครมิเตอรแ์ ละช้นิ งาน
2. วัดขนาดชิน้ งานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั นอก ไมโครมิเตอร์วดั ใน และไมโครมิเตอร์วดั ลึก ตั้งแต่ขนาด A
จนถึงขนาด N
3. บนั ทกึ ผลการวัดลงในตารางบนั ทึกผล

ตารางบนั ทึกผล

ความละเอยี ด AB C DE F G
0.01 มลิ ลเิ มตร HI J K L MN
0.001 นวิ้
ความละเอยี ด
0.01 มิลลิเมตร
0.001 นว้ิ

จากรปู จงใชต้ อบคำ�ถามข้อ 3 137

4แบหนบว่ฝยึกทหี่ ดั

ตอนท่ี 1 3. จากรปู หมายเลข 4 คือ ส่วนประกอบใดของ
ไมโครมิเตอร์วดั ในแบบคาลปิ เปอร์
จงทำ�เคร่ืองหมายกากบาท (7) ลงหนา้ ขอ้ ที่ถกู ต้องท่สี ุด
จากรูป จงใช้ตอบคำ�ถามข้อ 1 ก. ปากวัด
ข. สเกลหลัก
ค. ปลอกหมุนวดั
ง. หัวหมุนกระทบเลื่อน
จ. สกรลู ็อก
4. จากรูป คา่ วดั ท่อี ่านได้จากไมโครมเิ ตอร์วัดในแบบ

คาลปิ เปอร์ คือข้อใด

1. จากรปู หมายเลข 5 คอื สว่ นประกอบใดของ ก. 15.31 มลิ ลิเมตร ข. 15.39 มิลลเิ มตร
ไมโครมิเตอรว์ ัดนอกแบบดจิ ติ อล ค. 15.81 มิลลิเมตร ง. 15.89 มิลลเิ มตร
จ. 16.31 มิลลิเมตร
ก. ก้านปลอกสเกลหลัก จากรูป จงใชต้ อบค�ำ ถามข้อ 5
ข. ก้านลอ็ ก
ค. ปลอกสเกลเลอ่ื น
ง. ป่มุ ก�ำ หนดค่าอา้ งอิง
จ. ปมุ่ ปรบั คา่ เป็น 0
2. ไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบดิจิตอลในรุ่นท่ีวัดได้ท้ัง
มิลลิเมตรและนว้ิ สามารถเปล่ียนหน่วยโดยทำ�
อย่างไร
ก. กดทปี่ ุ่ม Zero 1 34 2
ข. กดทปี่ มุ่ Origin 5. จากรปู หมายเลข 3 คือสว่ นประกอบใดของ
ค. กดทปี่ ่มุ in/mm ไมโครมิเตอร์วัดในแบบเปลย่ี นแกนวดั
ง. กดปุ่ม Hold ก. แกนวัด ข. สเกลหลัก
จ. วางไวน้ ง่ิ ๆ สกั พกั ไมโครมเิ ตอรจ์ ะเปลย่ี น ค. ปลอกหมนุ วัด ง. หวั สมั ผัสวดั
หนว่ ยเอง จ. สเกลเลอ่ื น

วดั ละเอยี ด

138 6. จากรูป คา่ วัดท่ีอ่านไดจ้ ากไมโครมเิ ตอรว์ ัดใน 8. จากรูป หมายเลข 1 คือส่วนประกอบใดของ
แบบเปล่ยี นแกนวดั คอื ขอ้ ใด ไมโครมเิ ตอร์วัดลึก
ก. โครง
ข. กา้ นวัดลึก
ค. หัวหมนุ กระทบเล่อื น
ง. ปลอกหมนุ วัด
จ. สะพานยัน
ก. 4.40 มิลลเิ มตร ข. 4.90 มลิ ลเิ มตร 9. จากรูป คา่ วดั ทอี่ ่านไดจ้ ากไมโครมเิ ตอร์วดั ลึก
ค. 40.00 มิลลิเมตร ง. 54.40 มิลลเิ มตร คือข้อใด
จ. 54.90 มลิ ลิเมตร
7. จากรปู คา่ วัดทอี่ า่ นได้จากไมโครมิเตอร์วดั ใน
แบบเปล่ียนแกนวัด คอื ข้อใด

ก. 0.500 นวิ้ ข. 1.500 น้ิว ก. 2.36 มลิ ลิเมตร ข. 2.86 มลิ ลเิ มตร
ค. 2.500 นวิ้ ง. 2.525 น้วิ ค. 3.34 มลิ ลิเมตร ง. 3.36 มิลลิเมตร
จ. 5.000 น้วิ จ. 7.36 มลิ ลิเมตร
จากรูป จงใชต้ อบค�ำ ถามข้อ 8 10. จากรปู คา่ วดั ที่อ่านได้จากไมโครมเิ ตอร์วัดลึก

คือข้อใด

ก. 0.505 นว้ิ ข. 0.575 นิว้
ค. 0.580 น้วิ ง. 0.605 นิ้ว
จ. 0.630 นวิ้

ตอนที่ 2 จงท�ำ เครอ่ื งหมาย 3 หน้าขอ้ ความทถ่ี กู ตอ้ ง และท�ำ เคร่อื งหมาย 7 หน้าขอ้ ความที่ไมถ่ กู ต้อง 139

1. ไมโครมิเตอรจ์ ัดเป็นเครอื่ งมอื วดั ท่ี ใหค้ ่าวัดไดล้ ะเอยี ดที่สดุ ของเคร่ืองมือวดั ในวิชาวัดละเอยี ด
2. ไมโครมเิ ตอรท์ ี่นยิ มใช้แบง่ ออกเปน็ ไมโครมเิ ตอรแ์ บบสเกล ไมโครมิเตอรแ์ บบหนา้ ปดั นาฬิกา

และไมโครมเิ ตอร์แบบดจิ ิตอล
3. หัวหมนุ กระทบเลื่อน (Ratchet stop) ทำ�หน้าทต่ี ัดแรงให้กบั ปลอกหมุนวัดในการเคลอื่ นทีเ่ ข้า

วดั ขนาดชิ้นงาน
4. ไมโครมิเตอรว์ ัดนอกความละเอยี ด 0.01 จะใชร้ ะยะพติ ช์ (Pitch) ของเกลยี วแกนวดั เท่ากบั

1 มม.
5. ไมโครมเิ ตอรแ์ บบดิจิตอลสามารถอ่านค่าวดั ไดท้ ง้ั มิลลเิ มตรและนว้ิ
6. ไมโครมเิ ตอรว์ ัดใน แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ ไมโครมิเตอร์วดั ในแบบคาลปิ เปอร์และ

ไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบเปล่ยี นแกนวัด
7. ไมโครมเิ ตอรว์ ัดในแบบเปลย่ี นแกนวดั สามารถวัดขนาดภายในตงั้ แตข่ นาดเรมิ่ ต้นท่ี 0-200

มิลลเิ มตร
8. กา้ นวดั ลึกของไมโครมิเตอรว์ ดั ลึกระบบเมตริกจะเพม่ิ ขึ้นก้านละ 50 มิลลิเมตร
9. ควรตรวจสอบศูนย์ของไมโครมิเตอรว์ ่าได้ศนู ย์หรอื ไม่ ก่อนใช้งานไมโครมเิ ตอร์เสมอ ๆ
10. ไมโครมิเตอรช์ นดิ ดิจติ อล หากตอ้ งจัดเก็บนาน ๆ ควรถอดแบตเตอรี่ (ถา่ น) ออก

วดั ละเอยี ด

140 ตอนที่ 3 จงตอบคำ�ถามตอ่ ไปนี้ให้ไดใ้ จความสมบรู ณ์

1. จากรูป จงบอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมเิ ตอร์วัดนอก ลงในชอ่ งว่างให้ถูกตอ้ ง
2 3 5 10

1

9 6 11
8
7
4

หมายเลข 1 คอื หมายเลข 2 คือ

หมายเลข 3 คอื หมายเลข 4 คือ

หมายเลข 5 คือ หมายเลข 6 คอื

หมายเลข 7 คือ หมายเลข 8 คอื

หมายเลข 9 คอื หมายเลข 10 คอื

หมายเลข 11 คือ

2. จงอา่ นคา่ วัดของไมโครมเิ ตอร์ ตอบลงในชอ่ งวา่ งให้ถกู ตอ้ ง

คา่ วัดท่ีอา่ นไดค้ อื มลิ ลเิ มตร ค่าวดั ที่อา่ นได้คอื มลิ ลเิ มตร

ค่าวดั ท่ีอ่านได้คือ มลิ ลิเมตร คา่ วดั ท่อี ่านไดค้ ือ มลิ ลิเมตร

141

ค่าวดั ที่อา่ นได้คือ มิลลิเมตร ค่าวดั ทีอ่ ่านไดค้ อื มิลลิเมตร

คา่ วดั ทีอ่ ่านไดค้ ือ มิลลเิ มตร ค่าวดั ท่ีอา่ นได้คอื มิลลเิ มตร

3. จงอ่านค่าวัดของไมโครมเิ ตอร์ ตอบลงในช่องว่างใหถ้ กู ตอ้ ง

ค่าวัดท่ีอา่ นได้คอื น้ิว ค่าวัดที่อา่ นได้คือ นวิ้

ค่าวัดท่อี า่ นได้คือ นิ้ว ค่าวัดทีอ่ า่ นได้คือ นว้ิ

ค่าวัดที่อ่านได้คอื น้ิว คา่ วัดท่ีอ่านได้คอื นิ้ว

วดั ละเอยี ด
142

ค่าวดั ทีอ่ ่านได้คือ นว้ิ คา่ วัดที่อ่านได้คอื นิ้ว

4. จงอ่านคา่ วดั ของไมโครมิเตอร์ ตอบลงในชอ่ งว่างให้ถูกตอ้ ง

คา่ วัดท่อี ่านไดค้ ือ มลิ ลิเมตร ค่าวัดท่ีอ่านได้คอื มลิ ลิเมตร

5. จงอ่านค่าวดั ของไมโครมเิ ตอร์ ตอบลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ต้อง

คา่ วัดท่อี า่ นไดค้ อื น้วิ ค่าวัดท่ีอ่านได้คอื นิ้ว


Click to View FlipBook Version