The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thasasi, 2021-04-24 23:06:45

OBEC AWARDS 64

OBEC AWARDS 64

วางตัวเป็นกลาง และยึดถือระบอบประชาธิปไตย การได้รับแต่งต้ังเป็นคณะกรรมการตัดสินผลงาน หรือ
การคดั เลือกบุคคล โดยขา้ พเจ้าปฏิบัตติ ามกฎ กติกา และระเบยี บอยา่ งสม่าเสมอ

4.2 ยอมรับฟังความคิดเหน็ จากผอู้ นื่
ข้าพเจา้ ยอมรบั ฟังความคิดเห็นจากผู้อ่ืน โดยข้าพเจ้าใช้หลักในการบริหารจัดการ

ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม
นาถบพิตร (ในหลวงรัชกาลท่ี 9) โดยใช้หลัก การมสี ว่ นรว่ ม และมงุ่ ประโยชน์คนสว่ นใหญเ่ ปน็ หลกั

4.3 ไมล่ ะเมดิ สิทธหิ น้าที่ของผูอ้ นื่
ข้าพเจ้า ให้ความรว่ มมือในการทางานกบั ผู้อน่ื โดยเคารพเสียงสว่ นใหญ่ ปฏิบตั ิตน

ตามบทบาทหนา้ ท่ีอยา่ งเหมาะสม จนทาให้งานสาเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี
ตวั ชีว้ ัด 5 การดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

5.1 เลือกใชท้ รพั ยากรในการดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งเหมาะสมคมุ้ คา่ และมีเหตผุ ล
ข้าพเจ้า ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเลือกใช้ทรัพยากร

ในการดาเนินชีวิตอย่างเหมาะสม ค้มุ คา่ และมีเหตุผล ความพอประมาณ ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์
สูงสุด คานึงถึงผลท่ีจะเกิดต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดล้อม ยึดหลักการการดารงชีวิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง คือ รู้จักประมาณ มีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ตามพระราชดารัส ของ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ในหลวงรัชกาล ท่ี 9)
ความว่า “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความม่ันคงของแผ่นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มท่ีถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะม่ันคงได้ ก็อยู่ท่ี
เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มด้วยซ้าไป” ข้าพเจ้ามีส่วนร่วมในการ
ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมให้บูรณาการหลักคิด
3 ห่วง 2 เง่ือนไข ในโครงการและกิจกรรม นาสู่วิถีปฏิบัติ ฝึกทักษะคิดและปฏิบัติจริงให้แก่นักเรียนและ
บุคลากรในโรงเรียนให้เป็นวิถีชีวิต นาไปสู่การขยายผลในครอบครัวและชุมชนได้เป็นผลดี เลือกใช้
ทรัพยากรในการดาเนินชีวิตอย่างเหมาะสม คุ้มค่าและมีเหตุผล เช่น การออมเงิน ฝากธนาคาร/สหกรณ์
ออมทรัพย์ครู เป็นสมาชิกกองทุน กบข. ชพค. ทาประกันชีวิต การนาอาหารใส่ป่ินโตมาทาน เพื่อลดการ
ใช้พลาสติก นากระดาษหน้าเดียวมาใช้อีกคร้ัง การแยกขยะ แต่งกายตามความเหมาสม และถูก
กาลเทศะ ไม่ฟุ่มเฟือย อนุรักษ์สิ่งแวด โดยการเลือกใช้ใบตอง วัสดุจากธรรมชาติ ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงในการดาเนินชวี ิต

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพ่อื รับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศกย์ อดเย่ยี ม 47
สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเย่ียม

5.2 ใช้ทรัพยากรโดยคานึงถึงผลท่จี ะเกดิ ตอ่ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม
ข้าพเจ้า ใช้ทรัพยากรโดยคานึงถึงผลท่ีจะเกิดต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม โดย

ศึกษาและรวบรวมข้อมูล ก่อนการใช้ทรัพยากรอยู่เสมอ โดยเฉพาะทรัพยากรของทางราชการ ต้อง
คานึงถึงความคุ้มค่าเป็นสาคัญ นาของท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ เช่น นาขวดน้ามาดัดแปลงเป็นกระถาง
ปลูกผักสวนครัว นาเศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ เช่น นากล่องกระดาษมาประดิษฐ์
เปน็ หมวก นาแกนกระดาษทชิ ชูมาประดิษฐ์เป็นกลอ่ งใสด่ นิ สอ ปากกา

5.3 เป็นแบบอยา่ งในการดาเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้าพเจ้านาการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการหลักคิด

3 ห่วง 2 เงื่อนไข ในโครงการและกิจกรรมนาสู่วิถีปฏิบัติในการดารงชีวิต การบริหารจัดการงานในหน้าที่
เช่น ความพอประมาณ ข้าพเจ้ามีความพอดีต่อความจาเป็น ใช้สิ่งของคุ้มค่าและเหมาะสมกับฐานะ
ของตนเอง ขา้ พเจ้าใหค้ วามช่วยเหลอื สังคมด้วยจิตอาสา ใช้ส่งิ ของทีเ่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งเป็น
บริหารจดั การโครงการทนี่ าไปสู่การพัฒนาคุณธรรมด้านความพอเพียง ให้เป็นวัฒนธรรมในองค์กร เกิด
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความมีเหตุผล ข้าพเจ้าตัดสินใจดาเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล
ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุ
ปัจจัยที่เก่ียวข้องเสมอ ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดข้ึนจาการกระทาน้ัน ๆ อย่างรอบรู้และ
รอบคอบ ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ข้าพเจ้าเตรียมตัวพร้อมรับต่อผลกระทบและการเปล่ียนแปลง
ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพ่ือให้สามารถปรับตัว
และรับมือได้อย่างทันท่วงที ตื่นตัวอยู่เสมอ เงื่อนไขความรู้ ข้าพเจ้าฝึกตนเองให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับ
วิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และความระมัดระวังท่ีจะนาความรู้ต่าง ๆ
เหล่านนั้นมาพิจารณาซึ่งดูได้จากกาเข้าร่วมอบรมเพ่ือการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เง่ือนไขคุณธรรม
ข้าพเจ้า เป็นผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและ
ความโปร่งใสของสถานศึกษา ต้องตระหนักและอาศัยทั้งคุณธรรมและความรู้ พัฒนาตนเองและองค์กร
ดาเนินกิจกรรมที่สร้างเสริมให้เป็นพ้ืนฐานทางจิตใจของคนในองค์กร ให้เกิดความตระหนักในคุณธรรม
ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างเป็นผู้รับผิดชอบช่ัวดี มีความซ่ือสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้อง
และเหมาะในการดาเนินชีวิต

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพื่อรับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเย่ยี ม 48
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ด้านบรหิ ารจดั การยอดเยี่ยม

ตัวชวี้ ดั 6 การควบคุมตนเอง

6.1 มีการพดู และทาโดยคดิ ไตรต่ รองอย่างรอบคอบในสิ่งที่เป็นประโยชน์ตอ่ บคุ คล
ข้าพเจ้าเป็นบุคคลที่คิดและกระทาโดยคิดไตรตรองอย่างรอบคอบ เพื่อให้เป็น

ประโยชน์ต่อบุคคลอ่ืน ๆ มีความระมัดระวังในการคิดเพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อน วางแผนการ
ดาเนินงานเพื่อประโยชน์สุขต่อผู้อื่น ได้แก่ เพื่อนร่วมงาน ครูผู้สอน ผู้บริหาร นักเรียน ในการบริหาร
จดั การงานการนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนทกุ ครั้ง จะใชว้ งจรคุณภาพ PDCA ในการดาเนินการอย่าง
รอบคอบลดความผิดพลาด และเกดิ ประสทิ ธิภาพอย่างคุ้มค่า

6.2 มกี ารพูดและทาโดยคิดไตรต่ รองอย่างรอบคอบในสิ่งท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ องค์กร
ข้าพเจ้า มีการพูดและทาโดยคิดไตร่ตรองอย่างรอบคอบเพื่อประโยชน์ต่อองค์กร เช่น

การพูดเชิงบวกขององค์กร ร่วมพัฒนาองค์กรให้สวยงาม มีความสานึกที่ดีของตนเอง เคารพตนเองและ
ผู้อื่น การให้เกียรติ มีความอดทนอดกล้ันต่อสภาวะท่ีมากระทบจิตใจ ถึงแม้จะมีอุปสรรค ก็จะมุ่งม่ัน
ทางาน เป็นคนมีเหตุผล มีความรับผิดชอบท้ังต่อตนเองและผู้อื่น รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายจน
ประสบความสาเร็จ

6.3 มีการพดู และทาโดยคดิ ไตรต่ รองอยา่ งรอบคอบในสง่ิ ทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อวชิ าชีพ
ข้าพเจ้า พูดและทาในสิ่งท่ีเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพ มีความคิดเชิงบวกอยู่เสมอ

สามารถควบคุมความคิดและการกระทาจนทางานสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ยึดมั่นในความดี พูดดี คิดดี พูด
จริงทาจริง ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร (ในหลวงรัชกาลที่ 9) ความว่า “ผู้หนักแน่นในสัจจะพูดอย่างไรทาอย่างนั้น จึงจะได้รับ
ความสาเรจ็ พร้อมทง้ั ความศรัทธา เชื่อถือ และความยกย่องสรรเสริญจากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วทา
คือ พดู จริง ทาจรงิ จึงเปน็ ปจั จัยสาคญั ในการส่งเสริมเกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด”

องคป์ ระกอบที่ 3 ปรมิ าณและคณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน

ตวั บ่งช้ี 1 ปริมาณการนิเทศ

1.1 มีการนิเทศโรงเรียนไม่น้อยกวา่ 3 วนั ต่อสปั ดาห์
ข้าพเจ้า ตระหนักในหน้าท่ีความรับผิดชอบต่องานนิเทศ ติดตามและประเมินผล

การจัดการศึกษาทั้งระบบ การบริหารและการจัดการศึกษา ข้าพเจ้า วางแผนบูรณาการทุกกลุ่มงานตาม

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเย่ยี ม 49
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเยีย่ ม

โครงสร้างการบริหารในกลุ่มนิเทศ และงานนโยบาย สู่การจัดทาแผนนิเทศ และปฏิทินการนิเทศ มีโรงเรียน
ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ท้ังหมด 49 โรงเรียน ข้าพเจ้าใช้เวลาในการนิเทศ
โรงเรียนในสังกัดไม่น้อยกว่า 3 วันต่อสัปดาห์ โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร มีข้ันตอนการ
ดาเนนิ งาน ดังน้ี

ขัน้ ตอนที่ 1 กอ่ นดาเนินการนเิ ทศภายในโรงเรียน
ขั้นงานที่ 1 คิดงาน เป็นข้ันตอนพ้ืนฐานท่ีถือว่าสาคัญที่สุด ข้อมูลท่ีได้จาก

การดาเนินงานของปกี ารศึกษาปีทผี่ า่ นมา ดาเนนิ การวเิ คราะห์จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย ทง้ั ปัญหาและอปุ สรรค
ข้ันงานที่ 2 ทางาน เปน็ การประชมุ วางแผนนาผลการปฏิบัติงานของปีการศึกษา

ท่ีผ่านมา มาศึกษาเพื่อวิเคราะห์ความต้องการ และประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนา หาจุดเด่น
จุดด้อย จุดพัฒนา กาหนดค่าเป้าหมาย กาหนดกิจกรรม/โครงการ ปฏิทิน วางแผนจัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปี เพ่อื พฒั นาให้เป็นไปตามค่าเปา้ หมายทก่ี าหนด

ข้ันตอนท่ี 2 ขั้นดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียนด้วยกระบวนการนิเทศแบบ
กัลยาณมิตร

ข้นั งานที่ 3 ติดตามงาน เป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการ
นิเทศ เพ่ือดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน ซ่ึงเป็นการนาแผนปฏิบัติการนิเทศสู่การปฏิบัติการ เพ่ือให้
เป็นไปตามความตอ้ งการ หรือค่าเป้าหมายท่ีโรงเรียนได้กาหนดไว้ ด้วยกระบวนการนิเทศ แบบกัลยาณมิตร
เด่นดว้ ย 4 จ. คือ ให้ใจ ร่วมใจ ตงั้ ใจ และเปดิ ใจ

1. ใหใ้ จ : สรา้ งความเปน็ มิตร การสร้างความเปน็ มิตรด้วยการ “ให้ใจ” ระหว่างผู้
นิเทศ กับผู้รับการนิเทศ การสร้างบรรยากาศความเป็นกันเอง รอยยิ้ม การพูดจาท่ีสุภาพสร้างสรรค์ ร่วม
สร้างขวัญกาลงั ใจ

2. รว่ มใจ : ร่วมคิดวางแผนเปน็ การร่วมใจดว้ ยการร่วมคิด ร่วมทางาน แลกเปล่ียน
เรียนรู้ซ่งึ กนั และกัน เป็นการสร้างความร่วมมือของนิเทศ และคณะผู้รับการนิเทศ วางแผนร่วมกันโดยการ
นาข้อมูลจากการวิเคราะห์ มาจัดลาดับความสาคัญของปัญหา และความต้องการท่ีต้องการพัฒนาอย่าง
เรง่ ด่วน

3. ตั้งใจ : กระบวนการเน้น ความตั้งใจร่วมกัน เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพในการ
ทางาน ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจอย่างแน่วแน่ สู่ค่าเป้าหมายท่ีวางไว้ ด้วยกระบวนการปฏิบัติการนิเทศ

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน เพ่อื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศกย์ อดเยีย่ ม 50
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจัดการยอดเยย่ี ม

อยา่ งเปน็ กัลยาณมิตรให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการนิเทศที่กาหนดไว้ เป็นกระบวนการปฏิบัติงานที่ต้อง
ไดร้ ับความร่วมมือจากบุคลากรทกุ ฝ่าย

4. เปิดใจ : นิเทศศรัทธา ผู้ให้การนิเทศ สะท้อนผลการนิเทศ และผู้ได้รับการ
นิเทศ เปิดใจยอมรับผลการประเมินท่ีสะท้อนผลจากการปฏิบัติการนิเทศด้วยความเป็นกัลยาณมิตร เพ่ือนาผล
มาปรบั ปรงุ และพัฒนา ในการขบั เคลอื่ นตอ่ ยอดในการปฏิบัติการนิเทศในคร้ังต่อ ๆ ไปโดยมุ่งมั่นสู่เป้าหมาย
ชว่ ยกันแก้ปัญหา และถือวา่ ผลงาน คอื คณุ ภาพของผู้เรยี น

ขน้ั ตอนท่ี 3 ข้ันหลงั การดาเนินการนิเทศ
ขั้นงานที่ 4 สรปุ งาน

1.2 มกี ารนเิ ทศโรงเรียนเป้าหมายทีร่ ับผิดชอบได้อย่างทั่วถึง
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาภูเก็ต ร่วมประชุมวางแผนจัดทาโครงการ/กิจกรรมการนิเทศ กาหนดปฏิทินการนิเทศ เพ่ือ
นิเทศโรงเรียนเป้าหมายที่รับผิดชอบได้อย่างท่ัวถึง โดยให้ศึกษานิเทศก์ ผู้รับผิดชอบโรงเรียนตามกลุ่ม
เครือข่ายลงพื้นที่อย่างท่ัวถึง รวดเร็ว สามารถนิเทศเป็นกลุ่มได้โดยไม่เสียเวลา และใช้เทคโนโลยีเข้ามา
ชว่ ยในการประสานงาน

1.3 มีการบันทึกผลการนิเทศทกุ คร้งั ทท่ี าการนเิ ทศ
ขา้ พเจ้า มีการบนั ทกึ ผลการนเิ ทศทกุ ครัง้ ทที่ าการนิเทศ และรายงานผลการนิเทศให้

ผู้รบั การนิเทศและผบู้ ังคบั บัญชาทราบทุกคร้งั

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพ่ือรบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศกย์ อดเย่ียม 51
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเยย่ี ม

ตวั ชี้วดั 2 คุณภาพการนเิ ทศ

2.1 มแี ผนปฏบิ ตั ิการนเิ ทศโรงเรียนเปา้ หมายทีร่ บั ผิดชอบ
ข้าพเจ้า มีแผนปฏิบัติการนิเทศโรงเรียนเป้าหมายที่รับผิดชอบ โดยทางกลุ่มนิเทศ

ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต มีการ
ประชุมวางแผนจัดทาแผนปฏิบัติการนิเทศ กาหนดกิจกรรมการนิเทศ สร้างเครื่องมือนิเทศ กาหนด
ปฏิทินปฏิบัติการนิเทศ ออกนิเทศโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอ สารวจความพึง
พอใจของครแู ละผบู้ ริหารทีม่ ีตอ่ การนิเทศ และสรุปรายงานผลการนิเทศ ติดตาม แล้วนาผลการนิเทศ
มาวิเคราะหห์ าจุดเด่น และจุดที่ควรพฒั นา/ปรบั ปรุง โดยใช้วงจรคุณภาพเด็มม่ิง PDCA ควบคู่กับการ
นิเทศแบบกัลยาณมิตร ดว้ ยกระบวนการ 3 ขั้น 4 ข้ัน เด่นด้วย 4 จ.

2.2 ปฏบิ ัติการนิเทศตามแผนอยา่ งเป็นระบบ
ข้าพเจ้า ดาเนินการนิเทศตามแผนอย่างเป็นระบบ โดย นาแนวนโยบายสานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ให้เป็น “การศึกษาข้ันพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” ผสมผสาน
กบั การใชท้ ศิ ทางการพฒั นาการศึกษาของสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ต ด้วยโมเดล
4P เพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด มีการติดตาม และประเมินผลตามที่วางแผน
ไว้ สามารถรายงานผลได้ทุกกิจกรรม โดยใช้เคร่ืองมือการนิเทศ ติดตามที่ข้าพเจ้าสร้างขึ้นเป็น
เครื่องมือนิเทศ เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกัน นาสู่นวัตกรรมการ นิเทศแบบ
กลั ยาณมิตร ด้วยกระบวนการ 3 ข้นั 4 ขนั้ เด่นดว้ ย 4 จ.

2.3 มีผลการนิเทศที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติงานท่ีสอดคล้อง
กบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารนิเทศ

ข้าพเจ้า มีผลการนิเทศที่แสดงถึงการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
ท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การนิเทศ จากการสะท้อนผลของนิเทศ ทาให้ข้าพเจ้าทราบแนวทาง
การพฒั นาการนิเทศในคร้ังตอ่ ไป ขา้ พเจา้ จัดทารายงานสรุปผลการนิเทศทกุ ครง้ั ท่ีออกนเิ ทศโรงเรยี น

ตวั ชี้วัด 3 ปริมาณการศกึ ษาคน้ คว้าทางวิชาการเพือ่ จัดทาเปน็ คู่มือและเอกสาร

3.1 มกี ารศกึ ษาค้นคว้าทางวิชาการ 3 เร่อื งข้นึ ไป/ปี
ข้าพเจ้า มีการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ 3 เรื่องขึ้นไป/ปี ต้ังแต่ปีการศึกษา 2561 -

2563 ดงั น้ี

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพ่ือรับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศกย์ อดเย่ยี ม 52
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเยี่ยม

3.1.1 รายงานพันธกิจของคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา เอกสารทาง
วิชาการ ปฏิรูปการศกึ ษา 2562

3.1.2 การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของภาคประชาชนผู้มีส่วนได้เสียตามร่าง
พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.

3.1.3 สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การปฏริ ูปการศึกษาในยุคดิจทิ ัล
3.1.4 การประเมินทบทวนสาหรับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
3.1.5 รายงานแนวทางการยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
(O-NET)
3.16 การศึกษาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาและจัดทาฐานข้อมูลและสารสนเทศทางการ
ศึกษาเพ่ือการบริหารและการจัดการศึกษาสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และการตัดสินใจเชิงนโยบายของ
หนว่ ยงานสว่ นกลาง
3.1.7 แนวทางการนเิ ทศบรู ณาโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การ
นิเทศภายในโรงเรยี นโดยใช้หอ้ งเรยี นเป็นฐานเพ่ือพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน 2562
3.2 มีการจดั ทาค่มู อื และเอกสาร 3 เรือ่ งข้ึนไป/ปี
3.2.1 คู่มือการจัดทาโครงงานเพื่อขอรับการประเมินตามโครงกา รบ้าน
นักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย สาหรับครูปฐมวยั สพป. ภูเกต็ ปีการศกึ ษา 2561
3.2.2 วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และจัดแผนการจัด
ประสบการณ์ให้กับครูปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2561
3.2.3 คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดสู่ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21 Active Learning
3.2.4 จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการนเิ ทศ ปกี ารศึกษา 2562
3.2.5 จดั ทาคูม่ ือปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานวชิ าชีพศึกษานเิ ทศก์ ปกี ารศกึ ษา 2561
3.2.6 จัดทาคมู่ ือปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานวชิ าชีพศึกษานิเทศก์ ปีการศึกษา 2562
3.2.7 รายงานสรปุ ผลการนิเทศ ติดตามการดาเนินโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ปี
การศกึ ษา 2562
3.2.8 รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 (NT) ปีการศึกษา
2561

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเยี่ยม 53
สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ดา้ นบริหารจัดการยอดเยย่ี ม

3.2.9 รายงานผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 (NT) ปีการศึกษา
2562

3.2.10 จัดทาขอ้ มลู สารสนเทศ ปีการศกึ ษา 2562
3.2.11 รายงานผลการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
สถานศึกษาออนไลน์ ปีการศึกษา 2563
3.2.12 การรายงานผลการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลการจดั การศึกษา สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
3.3 มีการเผยแพร่คู่มือและเอกสาร 3 เร่ืองขึน้ ไป/ปี
ข้าพเจ้า ได้จัดพิมพ์เผยแพร่คู่มือและเอกสาร 3 เร่ืองข้ึนไป/ปี โดยเผยแพร่ให้กับ
โรงเรียนในสังกัดในการประชุมสัมมนา เผยแพร่ผ่านเว็บไซด์กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต www.phuketarea.go.th ทาง E-mail

ตัวชวี้ ัด 4 คุณภาพการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการเพ่อื เป็นเอกสารและคู่มือการนเิ ทศ

4.1 คมู่ อื และเอกสารที่จดั ทามีความสอดคลอ้ งกับความต้องการของผ้รู บั การนิเทศ
ข้าพเจ้า ได้วิเคราะห์ข้อมูล รวบรวมปัญหาท่ีส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ของโรงเรียนในสังกัด วางแผนการจัดทาคู่มือและเอกสารให้มีความสอดคล้องกับผู้รับการนิเทศ เช่น
คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ด้วยกระบวนการ
นเิ ทศแบบกัลยาณมิตร

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศกย์ อดเย่ยี ม 54
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ด้านบรหิ ารจัดการยอดเย่ยี ม

4.2 คู่มือและเอกสารท่จี ดั มคี วามถูกตอ้ งตามหลกั วชิ า
จากการสารวจข้อมูลครูผู้สอนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาภูเก็ต และจาการสารวจความต้องการได้รับการพัฒนาของครูผู้สอน เพ่ือจัดทาคู่มือและ
เอกสารประกอบการนิเทศท่ีสอดคล้องกับความต้องการของครูผู้รับการนิเทศ ได้ศึกษาเอกสาร ตารา
บทความและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง รวมทง้ั ปรึกษาขอคาแนะนาจากผู้เช่ียวชาญ เพ่ือให้คู่มือและเอกสาร
ทจี่ ดั ทามีความถูกต้องตามหลกั วชิ าการ

4.3 คมู่ ือและเอกสารท่จี ดั ทาเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนางาน
ขา้ พเจ้า ดาเนินการจดั ทาคมู่ ือและเอกสารที่จัดทาเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน

และส่งเสริมการเรียนการสอนของครู ส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาท้ัง เป็นคนดี คนเก่งและมีความสุข
ดงั น้ี

4.3.1 คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และแผนการจัด
ประสบการณ์ให้กับครูปฐมวัย ได้ออกแผนการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมพัฒนาการเด็กท้ัง 4 ด้าน คือ ด้าน
ร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการท่ีดีข้ึน
และเหมาะสมกับวัย ไดม้ าตรฐานตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย

4.3.2 คมู่ ือ 1 ห้องโรงเรียน 1 โครงงานคุณธรรม สู่นวัตกรรมโรงเรียน เป็นคู่มือท่ี
ช่วยส่งเสริม และสนับสนนุ ให้ผู้เรียนมีพฤตกิ รรมเชงิ บวก และพฤติกรรมเชิงลบ ส่งผลให้ผู้เรียนเป็นคน
ดี สามารถอยกู่ ับคนรอบข้างได้อยา่ งมีความสุข

4.3.3 คมู่ ือจัดทาโครงงานเพ่ือขอรับการประเมินตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ประเทศไทย

4.3.4 คู่มือนิเทศภายในโรงเรียน เป็นคู่มือที่ช่วยเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษากับ
ครูมีปฏิสัมพันธ์ในการทางานได้ข้ึน ทั้งยังช่วยในการบริหารและจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา การ
จัดการเรียนการสอนของครู สง่ ผลการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน

4.3.5 คู่มือวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัดของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 (NT)
ส่งผลใหผ้ ู้เรยี น ไดค้ ะแนนเตม็ 100 คะแนน

จากท่ีกล่าวมาข้างต้น ข้าพเจ้าได้พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการจัดทาคู่มือและเอกสาร
ได้เหมาะสมกับความต้องการจาเป็นของผู้รับการนิเทศ มีความถูกต้องตามหลักวิชาการและเป็น
ประโยชนต์ อ่ การพัฒนางานของข้าพเจา้

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน เพื่อรบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเย่ยี ม 55
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ด้านบริหารจดั การยอดเยี่ยม

ตวั ชี้วัด 5 ปรมิ าณการวิเคราะห์วจิ ัยเกี่ยวกบั การปฏิบตั งิ าน

5.1 มีการวางแผนและจัดทาโครงร่างการวิจัยเกี่ยวกับการปฏบิ ตั ิงานนเิ ทศ 1 เรื่อง/ปี
ข้าพเจ้า ไดว้ างแผนและจัดทาโครงร่างการวิจัยเก่ียวกับการปฏิบัติงานนิเทศ 1 เร่ืง/ปี

ดงั น้ี
ปกี ารศึกษา 2561 ได้จดั ทาวิจัยเรื่อง “การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

ประเทศไทย”
ปีการศึกษา 2562 รายงานการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ ด้านการจัดประสบการณ์ใน

ระดบั ปฐมวัย
ปีการศึกษา 2562 การศึกษารูปแบบการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โรงเรียนใน

สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาภเู กต็

5.2 มีรายงานผลการวจิ ัยเกี่ยวกบั การปฏิบัติงานนเิ ทศ 1 เรอ่ื ง/ปี
ข้าพเจ้า มสี รปุ รายงานผลการวจิ ัยเกี่ยวกับการปฏบิ ัตงิ านนิเทศ ดังน้ี
5.2.1 รายงานผลการประเมินพัฒนาเด็กปฐมวยั
5.2.2 รายงานผลการใชห้ ลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560
5.2.3 รายงานผลการดาเนินโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
5.2.4 รายงานผลการดาเนินการทดสอบคุณภาพผูเ้ รียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 (NT)

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพ่อื รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเย่ียม 56
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม

5.2.5 รายงานผลการดาเนินโครงการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม และความ
โปร่งใสการดาเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

5.2.6 รายงานสรุปผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนทุกครัง้ ท่ีออกนิเทศ

5.3 มกี ารเผยแพร่ผลงานวิจยั ต่อสาธารณชน 1 เรื่อง/ปี
ข้าพเจ้า ได้มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยต่อสาธารชนมากกว่า 1 เรื่อง/ปี โดยผ่าน

ช่องทางแวบ๊ ไซตข์ องสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเกต็ , Facebook, Link, QR-Code เป็นตน้
ตวั ชี้วดั 6 คณุ ภาพการวเิ คราะห์วจิ ัยเก่ียวกบั การปฏบิ ัตงิ าน

6.1 กระบวนการวิเคราะหว์ จิ ยั ถกู ตอ้ งตามระเบยี บวิธีวิจัย
ข้าพเจา้ ไดศ้ ึกษาเอกสาร ตารา และดาเนินการตามระเบียบวิธีวิจัย รวมถึงการปรึกษา

ผู้เช่ยี วชาญในสาขาต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง จึงทาใหก้ ระบวนการวิเคราะหว์ จิ ัยถกู ตอ้ งตามระเบยี บวิธวี จิ ัย
6.2 ผลการวเิ คราะหว์ จิ ยั สามารถนาไปใชพ้ ัฒนา/แกป้ ญั หาได้
ขา้ พเจ้า สามารถนาผลการวเิ คราะห์วิจัยไปพัฒนาและแก้ปัญหาได้ เนื่องจากมีการ

วางแผนการดาเนินงานอย่างมีระบบ ดว้ ยวงจรพฒั นาคณุ ภาพเด็มมิ่ง PDCA ในการควบคุมการดาเนินงาน
6.3 มีการนาเสนอ/เผยแพร่ผลการวิเคราะห์วิจัยในหน่วยงานท่ีเป็นท่ียอมรับในวง

วชิ าการ/วิชาชีพ
ข้าพเจ้ามีการนาเสนอเผยแพร่ผลการวิเคราะห์วิจัยในหน่วยงานท่ีเป็นที่ยอมรับใน

วงวชิ าการและวิชาชีพ ผ่านทางแว๊บไซต์ของสานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต, Facebook,
Link, QR-Code เปน็ ตน้

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน เพ่อื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเยี่ยม 57
สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ด้านบรหิ ารจัดการยอดเยี่ยม

องค์ประกอบท่ี 4 การติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา

ตัวชวี้ ดั 1 ปริมาณการตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

1.1 มีการวางแผนการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ในงาน/
โครงการที่รับผิดชอบ

ข้าพเจ้า มีการวางแผนการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาในงาน
หรือโครงการท่ีรับผิดชอบ โดยจัดทาคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงาน ร่วมประชุมวางแผน
คณะกรรมการดาเนินงาน ดาเนนิ งานตามแผนที่วางไว้ สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานทกุ คร้งั

1.2 มกี ารรายงานผลการตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาในงาน/
โครงการทร่ี บั ผดิ ชอบ

ข้าพเจ้า จัดทารายงานผลการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา
ในงานหรอื โครงการทร่ี ับผิดชอบเสนอต่อผบู้ งั คบั บัญชาทุกครั้ง ทมี่ กี ารตดิ ตามตรวจสอบ ฯ

1.3 มีการเผยแพร่ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาใน
งาน/โครงการท่รี บั ผดิ ชอบ

ขา้ พเจ้า เผยแพร่ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาในงาน
หรือโครงการท่ีรับผิดชอบ โดยการจัดประชุมสะท้อนผลการดาเนินงานร่วมกับคณะกรรมการ
ดาเนินงาน คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) ผู้บริหาร
สถานศกึ ษา และบคุ ลากรในสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา เปน็ ต้น

ตวั ชว้ี ัด 2 คณุ ภาพการติดตามตรวจสอบและประเมินผล

2.1 มกี ารติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลถกู ตอ้ งตามหลักวิชา
ข้าพเจ้า ได้ศึกษาเอกสาร เคร่ืองมือ ทาความเข้าใจในแต่ละเร่ือง และประเด็นให้

ถ่องแท้ ก่อนท่ีจะทาการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาทุกครั้ง เพ่ือตรวจความ
ถกู ต้องตามหลักวชิ า เชน่ การสร้างเคร่ืองมือการนิเทศ ติดตาม และกระบวนการติดตาม ตรวจสอบที่
จะทาให้ได้ข้อมูลทถ่ี ูกต้อง ตรงตามสภาพจริง เป็นตน้

2.2 มีการติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลอยา่ งเป็นระบบ
ขา้ พเจ้า วางแผนการดาเนินการด้วยวงจรคณุ ภาพเด็มมิ่ง PDCA ต้ังแต่การแต่งต้ังคาส่ัง

ในการติดตามตรวจสอบและประเมินผล วางแผน ประชุม ช้ีแจง สะท้อนผลร่วมกัน สู่การประเมินผลและ
จัดทารายงานผล

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพ่อื รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศก์ยอดเยี่ยม 58
สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ด้านบริหารจดั การยอดเยีย่ ม

2.3 มีการนาผลการตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลไปใช้แก้ปญั หา/พฒั นางาน
ข้าพเจ้า วางแผนการนิเทศอย่างเป็นระบบ ดังนั้น การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาภูเก็ต มีการประชุมสะท้อนผล เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาผลการนิเทศ ติดตาม ฯ เพ่ือ
แก้ปญั หาและพฒั นางานในครั้งต่อไป ท้งั ในระดับสานักงานเขตและระดบั สถานศึกษา
องค์ประกอบที่ 5 งานอน่ื ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ตัวช้วี ัด 1 ปรมิ าณงานอืน่ ท่ไี ด้รับมอบหมาย
1.1 ได้รับมอบหมายงานพิเศษ จานวน 3 เรื่อง/ปีขนึ้ ไป
1.1.1 เป็นคณะอนุกรรมการประสานงานการดาเนินการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

จังหวัดภเู กต็ ของสานักงานพฒั นามนุษย์และความมน่ั คง
1.1.2 เป็นกรรมการตัดสนิ ในงานเทศบาลนครภูเก็ตวชิ าการ
1.1.3 เป็นกรรมการและเลขานุการสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็น

ข้าราชการครูในตาแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่เป็นความจาเป็นและเหตุพิเศษ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาภเู ก็ต

1.1.4 เป็นกรรมการคัดเลือกโรงเรียนท่ีมีผลงานเป็นเลิศด้าน DLIT, DLTV ระดับเขต
พนื้ ที่

1.1.5 เป็นคณะทางานโครงการโรงเรียนสุจริต ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาภูเก็ต

1.1.6 เป็นคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์เพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูใน
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่เป็นความจาเป็นและเหตุพิเศษ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ภเู กต็

1.1.7 เป็นคณะทางานจัดต้ังศูนย์ประสานงานและสนับสนุนการศึกษาทางไกลระดับ
ภูมิภาค ภาค 7

1.1.8 เป็นกรรมการและเลขานุการสอบคัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งตั้งเป็น
ขา้ ราชการ

1.1.9 เป็นคณะกรรมการดาเนินงานอบรมเชิงปฏิบัติการออกแบบกระบวนการเรียนรู้
ตามแนวคดิ Active Learning เพอื่ พัฒนาทักษะการคิด สูท่ ักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพือ่ รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเย่ยี ม 59
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา ดา้ นบรหิ ารจัดการยอดเยย่ี ม

1.1.10 เป็นคณะทางานวิชาการ ติดตามผลการจัดการศึกษา วัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ เพื่อการสง่ เสริมคุณภาพเชิงวชิ าการ การจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานโดยครอบครัวและศนู ย์การเรยี นรู้

1.1.11 เป็นคณะกรรมการดาเนินงานโครงการสร้างจิตตคุณธรรมองค์รวม (Super
Mind Project) ด้วย Mind fullness ส่สู งั คม “ตงห่อ”

1.1.12 เป็นคณะทางานดาเนินงานจัดทา VTR นาเสนอผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practice) การจัดการศึกษาทางไกล NEW DLTV

1.1.13 เป็นคณะกรรมการดาเนินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน
ระดับชาติ (National Test : NT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3

1.1.14 เป็นคณะกรรมการดาเนินโครงการขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
(STEM Education)

1.1.15 เป็นคณะทางานโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการประกันคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษา

1.1.16 เป็นคณะทางานการอบรมผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัยผ่านระบบ
ทางไกลโครงการพัฒนาเด็กปฐมวยั (3 - 5 ป)ี

1.2 วางแผนการดาเนินการในงานพิเศษและปฏิบตั งิ านตามแผนทุกเร่อื ง/ทกุ งาน
ข้าพเจ้า วางแผนการดาเนินการในงานพิเศษและปฏิบัติงานตามแผนทุกเร่ืองและ

ทุกงาน ด้วยวงจรคุณภาพเด็มม่ิง PDCA ในงานพิเศษและปฏิบัติงานตามแผนทุกเรื่อง และทุกงาน
เหน็ ผลการพฒั นาประสบผลสาเร็จ

1.3 สรปุ และรายงานผลการปฏิบัติงานพิเศษทุกเรอ่ื ง/ทุกงาน
ข้าเพจ้า มีการสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานพิเศษทุกเร่ืองและทุกงานต่อ

ผบู้ งั คับบญั ชา เพ่ือนาขอ้ เสนอแนะสกู่ ารพัฒนาและปรับปรุง

รายงานผลการปฏิบัติงาน เพอ่ื รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศกย์ อดเย่ยี ม 60
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเย่ยี ม

ตวั ชี้วดั 2 คณุ ภาพงานอ่ืนทีไ่ ด้รับมอบหมาย

2.1 ปฏิบตั งิ านและจัดทาแผนอย่างเป็นระบบ
ข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติงานและจัดทาแผนอย่างเป็นระบบ โดยกลุ่มนิเทศ ติดตามและ

ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาภเู ก็ต มีการจัดแผนปฏิบัติการ
นิเทศ และปฏิบัติงานตามแผนท่ีวางไว้อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ยังมีการจัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปีของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามแผนและ
ทางานอยา่ งเปน็ ระบบ

2.2 ผลการปฏบิ ตั ิงานสาเร็จตามวัตถุประสงค์
ข้าพเจ้า มผี ลการปฏบิ ตั ิงานสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ ในฐานะท่ีขา้ พเจ้ารบั ผิดชอบ

โครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมภิบาล (โครงการสุจริต) ส่งผลให้ ผู้บริหารสถานศึกษา
ครู และผู้ขอรับการประเมิน ได้รับรางวัล “ครูดีไม่มีอบายมุข” รุ่นที่ 8 ปีการศึกษา 2561 มีผลเชิง
ประจักษ์ ดังน้ี

รางวัลโล่เกียรติยศ ประเภทบุคลากร สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาได้แก่ นางฐาสสิร์
นวชิ ญ์ญาณสุธี ศึกษานิเทศก์

รางวัลโล่เกียรติยศ ประเภทผู้บริหาร ได้แก่ นายมนตรี อารีราษฎร์ ผู้อานวยการ
โรงเรยี นบา้ นบางคู

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพื่อรับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเย่ยี ม 61
สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา ดา้ นบรหิ ารจัดการยอดเย่ยี ม

รางวัลโลเ่ กยี รตยิ ศ ประเภทครผู ูส้ อน จานวน 5 ราย ประกอบด้วย

1. นางศริ พิ ร บ่อหนา ครูโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา 29 (กะทู้)

2. นางสาวนภาพร ใจเพียร ครโู รงเรียนเกาะสิเหร่

3. นางกรองแกว้ แซ่อุ่ย ครโู รงเรียนถลางพระนางสรา้ ง

4. นางสาวจิรภา ถริ นิ ทรพงศ์ ครูโรงเรยี นวัดเทพกระษัตรี

5. นางดานเิ อล ประสิทธิสร ครโู รงเรยี นวดั ศรีสุนทร (มติ รภาพ 15)

รางวัลเกยี รติบัตร ประเภทบคุ ลากรสานกั งานเขตพื้นที่ จานวน 2 ราย

1. นางมาลัยพร รัตนดลิ ก ณ ภูเก็ต ศึกษานิเทศก์

2. นางอมุ าวรรณ ตะวัน ศกึ ษานิเทศก์

รางวลั เกยี รติบตั ร ประเภทผบู้ ริหารสถานศึกษา จานวน 10 ราย ประกอบด้วย

1. ผู้อานวยการโรงเรยี นเกาะสเิ หร่

2. ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นกู้กู

3. ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นไม้ขาว

4. ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบา้ นสาคู

5. ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านอ่าวน้าบ่อ

6. ผู้อานวยการโรงเรียนวัดเทพนิมติ ร

7. ผอู้ านวยการโรงเรียนสิทธส์ิ ุนทนบารุง

8. ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลภูเก็ต

9. รองผอู้ านวยการโรงเรียนอนุบาลภูเก็ต ( จานวน 2 ราย)

รางวลั เกยี รติบัตร ประเภทครผู สู้ อน อีกจานวน 332 คน (อ้างอิงถึง ประกาศสานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เรือ่ ง ผลการคดั เลือก “ครดู ไี มม่ อี บายมุข” ปีการศกึ ษา 2561 ปีที่ 8)

และนอกจากน้ี ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test

: NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ี 3 ปกี ารศึกษา 2561 มีเด็กนักเรียนท่ีได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ความสามารถ

ด้านคานวณ (Numeracy) ไดแ้ ก่ เดก็ ชายธญั วสิ ษิ ฐ์ สญั ญวงศ์ โรงเรียนอนบุ าลภเู ก็ต

และในส่วนของเด็กปฐมวัยมีผลการประเมินพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้าน

อารมณ์ - จิตใจ ดา้ นสังคม และดา้ นสตปิ ัญญา เดก็ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน เพื่อรบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเยี่ยม 62
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเย่ียม

2.3 รายงานผลการปฏิบัตงิ านใหผ้ มู้ ีส่วนเกย่ี วข้อง เพ่ือนามาใช้ในการปรับปรงุ /พฒั นางาน
ข้าพเจ้า ได้จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพ่ือนามาใช้ในการ

ปรับปรงุ และพัฒนางานทกุ ครัง้ เมอ่ื ดาเนินโครงการเสรจ็ สน้ิ ลง และทุกคร้งั ที่กลับจากไปราชการการประชุม
อบรม สมั มนา
องค์ประกอบที่ 6 งานริเรมิ่ สร้างสรรคท์ เี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อหนา้ ท่ี

ตวั ชวี้ ัด 1 ปรมิ าณงานริเริ่มสรา้ งสรรค์

1.1 มีการวางแผนปฏิบัติงานท่ีเป็นประโยชน์ต่อหน้าท่ีด้วยความริเริ่มสร้างสรรค์
จานวน 3 เร่อื ง/ปี

ขา้ พเจา้ วิเคราะห์และวางแผนทุกงานก่อนลงมือปฏิบัติเสมอ พยายามหาแนวทางท่ี
จะแก้ปัญหาให้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติได้จริง และเป็นประโยชน์ด้วยความคิดริเร่ิม
สร้างสรรคจ์ ัดอบรม ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการและจดั ทาคมู่ อื เอกสารการดาเนนิ งานดงั นี้

1.1.1 การจัดการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทักษะการคิดสูท่ ักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
1.1.2 คู่มือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศึกษา
ออนไลน์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
1.1.3 รายงานผลการดาเนินโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย
1.1.4 คู่มอื 1 ห้องโรงเรยี น 1 โครงงานคณุ ธรรม สนู่ วัตกรรมโรงเรียน
1.2 ปฏิบัตงิ านตามแผนทร่ี ะบุครบทกุ กิจกรรม
ข้าพเจ้า มีโครงการระบุอยู่ในแผนปฏิบัติการของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาภเู ก็ต โดยบรรจุอย่ใู นแผนการทางานท่ีข้าพเจ้าได้วางแผนไว้และได้มีการดาเนินการตาม
แผนที่ระบุไว้ครบทกุ กิจกรรม เกดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล
1.3 สรปุ และรายงานผลการปฏิบตั ิงานที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ หน้าท่ดี ้วยความริเริ่มสร้างสรรค์
ข้าพเจ้า มีสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อหน้าท่ีด้วยความ
รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ ดังน้ี
1.3.1 รายงานการดาเนินงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
1.3.2 รายงานผลการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสการดาเนินงานของ
สถานศึกษาออนไลน์

รายงานผลการปฏิบัติงาน เพ่อื รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเยีย่ ม 63
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเยยี่ ม

1.3.3 รายงานผลการดาเนนิ การทดสอบคุณภาพผเู้ รยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 (NT)
1.3.4 รายงานการใช้คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และ
แผนการจดั ประสบการณใ์ ห้กับครูปฐมวัย
1.3.5 รายงานสรปุ การใช้คูม่ ือ 1 หอ้ งโรงเรียน 1 โครงงานคุณธรรม ส่นู วัตกรรมโรงเรยี น
1.3.6 แผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ

ตัวชว้ี ดั 2 คุณภาพงานรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์

2.1 ผลงานเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาคณุ ภาพครู นักเรยี น สถานศกึ ษา
ข้าพเจ้ามีผลงานเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพครู นักเรียน สถานศึกษา โดย

ข้าพเจ้า จัดทาคู่มือเอกสารประกอบการประชุม มีการรายงานผลหลังจากเสร็จส้ินโครงการ และบทสรุป
ผู้บรหิ าร ช้แี จงบทสรุปรายละเอยี ดสั้น ๆ ของโครงการน้นั ๆ เพ่อื ใชเ้ ป็นข้อมูลในการพฒั นาระดับต่อไป

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน เพือ่ รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศึกษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศก์ยอดเย่ียม 64
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเยยี่ ม

2.2 ปฏิบตั งิ านอย่างเป็นระบบ
ข้าพเจ้า ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตามข้ันตอน ตามแผนที่วางไว้ โดยใช้วงจร

คุณภาพเด็มมิง่ PDCA เขา้ มาช่วยในการบรหิ ารจดั งาน ทาให้การดาเนินงานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีใน
ทุก ๆ กิจกรรม มีความพร้อมทั้งคุณภาพคน (คณะกรรมการดาเนิน) พร้อมทางด้านคุณภาพการ
บริหารจัด แต่ตั้งการวางแผน การประชุมคณะกรรมการ การออกหนังสือแจ้งโรงเรียน คาส่ังแต่งตั้ง
คณะกรรมการ ทาเอกสารการเบิกจ่ายเงิน ทาบัญชีลงเวลา มีการตรวจสอบเช็คความพร้อมของ
เอกสาร วสั ดุอุปกรณ์ หอ้ งประชุม วิทยากร และดา้ นคุณภาพของงาน ที่เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

2.3 เผยแพรผ่ ลการปฏบิ ตั ิงานทีม่ คี วามคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรคต์ อ่ สาธารณชน
ข้าพเจ้า เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ต่อสาธารชน เป็น

ประโยชน์ต่อหน้าที่ คอื ข้าพเจ้า มีการรายงานผลเป็นรูปเลม่ ทันทีทท่ี างานเสรจ็ สิ้นลง และหลังจากน้ัน
รวบรวมเป็นไฟล์ เผยแพรท่ างชอ่ งทาง เว๊บไซตข์ องเขตพืน้ ท่ี Line, Link, QR-Code เปน็ ต้น

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน เพ่ือรับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศกย์ อดเยี่ยม 65
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเย่ยี ม

2.2 ผลงานดีเดน่ ด้านบรหิ ารจัดการยอดเยี่ยม ประกอบด้วย 3 องคป์ ระกอบ ดังนี้

องค์ประกอบท่ี 1 ความมคี ุณภาพ
องค์ประกอบท่ี 2 ความมีคณุ ประโยชน์
องคป์ ระกอบท่ี 3 ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์
องค์ประกอบที่ 1 ความมคี ุณภาพ

ตวั ชว้ี ัด 1 คุณลกั ษณะของผลงาน

1.1 มรี ูปแบบถกู ต้อง ครบถว้ นตามประเภทของผลงานทรี่ ะบุ
ข้าพเจ้า ได้นาเสนอผลงานเร่ือง “การนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกัน

คุณภาพภายในของสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร” โดยมีรูปแบบท่ีถูกต้อง
ครบถ้วนตามประเภทของผลงานท่รี ะบุ ดงั มีรายละเอยี ดดงั น้ี

ความเปน็ มาและความสาคัญ
การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันกับสภาพสังคม ในปัจจุบันซ่ึงมีการ

เปลยี่ นแปลงทางดา้ นวิทยาการ และเทคโนโลยตี ลอดเวลา เครอื่ งมือท่ีสาคญั ในการพฒั นาคนใหม้ ีคณุ ภาพ คือ การศึกษา ซึ่ง
เป็นกลไกหลักในการสร้างคน สร้างสังคม และสร้างชาติ ให้มีความเหมาะสมกับสภาพความต้องการทางเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง วัฒนธรรมของประเทศ และสามารถดารงชีวิต อยู่ร่วม กับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างเป็นสุข ท่ามกระแส
การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วของโลกศตวรรษท่ี 21 การศกึ ษามีบทบาทสาคัญ ในการสร้างความได้เปรยี บของประเทศ เพ่ือ
การแข่งขนั และยนื หยดั ในเวทีโลกภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจ และสังคมทเี่ ป็นพลวตั ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก จึงให้ความสาคัญ
และทุ่มเท กับการพัฒนาการศึกษา เพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของตนให้สามารถก้าวทันการเปล่ียนแปลงของระบบ
เศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ ภมู ิภาค และของโลก ควบคู่กบั การธารงรกั ษาอตั ลักษณ์ ของประเทศ สาหรับประเทศไทย
ได้ให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา การพัฒนาศักยภาพ และ ขีดความสามารถของคนไทยให้มีทักษะ ความรู้
ความสามารถ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาประเทศ ภายใต้บริบทสังคมที่มี
ความก้าวหนา้ และเปลย่ี นแปลงภายในประเทศอยูต่ ลอดเวลา เพอ่ื ให้คนไทยมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี สงั คมไทยเป็นสงั คมคุณธรรม
จริยธรรม และประเทศสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศทม่ี รี ายไดป้ านกลางไปสูป่ ระเทศทีพ่ ฒั นาแลว้ รองรับการเปลย่ี นแปลง
ของโลกทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต โดยการเปล่ียนแปลงน้นั สง่ ผลต่อระบบการศึกษา ระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทย
(สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 1, 2562 : 1)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในหมวด 16 การปฏิรูปประเทศมาตรา 258 จ. (3) ให้มี
กลไก และระบบการผลิตคัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูมีความรู้
ความสามารถอย่างแท้จริงได้รับค่าตอบแทน ท่ีเหมาะสมกับความสามารถ และประสิทธิภาพในการสอนรวมท้ังมีกลไก
สร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู (4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับ

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพอ่ื รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเย่ยี ม 66
สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา ดา้ นบริหารจัดการยอดเยี่ยม

เพ่อื ให้ผู้เรยี นสามารถเรยี นได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือบรรลุเป้าหมายดังกล่าว
โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติ และระดับพื้นท่ี (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 : 77 - 80)
นอกจากน้ยี ุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย เพื่อใหป้ ระเทศไทยบรรลุ
วสิ ัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ันค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง” โดยยุทธศาสตรท์ ่ี 4.3 ด้านการพฒั นา และเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ
เพ่อื พัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกชว่ งวัยให้เปน็ คนดี เกง่ และมีคุณภาพ มที ักษะ ทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษที่ 21 (4.2) การพฒั นา
ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัยต้ังแต่ช่วงการตั้งครรภ์ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุ่น
วัยเรียน วัยผู้ใหญ่ วัยแรงงาน และวัยผู้สูงอายุ เพื่อสร้างทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีศักยภาพมีทักษะ ความรู้ เป็นคนดี มีวินัย
เรียนรู้ได้ด้วยตนเองในทุกช่วงวัย (4.3) ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 โดย
มุ่งเนน้ ผูเ้ รยี นใหม้ ที กั ษะ การเรยี นรู้ และมีใจใฝเ่ รียนรตู้ ลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาท
ครู การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจดั การศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ ตลอดชีวติ (ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี : 43 - 44) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.
2545 มาตรา 6 ที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ (หมายถึง
สขุ กาย สขุ ใจ) สตปิ ญั ญา ความรู้ (หมายถึง เป็นคนเก่ง) และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถ
อยู่รว่ มกบั ผูอ้ ่ืนได้อย่างมีความสุข (หมายถึง เป็นคนดีของคนรอบข้างและสังคม)” และในมาตรา 7 ที่ว่า “ในกระบวนการ
เรยี นรู้ต้องมุง่ ปลูกฝงั จติ สานึกท่ีถกู ตอ้ งเกยี่ วกับการเมอื ง การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็น
ประมขุ รู้จักรกั ษา และสง่ เสรมิ สิทธิ หนา้ ที่ เสรภี าพ เคารพกฎหมาย ความเสมอภาคและศักด์ศิ รี ความเป็นมนษุ ย์ มคี วามภมู ใิ จ
ในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนร่วมของประเทศชาติ รวมท้ัง ส่งเสริม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มี
ความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพ่ึงตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง”
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2561 : 5) สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ใน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคน ทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีเป้าหมายให้ผู้เรียนมีทักษะ และ
คณุ ลักษณะพื้นฐาน ของพลเมอื งไทย มที กั ษะ และคณุ ลกั ษณะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มที ักษะความรคู้ วามสามารถ และ
สมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้ตามศักยภาพ สถานศึกษาทุกระดับ
การศกึ ษาสามารถจดั กจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รอยา่ งมคี ุณภาพ และมาตรฐานแหล่งเรียนรู้ สือ่ ตาราเรียน
นวัตกรรม และสือ่ การเรียนรู้ มีคณุ ภาพ และมาตรฐาน ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้โดยไม่จากัดเวลา และสถานท่ี มีระบบ
และกลไกการวัดการติดตาม และประเมินผลมีประสิทธิภาพ มีระบบการผลิตครูอาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้
มาตรฐานระดับสากล ตลอดทง้ั ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน (สานักงาน
เลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2560 : ญ-ฎ)

นอกจากนี้เพ่ือให้ก้าวทันกระแสการเปล่ียนแปลงในยุคที่ความรู้และเทคโนโลยีเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว
กระทรวงศึกษาธิการในยุคของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552 - 2561) ได้ประกาศวิสัยทัศน์เก่ียวกับคนไทย

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเยยี่ ม 67
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ด้านบรหิ ารจดั การยอดเยย่ี ม

ยคุ ใหมว่ ่า คนไทยยคุ ใหมต่ ้องไดเ้ รยี นรตู้ ลอดชวี ิต มีสตริ ทู้ ัน มีปัญญารู้คิด มีสมรรถนะ และมคี ณุ ธรรม รบั ผิดชอบต่อครอบครัว
ประเทศชาติ และเปน็ พลเมืองทีด่ ขี องโลก ซงึ่ สอดรบั กับจดุ มุ่งหมาย ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช
2551 ที่ได้มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ (สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน, 2561 : 5 - 6)

ส่ิงหนึ่งท่ีเชื่อม่ันได้ว่าคุณภาพของผู้เรียนจะเกิดได้ และบรรลุตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช 2560 น้ันคือคุณภาพการศึกษาจะสะท้อนคุณภาพคนที่เป็นผลผลิตของการจัดการศึกษา ตามท่ี
กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และมีการประกาศให้ใช้
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ.
2561 ลงวนั ท่ี 6 สงิ หาคม 2561 ให้สถานศึกษาใชเ้ ปน็ แนวทางดาเนนิ งานเพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาและ
เตรียมการสาหรับการประเมินภายนอก ซ่ึงจะทาให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้ส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายว่าการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษามคี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน ไดก้ าหนดการจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจดั การศกึ ษา ใหย้ ดึ หลักทส่ี าคญั
คือ มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจดั ระบบประกบั คณุ ภาพการศึกษา ทกุ ระดับและประเภทการศึกษา และใหถ้ ือว่า
การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ดังนี้การจัดศึกษาให้มี
คุณภาพได้น้ัน ต้องอาศัยครูที่มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาครู
ให้สามารถจัดกิจกรรม และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ตามมาตรฐานตัวชี้วัดได้น้ัน
บุคคลทีม่ คี วามสาคัญ และมีบทบาทสาคัญ คอื ผูบ้ ริหารโรงเรยี น ตอ้ งเปน็ บคุ คลทมี่ คี วามร้คู วามเข้าใจ และให้ความสาคัญ
กับการบริหารงานวิชาการเป็นอันดับแรก การนิเทศภายในจึงมีบทบาทสาคัญที่ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องตระหนักเห็น
ความสาคัญ และนาไปปฏิบตั ิ ในโรงเรยี นใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรมในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ปจั จุบนั การนเิ ทศภายในโรงเรียน ได้เขา้ มามบี ทบาทในโรงเรียนอย่างมาก มคี วามมงุ่ หมายเพือ่ พฒั นาบคุ ลากร
พฒั นางาน และคณุ ภาพการศึกษา ให้ครูผู้รับการนิเทศสามารถพึ่งพาตนเอง ประเมินตนเอง แก้ปัญหา และพัฒนาได้ด้วย
ตนเอง เกดิ ความตระหนักในการพฒั นาตนเอง ด้วยการศึกษาค้นคว้าเอกสารตารา และวิทยาการใหม่ ๆ การฝึกอบรม การ
สมั มนา การศึกษาดูงาน ด้วยเหตนุ ้ี จงึ ต้องมีการส่งเสรมิ การนเิ ทศภายใน อย่างจรงิ จัง อันเนื่องจากศึกษานิเทศก์ มีจานวน
ไม่เพียงพอ และเป็นบุคลากรภายนอก ย่อมไม่รู้ปัญหาภายในโรงเรียน ได้ลึกซึ้งเท่าบุคลากรภายในโรงเรียนเอง รวมท้ัง
ขา้ ราชการครู ในโรงเรียนมีโอกาสได้รับการศึกษา อบรม สัมมนา สามารถพัฒนาตนเองได้มากข้ึน แต่ผู้ท่ีมีบทบาทหน้าท่ี
โดยตรงในการนิเทศภายใน ก็คือ ผู้บริหารโรงเรียน ซึ่งมีหน้าท่ีในการหาวิธี การแก้ไขปรับปรุง และพัฒนาครู ให้มีความรู้
ความสามารถในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ คือ การสอนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ (อรรถพร จตุรพัฒนานนั ท์, 2557 : 2)

คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (2562 : 8 - 23) ได้วิจัยและการศึกษาเก็บข้อมูล จากโรงเรียนต่าง ๆ
แลว้ วิเคราะห์ ผลปรากฏเป็นท่ีชัดว่า คุณภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาอยู่ในระดับต่ามาก ไม่ได้มาตรฐานท้ังมาตรฐานของ
ไทยเองซึ่งต่าอยู่แล้ว ย่ิงเมื่อเทียบกับมาตรฐานสากล จากการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยการสอบของสถาบันทดสอบ
แห่งชาติ หรอื การสอบโอเน็ต ซ่ึงประเมินตามสิ่งท่ีมีในหลักสูตร ปรากฏผลว่า นักเรียนส่วนใหญ่สอบตก โดยได้คะแนนต่ากว่า

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพ่ือรบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศก์ยอดเยยี่ ม 68
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา ดา้ นบริหารจัดการยอดเยีย่ ม

ร้อยละ 50 ในเกือบทกุ วชิ า ทัง้ ในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 นอกจากนี้ ผลการศึกษา
ผลการสอบ PISA (Programme for International Student Assessment) ซ่ึงองค์การเพ่ือความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
และการพฒั นา (Organization for Economic Co - operation and Development หรอื OECD) จัดทาการสอบสาหรับ
คนท่ีมีอายุ 15 ปี (ตรงกับเด็กท่ีกาลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) ด้วยการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาในด้าน
ความสามารถดา้ นการอา่ น ด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ผลปรากฏว่า มาตรฐานโดยเฉลี่ยทกุ ประเทศท่จี ัดสอบทว่ั โลก
จะได้คะแนน 500 คะแนน ส่วนประเทศไทย ผลการสอบเฉลย่ี ท่ัวประเทศอยรู่ ะดบั 400 คะแนน และคงทีใ่ นระดบั นอ้ี ยตู่ ลอด
15 ปีทมี่ กี ารสอบ

จากปัญหาคุณภาพการศกึ ษาภายในประเทศทีม่ มี าตรฐานต่ากว่าเกณฑ์ขาดความเสมอภาค และมีคณุ ภาพตา่ เม่ือ
เทียบกับมาตรฐานการศกึ ษาสากล ซง่ึ จากการศึกษาสภาพของการจดั การเรยี นการสอนหรอื ห้องเรยี นของไทยปจั จบุ นั พบวา่
เนอ้ื หาสาระทีต่ อ้ งเรียนมากแต่เชือ่ มโยงกับการใช้ประโยชน์ในชีวิตน้อย สิ่งท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้ตามหลักสูตร ไม่เช่ือมโยงกับ
การใชป้ ระโยชน์ในชีวติ แมแ้ ต่เร่ืองพื้นฐาน เชน่ การดูแลสขุ ภาพตนเอง การตดั สนิ ใจ การแก้ปญั หาชวี ติ ท่ีผู้เรียนยังขาดอยู่
มาก จนเกิดปัญหาสังคมตามมาอีกหลายเรื่องการเรียนรู้ในห้องเรียนเป็นไปเพื่อใช้ในการสอบ และการศึกษาต่อ ซ่ึงเน้น
ความจาและความเขา้ ใจในรายละเอียดของเนือ้ หาท่ีเฉพาะมากกว่าท่จี ะฝกึ ทักษะคดิ และมุมมองในเร่ืองต่าง ๆ จนทาให้เกิด
วงจรซ้าซากในการเรยี นรผู้ เู้ รยี น ไดแ้ ก่ การฟงั จด ท่อง สอบ และลมื ส่งผลให้ผ้เู รยี น ไม่สามารถคดิ วเิ คราะห์ และนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์ หรือแก้ปัญหาในสถานการณ์จริงได้ ดังเช่น ผลการสอบ PISA ที่ปรากฏ และจากผลการทดสอบระดับชาติ
(O-NET) แสดงใหเ้ หน็ ว่าผูเ้ รยี นในระดบั การศกึ ษา ขัน้ พน้ื ฐานมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนต่า ในทุกกลุ่มสาระ และไม่สามารถ
แข่งขนั ได้ในโลก ซึ่งผลการวิจัยและขอ้ มลู เชิงประจักษ์ พบวา่ ปัญหาเกดิ จากกระบวนการเรียนการสอนเป็นเชงิ รับ (Passive
Learning) ทาให้ผู้เรียนไมส่ ามารถสรา้ งปัญญาไดด้ ว้ ยตนเอง

ดา้ นครู ครจู านวนไม่น้อยยังปรับตวั ไม่ทันกบั รูปแบบการเรยี นรู้ของผเู้ รียนท่ีเปล่ียนแปลงไป ตามความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยแี ละการสอ่ื สาร ครไู ม่มีเวลาและสมาธิทจี่ ะเอาใจใส่ และทาความเขา้ ใจเพือ่ พัฒนาผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คลได้ ยัง
ผกู ขาดบทบาทในการจดั การเรยี นรใู้ นรปู แบบการถ่ายทอดความรมู้ ากกว่าทจี่ ะให้ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการสรา้ งการเรียนรขู้ อง
ตนเอง โดยอาศัยส่ือเทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม กระบวนการวัดและประเมินผลครูยังใช้การวัดด้วยข้อสอบ
มากกว่าการประเมนิ สมรรถนะ ทแี่ สดงออกได้ในการแก้ปญั หาจรงิ ของผเู้ รยี น และใช้การวัดและประเมนิ ผลเพ่อื ตดั สนิ ผลการ
เรียนรู้มากกว่าท่ีจะใช้ในการวินิจฉัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล และเน้ือหาท่ีสอนมีมากในขณะท่ีเวลาการสอน ถูก
เบยี ดบงั ด้วยภารกจิ อื่น ครูจึงเร่งการสอนดว้ ยวธิ งี ่ายที่สดุ คอื บอกความรูแ้ ก่ผเู้ รยี น ร่วมท้ังไมม่ ีเวลาดูแลผูเ้ รียนอยา่ งใกลช้ ิด
เพื่อพัฒนาคุณลักษณะ และความสัมพันธ์ท่ีส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ท่ีส่งเสริมทักษะการคิด
ขัน้ สงู รวมทัง้ สภาพการณ์ในโรงเรียนไม่ส่งเสริมให้ครูสอนเป็นทีม ในสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้การสอนและการเรียนรู้
แบบบูรณาการไมส่ ัมฤทธิ์ผล

ด้านปัญหาการจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
ผูเ้ รียน จงึ ใหค้ วามสาคัญกับการเรยี นพิเศษ เพ่ือเตรยี มตัวทดสอบระดบั ชาติ และการคดั เลือกเข้ามหาวทิ ยาลัย เป้าหมายเชงิ
ผลสมั ฤทธิ์ของการศกึ ษาไม่ได้เน้นผลสัมฤทธิ์ท่ีแท้จริง ซ่ึงได้แก่สมรรถนะ ทักษะ เจตคติ และศักยภาพที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ แต่เป็นการใช้ขอ้ มูลการได้ผา่ นการศึกษาตามระยะเวลาที่กาหนด ผทู้ สี่ อบทดสอบทางการศกึ ษาท่ีได้
คะแนนตา่ มาก แต่ไดร้ บั การเล่ือนช้นั ข้นึ ไปเรยี นช้นั ที่สงู ขึ้น มีผลทาให้ผลการเรียนถดถอยลง ไม่สามารถเกิดการเรียนรู้ทาง

รายงานผลการปฏิบัติงาน เพอ่ื รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศกย์ อดเยย่ี ม 69
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ดา้ นบริหารจัดการยอดเยีย่ ม

วิชาการที่มีความซับซ้อนยิ่งข้ึน ดังจะเห็นได้จากค่าเฉลี่ยผลการทดสอบลดต่าลงเม่ืออยู่ในชั้นที่สูงข้ึน และปัญหาผู้เรียน
มคี วามบกพรอ่ งทาให้อา่ นไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ หรืออ่านไม่คลอ่ งเขียนไม่คลอ่ ง ซึ่งถอื ว่าเปน็ เรอื่ งพ้ืนฐานและหัวใจหลัก ของ
การศึกษาในทุกวิชา ทาให้ไม่สามารถเรียนรู้ได้เต็มที่ ปัญหาเหล่านี้ไม่ได้รับการแก้ไขตั้งแต่เร่ิมต้น จะมีผลกระทบเพ่ิมมากข้ึนต่อ
การเรยี นรู้ และหลักสูตรในปจั จบุ ันเปน็ หลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standard-based Curriculum) ไดก้ าหนดมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดไวจ้ านวนมากทั้ง 8 กลุ่มสาระในทุกระดับช้ัน แต่ยังไม่ได้ให้ความสาคัญกับสมรรถนะอย่างเพียงพอ แม้จะมีการ
กาหนดสมรรถนะหลักไว้ 5 สมรรถนะ แต่ก็ยังขาดแนวทางการพัฒนาสมรรถนะที่เช่ือมโยงกับการจัดการเรียนการสอนใน
สาระวชิ าการต่าง ๆ

นอกจากน้ีด้านผู้บรหิ ารโรงเรยี นส่วนหนึ่งยังขาดภาวะผู้นาทางวิชาการ ไม่สามารถวางระบบการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน ไม่สามารถช่วยเหลอื ครใู นการพฒั นางานและพฒั นาผูเ้ รยี นได้เตม็ ที่ ในการปฏิบัติงานผู้บริหารสถานศึกษาไม่มีเวลา
บริหารสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี เพราะนอกจากไมส่ ามารถรบั ผดิ ชอบในการปรบั โรงเรียนให้มผี ลสัมฤทธ์ิทีพ่ ึงประสงค์ และ
เป็นผนู้ าทางวิชาไดแ้ ล้ว ยงั เปน็ ฝา่ ยรับนโยบายใหม่ ๆ มาปฏบิ ัติ แม้ว่าจะไมส่ อดคลอ้ งกบั บริบทโรงเรยี นในการคิดค้นวธิ กี าร
เป็นของตนเองได้ การพจิ ารณาผลงานก็ใชผ้ ลการสอบ O-NET ของนักเรียนในโรงเรียน

จากการดาเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาภูเกต็ ในปกี ารศึกษา 2561 ทง้ั ผลการทดสอบวัดความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test :
NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละทุกด้านต่ากว่าระดับประเทศ และผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ (O-NET) ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าปี
การศกึ ษา 2560 แตเ่ มอ่ื พจิ ารณาเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ก็พบว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละยังต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ระดับประเทศ ระดับประเทศ ซ่ึงหากพิจารณาเป้าหมายการจัดการศึกษาที่แท้จริง ของการบริหารจัดการหลักสูตร ใน
ปจั จุบัน ท่ใี ช้มาตรฐานเปน็ เป้าหมาย หรือหลักสูตรองิ มาตรฐาน สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาและสถานศกึ ษาจะให้น้าหนัก
ไปท่ีผลการทดสอบวัดความรู้พื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(NT) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ไม่
เพียงพอ ซ่ึงสานักงานสภาการศึกษา และสานักงานประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา (สมศ.) เน้นคุณภาพไปท่ี
คณุ ภาพผู้เรียนดา้ นวิชาการ และคุณลกั ษณะคู่กัน โดยมอี ทิ ธิพลการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และการ
จดั การเรยี นการสอนของครู คุณภาพการจดั การศกึ ษาตามหลักสตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ของโรงเรียนในสังกัดสานกั งานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ตในปีการศึกษา 2561 จึงคานึงถึงผลด้านคุณภาพผู้เรียน คุณภาพการบริหารและการ
จดั การ และคณุ ภาพดา้ นการจดั การเรยี นการสอนของครู สอดคล้องกบั การรายงานผลการประเมนิ ตนเอง (SAR) ของโรงเรยี น
ในสงั กัดส่วนใหญย่ ังประสบปญั หาคล้ายคลงึ กนั ท้งั 3 คอื ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น คุณภาพการบรหิ ารและการจัดการ และดา้ น
การจดั การเรยี นการสอนของครู ซ่ึงระบบนิเทศภายในสถานศกึ ษาในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต
ขาดระบบ ขาดกระบวนการ ขาดกิจกรรมนิเทศภายในเพื่อตอบสนองคุณภาพจากการบริหารจัดการศึกษา ตามหลักสูตร
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน แบบองิ มาตรฐาน โดยผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและครูส่วนใหญ่ยงั ขาด การออกแบบโครงการ/แผนปฏิบัติ
การประจาปี และกจิ กรรมที่เปน็ แบบองคร์ วมทงั้ ระบบ (Holistic) เพอื่ ที่จะประกันคณุ ภาพ การจัดการศึกษาของตนเอง ขาด
ความรคู้ วามเขา้ ใจในกระบวนการ/ข้นั ตอนการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาอย่างแทจ้ ริง

กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาภเู กต็ ได้ตระหนกั

และเห็นถึงความสาคัญของการนิเทศการศึกษา ซึ่งเป็นหน้าท่ีโดยตรงของศึกษานิเทศก์ ที่ต้องปฏิบัติงานนิเทศ เพื่อ

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพื่อรับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเยย่ี ม 70
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเย่ยี ม

ช่วยเหลอื แนะนา ชี้แนะ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ประสบผลสาเร็จ ทันต่อสภาพการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น อีกทั้ง
เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยเหลือสนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอน มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา จึงได้กาหนดทิศทางการนิเทศภายในโรงเรียนข้ึน ท้ังสร้างความเข้มแข็งการนิเทศภายในโรงเรียนให้มี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ดว้ ยกระบวนการกาหนดทศิ ทางการนเิ ทศภายในโรงเรียน รวมทงั้ การสร้างความเข้มแข็งการ
นิเทศภายในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลน้ัน เป็นสิ่งที่ต้องอาศัยพลังความร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมสร้างจิต
ตระหนัก ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ต้องดาเนินการด้วยหลักของกัลยาณมิตร ในบทบาทของ
ศึกษานเิ ทศก์ จะตอ้ งสร้างกระบวนการ/กิจกรรมให้เปน็ รปู ธรรม โดยอาศยั พลงั ของผบู้ รหิ าร และทีมบริหารสถานศกึ ษาเป็น
กลไกในการนิเทศภายใน การจดั ระบบของกิจกรรมใหร้ ่วมแรงร่วมใจแบบกัลยาณมิตร และเกิดพลังขับเคลื่อนเป็นส่ิงสาคัญ
การวางแผนกิจกรรมเป็นเสมือนงานในหน้าท่ีกิจวัตรประจาวัน และมีปฏิทินร่วมพัฒนา ร่วมขับเคล่ือน จนเกิดคุณภาพ
สามารถตอบโจทยค์ า่ เป้าหมายของสถานศกึ ษาทก่ี าหนดไวต้ ้นปีการศึกษา การนิเทศภายในโรงเรียน แบบกัลยาณมิตรจึงมี
ความสาคญั เป็นอยา่ งย่งิ

1.2 ผลงานมีความสอดคล้องกับความรู้ความสามารถ และการปฏิบัติหน้าที่ในด้าน

ทข่ี อรับการประเมินคดั เลือก

ข้าพเจ้า มผี ลงานทมี่ ีความสอดคล้องกบั ความรคู้ วามสามารถ และการปฏิบัติหน้าท่ี

ในดา้ นทข่ี อรบั การประเมนิ คดั เลือก มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี

กระบวนการดาเนินการนเิ ทศภายในของโรงเรียน
แนวทางการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วย

กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร 3 ข้ันตอน 4 ขั้นงาน เด่นด้วย 4 จ. โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็ มีข้ันตอน ดงั นี้

ขน้ั ตอนท่ี 1 ก่อนดาเนนิ การนเิ ทศภายในโรงเรียน
ขั้นงานท่ี 1 คิดงาน เป็นข้ันตอนพ้ืนฐานท่ีถือว่าสาคัญที่สุด ก่อนโรงเรียนจะดาเนินการนิเทศภายใน

โรงเรียน โรงเรียนต้องทบทวนผลการประเมินคุณภาพภายในปีการศึกษาท่ีผ่านมา นาผลการประเมินภายใน ทั้งระดับ
ปฐมวัย มี 3 มาตรฐาน 14 ประเดน็ พจิ ารณา และ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มี 3 มาตรฐาน 21 ประเด็นพิจารณา ซ่ึงเป็น
ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการดาเนินงานของปกี ารศึกษาปที ีผ่ ่านมาดาเนนิ การวเิ คราะห์จุดเด่น จุดด้อย แล้ววิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย
การดาเนนิ งาน ประกอบ 2 กิจกรรม คอื

กิจกรรมที่ 1 ทบทวนผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในโรงเรยี นปที ผี่ ่านมา
กิจกรรมท่ี 2 การวเิ คราะหจ์ ุดเดน่ จุดควรพฒั นา จากผลการประเมนิ ภายในโรงเรียนปีท่ีผ่านมา
ขั้นงานที่ 2 ทางาน เป็นขั้นที่โรงเรียนต้องร่วมกันกาหนดค่าเป้าหมาย โดยการประชุมวางแผนนาผล
การประเมนิ ภายในของปีการศึกษาทีผ่ า่ นมา มาศึกษาเพื่อวิเคราะห์ความต้องการ และประเมินความต้องการจาเป็นในการ
พัฒนาระบบการนิเทศภายในโรงเรียน หาจุดเด่น จุดด้อย จุดพัฒนา กาหนดค่าเป้าหมาย กาหนดกิจกรรม/โครงการ

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพื่อรบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเยี่ยม 71
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเยี่ยม

ปฏิทิน วางแผนจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อพัฒนาให้เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนด โดยใช้หลักการท่ีมีค่า
เป้าหมายท่ีกาหนดข้นึ เท่ากบั หรือสูงกว่าผล การประเมินตนเองของปีการศึกษาท่ีผ่านมา หรือกาหนดค่าเป้าหมายข้ึนมา
ใหม่ โดยโรงเรียนกรอกรายละเอียดลงในแบบบันทึกการประเมินภายใน ปีการศึกษาที่ผ่านมา ตามกิจกรรมที่ 1 และ แบบ
บนั ทึก การกาหนดต้ังคา่ เป้าหมายกอ่ นดาเนินการนิเทศ ปกี ารศกึ ษาน้ี ตามกจิ กรรมมรี ายละเอียด ดงั ต่อไปนี้

กิจกรรมที่ 3 การกาหนดคา่ เป้าหมาย การประเมนิ ภายในของโรงเรยี น
กจิ กรรมท่ี 4 การวางแผนจดั ทาโครงการ/กิจกรรม เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตามระบบประกนั คณุ ภาพ

การศึกษา

กิจกรรมที่ 5 การจัดทาโครงการนิเทศ เพ่ือกากับ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศ ระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา ดว้ ยกระบวนการนิเทศแบบกลั ยาณมิตร

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดาเนนิ การนเิ ทศภายในโรงเรียนด้วยกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร
กิจกรรมท่ี 6 การออกคาส่ัง และแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบ

กัลยาณมิตร สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
ขน้ั งานที่ 3 ตดิ ตามงาน เปน็ การสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารโรงเรียน และคณะครูในโรงเรียน เพื่อ

ดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน ซ่ึงเป็นการนาแผนปฏิบัติการนิเทศสู่การปฏิบัติการ เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการ
หรอื ค่าเปา้ หมายที่โรงเรยี นได้กาหนดไว้ ด้วยกระบวนการนิเทศ แบบกัลยาณมิตร เด่นด้วย 4 จ. คือ ให้ใจ ร่วมใจ ตั้งใจ
และเปดิ ใจ

1. ใหใ้ จ : สร้างความเป็นมิตร
2. ร่วมใจ : ร่วมคิดวางแผน
3. ต้งั ใจ : กระบวนการเนน้
4. เปดิ ใจ : นเิ ทศศรทั ธา
ใหใ้ จ : สรา้ งความเป็นมติ ร การสร้างความเปน็ มติ รดว้ ยการ “ใหใ้ จ” ระหว่างผู้นิเทศ กับผู้รับการนิเทศ
การสร้างบรรยากาศความเป็นกันเอง รอยย้ิม การพูดจาท่ีสุภาพสร้างสรรค์ ร่วมสร้างขวัญกาลังใจ ผู้รับการนิเทศควร
ไดร้ บั การเสริมกาลังใจ โดยเฉพาะจากฝ่ายบรหิ าร เพื่อให้ผทู้ ่ีไดร้ บั การนเิ ทศ มีความม่ันใจ และปฏิบัติงานด้วยความพึง
พอใจ การสร้างขวัญ และกาลังใจควรปฏิบัติไปพร้อม ๆ กันกับการทางานจึงจะได้ผลตามวัตถุประสงค์ และมีพลังของ
ความเปน็ กลั ยาณมิตร
รว่ มใจ : รว่ มคดิ วางแผน รว่ มใจด้วยการรว่ มคิด ร่วมทางาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน เป็นการ
สรา้ งความรว่ มมอื ของผู้บรหิ ารโรงเรยี น และคณะครูในโรงเรียน วางแผนร่วมกันโดยการนาข้อมูลจากการวิเคราะห์ มา
จัดลาดับความสาคัญของปัญหา และความต้องการท่ีต้องการพัฒนาอย่างเร่งด่วนของโรงเรียนโดยร่วมกันพิจารณา
กาหนดทางเลือก นาค่าเป้าหมายท่ีกาหนดไว้มาวางแผนการนิเทศ กาหนดปฏิทินการนิเทศ มีกิจกรรม/โครงการ สร้าง
เครอ่ื งมือนิเทศ และจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ เพอ่ื พฒั นา สู่ค่าเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ด้วยความร่วมใจปฏิบัติการนิเทศ
อยา่ งเป็นกัลยาณมิตร
ตงั้ ใจ : กระบวนการเน้น มคี วามตง้ั ใจรว่ มกัน เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพในการทางาน ด้วยความมุ่งมั่น
ตั้งใจอย่างแน่วแน่ สู่ค่าเป้าหมายท่ีวางไว้ ด้วยกระบวนการปฏิบัติการนิเทศอย่างเป็นกัลยาณมิตรให้เป็นไปตาม
แผนปฏิบัตกิ ารนเิ ทศทกี่ าหนดไว้ เปน็ กระบวนการปฏิบตั ิงานทต่ี อ้ งไดร้ บั ความร่วมมอื จากบคุ ลากรทกุ ฝ่าย กลา่ วคอื

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพื่อรับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเย่ยี ม 72
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ด้านบริหารจดั การยอดเยี่ยม

1. ผู้รับการนิเทศ เป็นขั้นท่ีผู้รับการนิเทศลงมือปฏิบัติงานตามความรู้ ความสามารถในภาระงานที่ได้รับ
มอบหมาย

2. ผู้ให้การนิเทศ เป็นขั้นท่ีผู้ให้การนิเทศจะทาการนิเทศ และดูแลให้ผู้รับการนิเทศได้ทางานสาเร็จ
ตามทว่ี างไว้

3. ผู้บริหารเป็นผู้ท่ีสนับสนุนการนิเทศ เป็นขั้นที่ผู้บริหารโรงเรียนจะให้การสนับสนุนในเรื่องงบประมาณ
คา่ ใช้จ่าย วสั ดุ ตลอดจนเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ที่ช่วยให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างราบรื่น ส่งผล ให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง
มปี ระสิทธภิ าพ และบรรลุผลตามวตั ถุประสงคท์ วี่ างไว้

เปิดใจ : นิเทศศรัทธา ผู้ให้การนิเทศ สะท้อนผลการนิเทศ และผู้ได้รับการนิเทศ เปิดใจยอมรับผลการ
ประเมนิ ที่สะทอ้ นผลจากการปฏิบัติการนิเทศดว้ ยความเป็นกัลยาณมิตร เพ่อื นาผลมาปรับปรุง และพัฒนา ในการขับเคลื่อน
ต่อยอดในการปฏิบัติการนเิ ทศในครั้งต่อ ๆ ไป โดยมุ่งม่ันสู่เป้าหมาย ช่วยกันแก้ปัญหา และถือว่าผลงาน คือ คุณภาพของ
ผเู้ รยี น

กิจกรรมที่ 7 การกากบั ตดิ ตามการจดั กจิ กรรมนเิ ทศภายใน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ด้วยกระบวนการนิเทศแบบกลั ยาณมติ ร

ข้ันตอนที่ 3 ขนั้ หลังการดาเนนิ การนเิ ทศ

ขน้ั งานท่ี 4 สรุปงาน

กจิ กรรมท่ี 8 การเปรียบเทยี บคา่ เปา้ หมาย กับผลการประเมนิ

กิจกรรมท่ี 9 การกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และนเิ ทศการประเมนิ คณุ ภาพในสถานศกึ ษา

กจิ กรรมที่ 10 การประเมินความพงึ พอใจที่มตี อ่ การนเิ ทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกนั คุณภาพภายใน

สถานศกึ ษาดว้ ยกระบวนการแบบกลั ยาณมิตรของโรงเรยี นในสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาภูเกต็

1.3 รูปแบบการจัดพมิ พ์ จัดรูปเลม่ การนาเสนอ นา่ สนใจมกี ารจดั เรียงลาดบั อยา่ ง

เปน็ ข้นั ตอน

ข้าพเจ้า จัดรูปแบบการจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มการนาเสนอ น่าสนใจมีการจัดเรียงลาดับ

อย่างเปน็ ข้ันตอน มีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้

สว่ นประกอบของรายงานทสี่ าคัญมี 3 ส่วน คอื หมวดนาเรื่อง หมวดเนือ้ เรอื่ ง และหมวดอา้ งอิง
1. หมวดนาเรอื่ ง หรือสว่ นหน้า ประกอบด้วย

1.1 ปกหนา้ หรือปกนอก คอื ส่วนท่อี ยู่หนา้ สุด หรอื นอกสดุ ของเลม่
1.2 ปกใน เป็นใบรองปกอย่ตู อ่ จากปกนอก
1.3 คานาเป็นการเขียนสรุปกรอบของการทางาน/โครงการ ผลงานทางวิชาการอย่างย่อ ๆ และกล่าว
ขอบคณุ ผู้เก่ียวขอ้ งทช่ี ว่ ยให้งานสาเรจ็
1.4 สารบญั เปน็ ดัชนบี อกการเรยี งลาดับเนื้อเรื่อง สารบัญ ภาพประกอบ
2. หมวดเนือ้ เร่อื ง หรือสว่ นเน้อื หา ประกอบด้วย
บทนา

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน เพ่ือรบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศกย์ อดเยี่ยม 73
สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจัดการยอดเยย่ี ม

แนวคดิ ทฤษฎหี ลกั วิชาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
วธิ กี ารดาเนนิ งานนเิ ทศภายในโรงเรียน
ผลการดาเนินงานการนเิ ทศภายในโรงเรยี น
สรปุ อภิปรายผลดาเนินงานการนเิ ทศภายในโรงเรียน และข้อเสนอแนะ

บทนา กล่าวถงึ ความนา การกาหนดปญั หา จุดประสงคใ์ นการนิเทศภายในโรงเรยี น ขอบเขตของการนเิ ทศ
ภายในโรงเรียน นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ

ความนา
ควรกล่าวถงึ
1. จุดมุ่งหมายของการนเิ ทศวิชา/งานว่าสอดคล้องกับนโยบายตน้ สังกัดท่ีส่งเสรมิ ในเรอ่ื งที่นิเทศ
ภายในโรงเรยี น หรืองานทร่ี บั ผิดชอบอยู่
2. เสนอขอ้ มูลพ้นื ฐานในการปฏบิ ัตงิ านนิเทศภายในโรงเรยี น หรือสภาพการปฏบิ ัติงาน/การจดั การ
เรียนการสอนของครูในโรงเรยี นปจั จุบัน
การกาหนดปัญหา
ควรกล่าวถงึ
1. สภาพปัญหาการนเิ ทศวิชา/งานท่ีประสบอยู่ หรือการจัดการเรียนการสอนของครูในวิชาดังกล่าว แสดง
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่ผ่านมา อาจจะมีตัวเลข สถิติประกอบเป็นค่าร้อยละคะแนนเฉล่ีย หรือกราฟ/แผนภูมิ
ในช่วงเวลายอ้ นหลงั ทผ่ี า่ นมา
2. สรุปแนวทางการดาเนนิ การแก้ปัญหา/พัฒนางานนเิ ทศการจัดการเรียนการสอน หรือ งานสนับสนุนการ
สอนตามทีค่ ิดว่าจะจดั ทาเป็นเทคนคิ การนเิ ทศ หรอื ผลงาน/สอื่ /เอกสารประกอบการนเิ ทศ ฯลฯ
จุดประสงคใ์ นการนิเทศภายในโรงเรียน
ควรเขียนเป็นขอ้ ๆ กล่าวถงึ ผลทต่ี ้องการให้เกดิ ขึ้น หลงั จากดาเนินการนิเทศแล้ว โดยเขียนให้สอดคล้อง
กับปญั หาท่กี ล่าวในบทนา
ขอบเขตของการนเิ ทศภายในโรงเรียน
ควรเขียนถงึ ขอบเขตของเนือ้ หาสาระการดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรยี น กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาใน
ข้อกาหนด และขอ้ จากัดเฉพาะเรื่องน้ี
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
เขยี นเฉพาะนิยามศัพท์คาสาคัญ หรือคาทีไ่ ม่แนใ่ จว่าผ้อู า่ นจะเขา้ ใจตรงกันทุกคน ถ้ามีศพั ทบ์ ัญญตั ิแลว้
ตอ้ งใชศ้ พั ท์บญั ญตั ิ
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
กล่าวถึงประโยชน์ของการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียนว่า เมื่อดาเนินการสาเร็จแล้ว จะเกิด
ประโยชน์อะไรบ้าง หรือเกิดผลกระทบอะไรบ้าง ควรเขียนให้สอดคลอ้ งกับความเป็นมาของปญั หา หรือความนา

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเย่ียม 74
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเย่ยี ม

แนวคดิ ทฤษฎหี ลักวิชาทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
ควรกลา่ วถงึ หลักวชิ าการหรอื แนวคดิ ทฤษฎีทางการนิเทศภายในโรงเรียนท่ผี ปู้ ฏบิ ัตงิ านได้ศึกษาค้นคว้าแล้วนามา
วเิ คราะห์ สังเคราะหเ์ พ่ือสรุปเป็นแนวคิด หลกั การของตนในการดาเนนิ การวชิ า/งาน นอี้ าจเขียนเรียงลาดับ ดงั นี้
1. ความนา สรปุ ภาพรวมของการศกึ ษาค้นคว้า และจัดหมวดหมเู่ น้อื เรือ่ งที่นาเสนอเป็นตอน ๆ เพื่อใหผ้ ้อู ่านเกดิ
ความเข้าใจในภาพรวมของเอกสาร และหลักวิชาท่อี า้ งองิ ท้งั หมด
2. ความหมายของหลักการ ทน่ี ามาอ้างอิง และคาอธิบายแนวคิด วิธีการท่ีกล่าวอ้าง แล้วสรุป ลงท้ายเร่ือง
แต่ละเรือ่ ง หรือแต่ละหลักการ แนวคดิ ทีอ่ า้ งน้นั วา่ เกยี่ วข้องหรือนาไปใช้ในการนิเทศภายในโรงเรียนครัง้ นอี้ ย่างไร
วิธีการดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน เป็นการบรรยายให้เห็นภาพต้ังแต่การเริ่มต้นดาเนินงานนิเทศ
จนเสร็จสิ้นการนิเทศ ซึ่งอาจเขียนเป็นขั้นตอน เช่น การหาความต้องการจาเป็นในการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การ
เตรียมการนิเทศ การดาเนินการนิเทศ การประเมินผล และปรับปรุง ซึ่งในบทนี้ ต้องเขียนให้ละเอียดว่าได้ทาอะไรบ้าง
ต้ังแต่เริ่มต้นลงมือดาเนินการโดยเขียนตามข้ันตอนการดาเนินงาน/กิจกรรม หรือการดาเนินงานเชิงระบบของการนิเทศ
ภายในโรงเรยี น
1. ศกึ ษาหาความต้องการจาเปน็ ในการนิเทศภายในโรงเรยี น

(เขยี นรายละเอยี ดให้ชดั เจนมากขนึ้ กว่าบทท่ี 1)
2. การวางแผนการนิเทศภายในโรงเรียน โดยศึกษาค้นคว้าเอกสารวิชาการต่าง ๆ ด้านการนิเทศ เพ่ือ
ตัดสินใจเลือกรูปแบบหรือวิธีการนิเทศวิชา/งานที่รับผิดชอบ (สรุปจากเนื้อหาที่เขียนไว้ในบทท่ี 2) ระบุกาหนดการนิเทศ
กลุ่มเปา้ หมายทีร่ ับการนเิ ทศภายในโรงเรียน
3. การเตรียมการนิเทศภายในโรงเรียน โดยการผลิตรูปแบบ หรือวิธีการ/กิจกรรมการดาเนินการนิเทศ
ที่ใช้ดาเนินการแก้ปัญหา/พัฒนาคุณภาพการศึกษาในวิชา/งานท่ีรับผิดชอบ อย่างไร/โดยวิธีการใด ยกตัวอย่างประกอบ
(หรืออธิบายวิธีการสร้างสื่อนิเทศ/วิธีการนิเทศให้ชัดเจนตามสภาพที่ปฏิบัติจริง) รวมทั้งสร้างเครื่องมือประเมินผล/
ตรวจวดั ความสาเร็จของการนิเทศ วิธีการสร้างทาอย่างไร เครื่องมือมีลักษณะอย่างไร นาไปใช้ในขั้นตอนใดของการนิเทศ
หาคุณภาพเครอ่ื งมือด้วยวธิ ใี ด
4. การดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียน ใหร้ ะบุข้ันตอนการดาเนินการนิเทศ สภาพการนิเทศ ท่ีปฏิบัติจริง
บรรยากาศการนิเทศ เทคนิคการนิเทศท่ีใช้ รูปแบบ/วิธีการนิเทศ รายละเอียดการนิเทศ แต่ละประเภท เช่น การนิเทศ
ทางไกล การนเิ ทศเปน็ กลมุ่ /รายบุคคล การนิเทศแบบประชมุ สมั มนา การนิเทศแบบให้คาปรกึ ษาหารอื การนิเทศแบบคลินกิ
เป็นตน้ (อาจจะนาเสนอรายละเอียด โดยมีแผนภาพประกอบแลว้ ขยายความว่าแตล่ ะกรอบทาอย่างไร)
5. การประเมนิ และปรบั ปรงุ การนิเทศภายในโรงเรียน เขียนรายละเอียดของการประเมินผล การนิเทศว่า
ใช้รูปแบบการประเมินแบบใด และมีรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องมือการะประเมิน ตลอดจนแนวทางการพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการนิเทศ
ผลการดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน เป็นการรายงานผลการนิเทศตามจุดประสงค์ของการนิเทศ ผลการ
วเิ คราะหข์ ้อมลู จากการใชส้ ื่อ นิเทศ หรือผลการประเมนิ การนเิ ทศวิชา/งาน น้ัน ๆ ว่ามีผลเกิดขึ้น ตรงตามจุดประสงค์ท่ีกาหนด
ไวม้ ากน้อยเพยี งใด บทน้เี ปน็ การรายงานผลทไี่ ดจ้ ากการประเมนิ ผลการนเิ ทศภายในโรงเรยี นว่า เมอื่ ดาเนนิ การ ตามรปู แบบ
หรอื วิธกี ารในบทท่ี 3 แลว้ มผี ลเกิดขน้ึ ตามจุดประสงค์ หรือไมม่ ากน้อยเพยี งใด การรายงานอาจดาเนนิ การ ดังน้ี

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน เพือ่ รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเยี่ยม 75
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจัดการยอดเยีย่ ม

ผลการดาเนินการนิเทศภายใน
ขั้นตอนท่ี 1 ข้นั ก่อนดาเนินการนเิ ทศ มี 2 ขนั้ งาน
ข้นั งานท่ี 1 คดิ งาน ประกอบด้วย 2 กิจกรรม
ครั้งท่ี 1 กิจกรรมท่ี 1 (ตามแบบบันทึกกิจกรรมที่ 1) ดาเนินการระดับ...........
คร้งั ที่ 2 กิจกรรมที่ 2 (ตามแบบบันทึกกิจกรรมที่ 2) ดาเนินการระดับ...........
ขั้นงานท่ี 2 ทางาน ประกอบด้วย 3 กิจกรรม
ครั้งท่ี 3 กิจกรรมท่ี 3 (ตามแบบบันทกึ กิจกรรมที่ 3) ดาเนินการระดับ..............
ครั้งท่ี 4 กจิ กรรมท่ี 4 (ตามแบบบันทกึ กิจกรรมท่ี 4) ดาเนินการระดับ..............
ครั้งท่ี 5 กจิ กรรมท่ี 5 (ตามแบบบันทกึ กิจกรรมที่ 5) ดาเนินการระดับ...........

ข้ันตอนที่ 2 ขั้นดาเนินการนิเทศ มี 1 ขั้นงาน
คร้ังท่ี 6 กิจกรรมที่ 6 (ตามแบบบันทึกกิจกรรมที่ 6) ดาเนินการระดับ...........

ขั้นงานท่ี 3 ติดตามงาน ประกอบดว้ ย 2 กจิ กรรม
ครั้งท่ี 7 กิจกรรมท่ี 7 (ตามแบบบันทกึ กิจกรรมที่ 7) ดาเนินการระดับ...........
ครั้งที่ 8 กากับ ตดิ ตาม ทุกขั้นทด่ี าเนินงานตามกิจกรรมที่ 1 - 6
ผลการดาเนินการ ภาพรวมระดับ .....................

ขน้ั ตอนที่ 3 ข้ันหลงั การดาเนนิ การนเิ ทศ มี 1 ขนั้ งาน
ข้นั งานท่ี 4 สรปุ งาน ประกอบด้วย 3 กจิ กรรม
กิจกรรมท่ี 8 การเปรยี บเทยี บค่าเป้าหมาย กบั ผลการประเมิน ปีการศึกษา 2562
กจิ กรรมท่ี 9 กากบั ติดตาม และประเมินผลการนิเทศการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
กจิ กรรมท่ี 10 การประเมินความพึงพอใจทมี่ ตี อ่ การนเิ ทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคณุ ภาพ

ภายในสถานศกึ ษาดว้ ยกระบวนการนเิ ทศแบบกลั ยาณมิตร ของโรงเรียนในสงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต
บทสรปุ อภปิ รายผลการดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน และข้อเสนอแนะ เป็นการสรุปผล การดาเนินงาน

นเิ ทศภายในโรงเรยี น ซึ่งทกุ ขัน้ ตอนควรมีการอภิปรายผลการสรุป พร้อมให้ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการนิเทศต่อไป บทนี้
ควรขนึ้ ตน้ ด้วยความนาโดยยอ่ ถึงการดาเนนิ งานนเิ ทศวชิ า/งานทรี่ ับผิดชอบ อาจเขียนแยกเปน็ แตล่ ะตอน ดงั น้ี

สรุป เขียนดงั นี้
1. สรุปจดุ ประสงค์ของการนเิ ทศ และวิธีการนเิ ทศโดยยอ่ (มาจากรายละเอยี ดทเี่ ขยี นไวใ้ นบทท่ี 1 และบทที่ 3)
2. สรปุ ผล เขยี นเฉพาะผลตามจดุ ประสงค์ของการนเิ ทศตามรูปแบบการประเมนิ ท่ีกาหนดไมต่ อ้ งแสดง
ตาราง แผนภูมใิ ด ๆ
อภิปรายผล เขยี นดงั นี้
เขียนเพ่ือแสดงให้เห็นว่า ผลท่ีได้จากการนิเทศ สอดคล้อง หรือขัดแย้งกับหลักการแนวคิดทฤษฎี หรือผลงาน
ท่ีผู้อ่ืนทาไว้อย่างไร ถ้าสอดคล้องก็จะทาให้ผลการดาเนินงานมีความน่าเช่ือถือได้มาก และยืนยันแนวคิด ทฤษฎีท่ีอ้างอิง
ถา้ หากขัดแยง้ ก็ให้เสนอความคดิ เหน็ หรอื เหตผุ ล หรอื ขอ้ บกพรอ่ ง หรือขอ้ จากัดท่ที าให้ผลเป็นเชน่ น้ัน (อาจแยกเขียนเป็นข้อ ๆ
ตามผลการดาเนนิ งาน หรือจุดประสงคก์ ไ็ ด้)

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพอ่ื รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเย่ยี ม 76
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา ด้านบริหารจดั การยอดเย่ียม

ขอ้ เสนอแนะ ควรเขยี นไว้ 2 แบบ คอื
1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการนิเทศไปใช้ ตลอดจนการพฒั นาหรือปรับปรุงการนิเทศ ในโอกาสต่อไป โดยเขียน
ใหส้ อดคล้องกบั ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับทรี่ ะบไุ วใ้ นบทท่ี 1
2. ข้อเสนอแนะในการดาเนินงานนิเทศในรูปแบบอ่ืน ๆ หรือวิธีการนิเทศอื่นที่คาดว่าจะดาเนินการได้ผล ซึ่งยัง
ไมไ่ ด้นามาดาเนินการในครง้ั นี้
3. หมวดอา้ งองิ หรอื สว่ นหลงั ประกอบดว้ ย

3.1 บรรณานกุ รม เปน็ การเขียนลาดับรายช่อื เอกสารตารา สอ่ื วัสดุอา้ งอิง หรือศึกษา ค้นคว้าในการ
จัดทางาน โครงการ และผลงานทางวชิ าการ

3.2 ภาคผนวก เป็นข้อมูลเฉพาะเจาะจง เพื่อขยาย หรือเป็นส่วนประกอบท่ีช่วยให้เข้าใจส่วนเนื้อหา
มากยงิ่ ข้นึ อนั เป็นสว่ นทไ่ี ม่สมควรจะนาไปใชใ้ นหมวดเนื้อเรอ่ื ง เพราะอาจจะดรู งุ รงั เกนิ ไป

ตวั ชว้ี ดั 2 คณุ ภาพขององค์ประกอบในผลงาน
2.1 วัตถุประสงค์ เป้าหมายของกระบวนการสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ

พัฒนา
ขา้ พเจ้า เหน็ ความสาคญั ของคุณภาพประกอบในผลงาน จึงได้กาหนดวัตถุประสงค์

เป้าหมายของกระบวนการสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาความต้องการพัฒนา มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

วัตถุประสงค์
การนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร

สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็ มวี ัตถุประสงค์ในการดาเนินงานดังนี้
1. เพอ่ื เป็นแนวทางให้โรงเรียนกาหนดค่าเป้าหมาย ประเด็นพิจารณาก่อนการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียน

ตามระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนเิ ทศแบบกัลยาณมิตร
2. เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาผลการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายใน

สถานศกึ ษา ด้วยกระบวนการนเิ ทศแบบกัลยาณมติ ร
3. เพือ่ เปรียบเทยี บค่าเป้าหมายก่อนนิเทศภายใน กับผลการดาเนินงานหลังการนิเทศภายใน ตามระบบประกัน

คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ดว้ ยกระบวนการนเิ ทศแบบกัลยาณมติ ร
4. เพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจทีม่ ตี อ่ การดาเนนิ การนเิ ทศด้วยกระบวนการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร

2.2 ความสมบรู ณ์ของเนอื้ หาสาระ
ขา้ พเจ้า ได้ศึกษาเอกสาร ตารา และดาเนินการตามระเบียบวิธีวิจัย รวมถึงการปรึกษา

ผู้เช่ียวชาญในสาขาต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง จึงทาให้กระบวนการวิเคราะห์วิจัยถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย
และมี ผลการวิเคราะห์วิจัยสามารถนาไปใช้พัฒนาและแก้ปัญหาได้ นามาซ่ึงคุณภาพขององค์ประกอบ
ในผลงาน

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเย่ยี ม 77
สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเยย่ี ม

2.3 ความถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ
ข้าพเจ้า ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศ

ภายในโรงเรียน ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รวมถึงกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร
แลว้ นาความรูท้ ี่ไดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ จากเอกสาร ตารา บทความ และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องมาจัดทา
คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศ
แบบกัลยาณมิตร หาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยมีผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน
ตรวจสอบความถูกต้องตามโครงสร้างและเน้ือหา คานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อความกับ
ประเดน็ หลัก (IOC)

ตัวชวี้ ดั 3 การออกแบบกระบวนการบริหารจัดการ

3.1 มีแนวคดิ ทฤษฎรี องรับอย่างสมเหตุสมผลสามารถอา้ งอิงได้
ข้าพเจ้า ได้นาแนวคิดทฤษฎีมารองรับอย่างสมเหตุสมผล สามารถอ้างอิงได้

มรี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี

กระบวนการนเิ ทศของ Harris (อ้างถึงใน สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11, 2554 : 16 - 18) ประกอบดว้ ย
กระบวนการนิเทศไว้ 5 ข้ันตอน ดงั นี้

1. ขั้นวางแผน (Planning) ได้แก่ การคดิ การต้งั วตั ถปุ ระสงค์ การคาดการณ์ล่วงหน้า การกาหนดตาราง
งาน การค้นหาวธิ ีปฏบิ ตั งิ าน และการวางโปรแกรมงาน

2. ข้นั การจัดโครงการ (Organizing) ได้แก่ การต้ังเกณฑ์มาตรฐาน การรวบรวมทรัพยากร ท่ีมีอยู่ทั้งคน
และวัสดุอปุ กรณ์ ความสัมพันธแ์ ต่ละขน้ั การมอบหมายงาน การประสานงาน การกระจายอานาจตามหน้าท่ี โครงสร้าง
ขององคก์ าร และการพัฒนานโยบาย

3. ข้ันการนาเข้าสู่การปฏิบัติ (Leading) ได้แก่ การตัดสินใจ การเลือกสรรบุคคล การสร้างแรงจูงใจให้มี
กาลังคิดริเร่ิมอะไรใหม่ ๆ การสาธิต การให้คาแนะนา การส่ือสาร การกระตุ้น การส่งเสริมการให้คาแนะนานวัตกรรม
ใหม่ ๆ และใหค้ วามสะดวกในการทางาน

4. ขนั้ การควบคุม (Controlling) ได้แก่ การสัง่ การ การให้รางวลั การลงโทษ การให้โอกาสการตาหนิ การไล่ออก
และการบังคบั ให้กระทาตาม

5. ข้ันประเมินผล (Appraising) ได้แก่ การตัดสินใจการปฏิบัติงาน การวิจัย และการวัดผลการปฏิบัติงาน
กจิ กรรมทีส่ าคญั คือ พจิ ารณาผลงานในเชิงปฏิบตั ิวา่ ได้ผลมากน้อยเพียงใด และวัดผลด้วยการประเมินอย่างมีแบบแผน มี
ความเท่ียงตรง ทั้งน้ี ควรจะมีการวิจยั ดว้ ย

กระบวนการนิเทศการศึกษาของ Allen (อ้างถึงใน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 11, 2554 : 18)
ประกอบด้วยกระบวนการหลกั 5 กระบวนการทีเ่ รยี กวา่ “POLCA” คือ

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน เพือ่ รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศก์ยอดเยี่ยม 78
สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ด้านบรหิ ารจัดการยอดเยีย่ ม

1. กระบวนการวางแผน (Planning Processes) เปน็ กระบวนการท่กี าหนดเป้าหมายโดยคานึงถึงส่ิงที่จะทาว่ามี
อะไรบา้ ง กาหนดแผนงานว่าจะทาส่ิงไหน เม่ือไหร่ กาหนดจุดประสงค์ ในการทางานคาดคะเนผลที่จะเกิดจากการทางาน
กาหนดวธิ ีการทางาน และปฏิทินในการทางาน

2. กระบวนการจัดสายงาน (Organizing Processes) เป็นกระบวนการจัดการระหว่างงานกับบุคคล หรือจัด
บคุ ลากรต่าง ๆ เพื่อทางานตามแผนงานท่ีวางไว้ โดยกาหนดเกณฑ์มาตรฐานในการทางาน ประสานงานกับบุคลากรต่าง ๆ
จัดให้มกี ารประสานงานสมั พันธ์กนั ระหว่างผูท้ างาน จดั ทาโครงสรา้ งในการปฏิบัตงิ าน จดั ทาภาระหน้าที่ของบุคลากร และ
พฒั นานโยบายในการทางาน

3. กระบวนการนา (Leading Processes) เปน็ กระบวนการขับเคลอื่ นบุคลากรตา่ ง ๆ ให้ทางานนั้นประกอบด้วย
การตัดสินใจเกี่ยวกับส่ิงต่าง ๆ ให้คาปรึกษาแนะนา สร้างนวัตกรรมในการทางาน ทาการสื่อสาร เพ่ือความเข้าใจใน
คณะทางาน สร้างแรงจูงใจในการทางาน เร้าความสนใจในการทางาน อานวยความสะดวกในการทางาน ริเร่ิมการทางาน
แนะนาการทางาน แสดงตัวอยา่ งในการทางาน บอกขน้ั ตอนการทางาน และสาธิตการทางาน

4. กระบวนการควบคุม (Controlling Processes) เป็นกระบวนการกากับให้เกิดคุณภาพ การปฏิบัติงาน
ประกอบดว้ ย การช่วยแกไ้ ขการทางานท่ไี ม่ถกู ตอ้ ง การวา่ กลา่ วตักเตือนในสง่ิ ทีผ่ ดิ พลาด การกระตนุ้ ใหท้ างานการปลดคน
ท่ีไมม่ คี ณุ ภาพใหอ้ อกจากงาน การสรา้ งกฎเกณฑ์ในการทางาน และการลงโทษผู้กระทาผดิ

5. กระบวนการประเมินผลการทางาน (Assessing Processes) ประกอบด้วย การพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติงาน การวัดและประเมินพฤติกรรมในการทางาน และการวิจัยผลการปฏิบัติงาน (สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 11, 2554 : 18)

กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE สงัด อุทรานนั ท์ (อา้ งถึงใน สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11, 2554 : 18 -
22) กลา่ วสรุปไว้วา่ กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา มี 5 ข้ันตอนในการดาเนนิ การ คือ

ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning - P) เป็นขั้นตอนท่ีผู้บริหารผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศจะทาการประชุม
ปรึกษาหารือเพือ่ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงปัญหา และความต้องการจาเปน็ ทีจ่ ะต้องมีการนิเทศ รวมท้ังวางแผนถึงขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เกี่ยวกบั การนิเทศท่ีจะจัดขึ้น

ขั้นท่ี 2 ให้ความรู้ ความเข้าใจในการทางาน (Informing - I) เปน็ ขัน้ ตอนของการให้ความร้คู วามเข้าใจถงึ สิ่งทจ่ี ะ
ดาเนินงานวา่ จะตอ้ งอาศยั ความรู้ความสามารถอยา่ งไรบา้ ง จะมีข้ันตอนในการดาเนนิ งานอย่างไร และจะทาอยา่ งไรจงึ จะทา
ใหไ้ ด้ผลงานออกมาอย่างมีคณุ ภาพ ขนั้ ตอนน้ี มีความจาเปน็ สาหรับการเร่ิมการนิเทศที่จัดข้ึนใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองใดก็
ตาม และมคี วามจาเป็นสาหรับงานนเิ ทศท่ียังไม่ได้ผล หรือได้ผลไม่ถึงขั้นท่ีพอใจซึ่งจาเป็นจะต้องทาการทบทวนให้ความรู้
ในการปฏบิ ตั งิ านทีถ่ ูกต้องอกี ครงั้ หนง่ึ

ข้ันท่ี 3 ลงมือปฏบิ ตั ิงาน (Doing - D) ประกอบดว้ ยงานใน 3 ลักษณะ คือ
3.1 การปฏิบัติงานของผู้รับนิเทศ เป็นข้ันตอนที่ผู้รับการนิเทศลงมือปฏิบัติงานตามความรู้

ความสามารถทไี่ ดร้ บั มาจากดาเนนิ การในขน้ั ท่ี 2
3.2 การปฏบิ ัติงานของผใู้ ห้การนเิ ทศ ขั้นตอนนผ้ี ู้ให้การนิเทศจะทาการนิเทศและควบคุมคุณภาพให้

งานสาเร็จออกมาทันตามกาหนดเวลาและมีคณุ ภาพสูง

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน เพอื่ รับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเยย่ี ม 79
สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจัดการยอดเย่ยี ม

3.3 การปฏิบตั ิงานของผสู้ นบั สนุนการนเิ ทศ ผบู้ ริหารจะใหบ้ ริการการสนบั สนนุ ในเรื่องวัสดุ อุปกรณ์
ตลอดจนเครื่องใช้ต่าง ๆ ทจี่ ะชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านเป็นไปอยา่ งได้ผล

ข้ันท่ี 4 สรา้ งเสรมิ กาลงั ใจ (Reinforcing - R) ขัน้ ตอนนี้เปน็ ขั้นของการเสรมิ กาลงั ใจของผู้บริหารเพ่ือให้ผู้รับการ
นิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานขั้นน้ี อาจจะดาเนินการไปพร้อม ๆ กันกับผู้ที่รับการนิเทศ
กาลงั ปฏบิ ตั ิงาน หรอื การปฏบิ ัติงานไดด้ าเนนิ การเสร็จสนิ้ ลง

ข้นั ท่ี 5 ประเมนิ ผลผลิตของการดาเนนิ การ (Evaluating - E) เป็นข้ันที่ผู้นิเทศทาการประเมินผลการดาเนินการ
ซึ่งผา่ นไปแล้ววา่ เป็นอย่างไร หลังจากการประเมนิ ผลการนิเทศ หากพบว่ามีปัญหา หรืออุปสรรคอย่างหนึ่งอย่างใดท่ีทาให้
การดาเนินงานไม่ไดผ้ ล สมควรจะตอ้ งทาการปรับปรุงแก้ไข ซ่งึ การปรับปรุงแกไ้ ขอาจจะทาไดโ้ ดยการให้ความรู้ในสิง่ ท่ที า
ใหมอ่ กี คร้งั หนงึ่ สาหรบั กรณีท่ผี ลงานออกมายังไม่ถึงขั้นที่พอใจ หรือดาเนินการปรับปรุงการดาเนินงานท้ังหมด สาหรับ
กรณีการดาเนินงานไม่ได้ผล และถ้าหากการประเมินผล พบว่าประสบผลสาเร็จตามท่ีได้ต้ังไว้ หากจะได้ดาเนินการนิเทศ
ตอ่ ไปกส็ ามารถทาไปไดเ้ ลยโดยไม่ต้องให้ความรใู้ นเรือ่ งน้อี ีก
กระบวนการนิเทศแบบ PDCA (อ้างถงึ ใน สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11, 2554 : 20) เป็นกระบวนการ
นิเทศการศกึ ษาทน่ี ยิ มใชก้ ันอย่างแพรห่ ลาย เป็นท่ีร้จู กั กนั มายาวนาน กระบวนการประกอบดว้ ย

ขั้นที่ 1 ดาเนนิ การวางแผน เป็นข้นั เตรียมการนเิ ทศโดยศึกษาข้อมูลสารสนเทศประมวลสภาพปัญหาและความ
ตอ้ งการในการพัฒนาการศึกษา กาหนดจุดมงุ่ หมายการนิเทศ จัดทาแผนการนิเทศ กาหนดเน้ือหาการนิเทศ ออกแบบการ
นิเทศ สื่อนิเทศ จัดเตรียมเคร่ืองมือนิเทศ กาหนดกรอบการประเมิน วิธีการติดตามและการรายงานผลการนิเทศ และขอ
อนุมัติโครงการ งบประมาณ

ขนั้ ท่ี 2 ดาเนนิ การตามแผนนิเทศ โดยประชมุ เพอ่ื ทบทวนจดุ มุ่งหมายการนิเทศ แบ่งหนา้ ท่ีภาระงานในการนเิ ทศ
ประสานงานบคุ คลทเ่ี กยี่ วข้อง และนเิ ทศตามแผนด้วยรูปแบบ เทคนคิ วิธีการท่ีกาหนด

ข้ันที่ 3 ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผล เพ่ือประเมินผลการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่
และมีสภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีครูปฏิบัติจริง ปัญหา อุปสรรค ที่เป็นข้อมูลสารสนเทศท่ีต้องตรวจสอบดูใหม่ แล้ว
ปรับปรงุ การนเิ ทศตอ่ ไป

ข้ันที่ 4 การนาผลการประเมินมาปรับปรุง เมื่อสิ้นสุดผลการนิเทศแต่ละคร้ัง ควรรายงานผลให้ผู้บังคับบัญชา
ทราบโดยทาเป็นบนั ทึกขอ้ ความ หรอื แบบรายงานที่กาหนดไว้ในหัวข้อประเด็นตา่ ง ๆ เชน่ ผู้นเิ ทศ ผ้รู บั การนิเทศ วันเดอื นปี
ทนี่ เิ ทศ กิจกรรมทีน่ เิ ทศ เนื้อหาสาระท่นี ิเทศ การประเมนิ ผลของผูร้ ับการนเิ ทศ และขอ้ ควรพฒั นา
กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน (วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 27- 28) ได้เสนอกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนใน การ
ปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนในชั้นเรยี น ดังนี้

1. วางแผนร่วมกนั ระหวา่ งผู้นเิ ทศและผ้รู ับการนิเทศ
2. เลอื กประเด็น หรือเรือ่ งทีส่ นใจจะปรบั ปรงุ พัฒนา
3. นาเสนอโครงการพัฒนาและขั้นตอนการปฏิบัตใิ ห้ผู้บรหิ ารโรงเรยี นได้รับทราบ และขออนุมตั ิการดาเนินการ
4. ให้ความรู้หรือแสวงหาความรจู้ ากเอกสารต่าง ๆ และการจดั ฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัติการเก่ยี วกับเทคนคิ การสังเกต
การสอนในชน้ั เรยี น และความรเู้ กี่ยวกับวิธกี ารสอน และนวัตกรรมใหม่ ๆ ทน่ี า่ สนใจ
5. จดั ทาแผนการนิเทศ กาหนด วัน เวลา ทจ่ี ะสังเกตการสอน ประชมุ ปรึกษาหารือ เพอ่ื แลกเปลีย่ นความคิดเห็น
และประสบการณ์

รายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อรบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเยี่ยม 80
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ด้านบริหารจัดการยอดเย่ยี ม

6. ดาเนนิ การตามแผนโดยครูและผู้นเิ ทศ (แผนการจดั การเรียนรู้ และแผนการนเิ ทศ)
7. สรปุ และประเมนิ ผลการปรบั ปรงุ และพฒั นารายงานผลสาเร็จ

จากที่กล่าวมาข้างต้น กล่าวสรุปได้ว่า มีหลายแนวคิดทฤษฎีท่ีสามารถรองรับงานด้วยความ
สมเหตสุ มผล และเชอื่ ถือไป สามารถออกแบบกระบวนการบรหิ ารจดั การไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ

3.2 แนวคิดทฤษฎีที่ระบุมีความเป็นไปได้ในการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ

ให้มสี ัมฤทธ์ิผล

ขา้ พเจ้า ได้นาแนวคดิ ทฤษฎที ี่มีความเปน็ ไปได้ในการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ
ใหม้ ีสัมฤทธผ์ิ ล มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี

การนเิ ทศแบบกัลยาณมติ ร
พระธรรมปฎิ ก (2541 : 26-27) กล่าววา่ กลั ยาณมติ ร หมายถงึ หลกั ธรรมความเป็นกลั ยาณมิตรของพระพุทธศาสนา

และวัฒนธรรมไทย ได้แก่ ความมีน้าใจ ร่วมทุกข์ร่วมสุข ช่วยเหลือเก้ือกูลแนะแนวทาที่ถูกต้องด้วยการยอมรับนับถือซึ่งกัน
และกัน โดยที่ครูแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ มุ่งหวังความสาเร็จ คือ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ความเปน็ กลั ยาณมติ รยงั ประกอบด้วย ความนา่ รัก (ในฐานเปน็ ทวี่ างใจและสนิทสนม) ความน่าเคารพ (ในฐานให้
ความอบอนุ่ เปน็ ทพ่ี งึ ได้ และปลอดภัย) ความนา่ ยกยอ่ ง (ในฐานทที่ รงคณุ คอื ความรู้ ภูมิปัญญา แท้จริง) ความรู้จักพูด (คอย
ให้คาแนะนาว่ากลา่ วตกั เตือน เปน็ ทีป่ รึกษาทด่ี ี) อดทนตอ่ ถ้อยคา (พร้อมที่รับฟังคาซักถามต่าง ๆ อยู่เสมอ ด้วยความอดทน
ไม่เบอื่ ) กลา่ วชแ้ี จงแถลงเรอ่ื งตา่ ง ๆ ท่ลี ึกซ้ึงได้ และไมช่ กั จงู ไปในทางทีเ่ สือ่ มเสยี

สุมน อมรวิวัฒน์ (2545 : 31) กล่าวว่า การนิเทศเป็นกระบวนการสร้างเสริมสมรรถภาพของผู้บริหารและครู
กระบวนการพัฒนาบุคลากร และเป็นการพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบ
วิวัฒนาการนิเทศการศึกษาของประไทยในช่วง 5 ทศวรรษ ได้ก้าวหน้าจากการตรวจสอบและประเมินผลมาเป็นการ
ดาเนนิ งานหลายรปู แบบเพื่อเสรมิ สรา้ งคุณภาพวชิ าชพี ครกู ารพัฒนาผบู้ รหิ ารการศกึ ษาใหส้ ามารถจดั ระบบและกระบวนการ
นิเทศภายในโรงเรยี น การเชอ่ื มโยงกจิ กรรมการสอนกับปจั จัยตา่ ง ๆ ทเ่ี ก้ือหนุนให้การเรยี นการสอนมีประสิทธภิ าพ และเกิด
คุณภาพท่พี งึ ประสงคใ์ นตวั ผเู้ รยี นไดเ้ สนอกระบวนการนเิ ทศภายในแบบกัลยาณมิตร

รมณธรณ์ นาเมอื ง (2558 : 8) กล่าวว่า กัลยาณมิตร คือคุณสมบัติของการเป็นมิตรที่ดี มิตรแท้ ท่ีทาหน้าท่ีต่อ
บุคคลอนื่ ทาใหผ้ ้ทู ีพ่ บ คบหา หรอื เข้าหาแลว้ จะเกิดความดีงาม และความเจริญในชีวิต หรือหากเป็นครูท่ีเป็นกัลยาณมิตร
กับนักเรียน จะคอยอบรมส่ังสอน แนะนานักเรียนด้วยความรัก ความเมตตาปรารถนาดี มุ่งหวังให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ
พัฒนาได้เต็มตามศกั ยภาพ ทงั้ ยงั คอยเป็นทีป่ รึกษา ให้ความช่วยเหลือเมอ่ื นกั เรยี นมีอปุ สรรค หรอื ปัญหาตา่ ง ๆ

พระมงคล เขมกาโม (2560 : 12) กล่าววา่ กัลยาณมติ ร หมายถึง เพอื่ นท่ีดี เพอื่ นทีง่ ดงาม เพื่อนท่ีนาความเจริญ
มาให้ เป็นบคุ คลที่มคี ุณธรรม มีศีล เป็นผ้กู าจัดความช่ัวร้าย เปน็ ผสู้ ่งเสรมิ ประโยชน์ ความดี หรอื คณุ ธรรมต่าง ๆ ทบี่ คุ คล
มีและแสดงออกต่อผู้อื่น เป็นผู้มีปัญญา มีความสามารถ มีความเอ้ือเฟื้อช่วยเหลือ ทาให้เกิดความดี ให้เกิดความรู้ความ
เจริญและความสุขแกผ่ ูอ้ ่ืน

จากท่ีกล่าวมาข้างต้น กล่าวสรุปได้ว่า จากแนวคิดทฤษฎีท่ีกล่าวมาข้างต้น สามารถนาช่วย
สนับสนนุ ความเป็นไปไดใ้ นการพฒั นากระบวนการบรหิ ารจดั การให้เกิดสมั ฤทธผิ ล

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน เพือ่ รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเยี่ยม 81
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเยีย่ ม

3.3 กระบวนการบรหิ ารจดั การมีความสอดคลอ้ งตามแนวคิดทฤษฎที ่รี ะบุ
ข้าพเจ้า นากระบวนการบริหารจัดการมีความสอดคล้องตามแนวคิดทฤษฎีท่ีระบุ มี

รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

แนวคิดทฤษฎีเกยี่ วกับการนเิ ทศแบบกัลยาณมิตร
ความเป็นกัลยาณมิตรเป็นกุญแจทองที่จะไขประตูแห่งความเป็นมิตร ความอ่อนน้อมถ่อมตนยังเป็นคุณสมบัติ

ทคี่ นไทยทุกคนให้การต้อนรับ ความจริงใจ และความนุ่มนวลจะเป็นเคร่ืองหล่อลื่นสัมพันธภาพให้เลื่อนไหลสอดคล้องกัน
ไปสู่จุดหมายปลายทาง ความมีน้าใจ เป็นหยดทิพย์ที่ทาให้จิตใจ ชุ่มช่ืนเบิกบาน และท้ายท่ีสุด การใช้คาพูดที่สุภาพ
จริงใจและความสม่าเสมอ จะเป็นเคร่ืองส่งเสริมความรู้สึกที่ดีต่อกัน และพร้อมท่ีจะร่วมมือ ร่วมใจขจัดปัญหาต่าง ๆ และ
สร้างสรรคส์ งิ่ ท่ดี งี าม เพอ่ื ประโยชน์ของสว่ นรวม มแี นวคดิ ทฤษฎีสาคญั ดงั นี้

หลกั ธรรมความเป็นกลั ยาณมติ ร 7 ประการ (รมณธรณ์ นาเมอื ง, 2558 : 8 – 9) ประกอบด้วย
1. ปโิ ย แปลว่า น่ารัก หรือเป็นที่รัก เป็นลักษณะของผู้ที่มีความเป็นมิตร มีน้าใจปรารถนาดีต้องการให้ผู้อื่น
มีความสุข รู้สึกเห็นใจเมื่อผู้อ่ืนได้รับความทุกข์ ความเดือดร้อน ต้องการช่วยเหลือ ให้พ้นทุกข์ความเดือดร้อนนั้น
และพลอยชน่ื ชมยนิ ดเี มอ่ื ผู้อื่นประสบความสาเร็จเจรญิ กา้ วหน้าทง้ั ยงั คอยสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้กาลงั ใจ
2. ครุ แปลว่า น่าเคารพ ในฐานะประพฤติสมควรแก่ฐานะ เป็นลักษณะของผู้ท่ีมีความยึดม่ัน ในหลักการ
ยึดถือกฎระเบียบเป็นสาคัญ และคอยตักเตือนไม้ให้ผู้อื่นประพฤติไม่ถูกต้อง ฝ่าฝืนกฎระเบียบโดยปราศจากอคติ หรือ
ความลาเอียง ให้ความเป็นธรรมกบั ทกุ คน ทาให้ผทู้ ี่อยู่ใกลเ้ กดิ ความอบอนุ่ ใจเป็นทีพ่ ึงไดแ้ ละปลอดภัย
3. ภาวนีโย แปลว่า น่าเจริญ หรือน่ายกย่องในฐานทรงคุณเป็นลักษณะของผู้ที่ทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการ
พัฒนาตนเอง โดยเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้อยู่เสมอมีความประพฤติเหมาะสม
แตง่ กายสุภาพเรียบร้อย ทาใหผ้ ทู้ ี่อย่ใู กลช้ ิดเกิดความเช่อื ถอื ความศรัทธา พร้อมทีร่ ับฟัง ใหค้ วามรว่ มมือ และกล่าวถึง
ด้วยความซาบซึง้ ม่นั ใจ ภมู ิใจ
4. วตั ตาจะ แปลว่า รจู้ ักพูดใหไ้ ดผ้ ลรู้จกั ชีแ้ จงให้เขา้ รู้ว่าเม่ือไรควรพดู อะไรอย่างไรคอยให้คาแนะนาว่ากล่าวตักเตือน
เป็นที่ปรึกษาท่ีดีด้วยการพูดให้เข้าใจ มองเห็นเหตุชัดเจน ทาให้หมดความเคลือบแคลงสงสัย พร้อมท้ังเห็นคุณค่าและ
ความสาคัญจนเกิดความซาบซ้ึงยอมรับ อยากลงมือกระทาหรือนาไปปฏิบัติ ทั้งยังเป็นคาพูดที่ทาให้ผู้ฟังเกิดความ
กระตือรือร้นทีจ่ ะทาใหส้ าเร็จ โดยไมห่ วั่นต่อความยากลาบาก และเปน็ ไปด้วยบรรยากาศแห่งความเปน็ มติ ร
5. วจนักขโม แปลว่า อดทนต่อถ้อยคา คือ พร้อมที่จะรับฟังคาปรึกษา ปัญหาข้อเสนอแนะ หรือข้อ
วพิ ากวจิ ารณต์ ่าง ๆ ดว้ ยความอดทน ไมแ่ สดงความเบือ่ หน่าย ไม่แสดงอารมณฉ์ นุ เฉียว หรอื โตแ้ ย้งด้วยอารมณ์รุนแรง
6. คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา แปลว่า แถลงเรื่องล้าลึกได้ คือ สามารถอธิบายเรื่องต่าง ๆ อย่างเป็น
ลาดับ เป็นขั้นเป็นตอน พร้อมท้ังการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ให้เข้าใจได้ง่ายข้ึน
7. โน จัฎฐาเน นิโยชะเย แปลวา่ ไมช่ ักนาในอฐาน คือ เป็นลักษณะของผู้ที่ไม่แนะนาชักชวนให้เข้าไปเก่ียวข้อง
กับอบายมุขต่าง ๆ หรือไม่ชักชวน หรือชี้นาให้ทาในเร่ืองท่ีไม่เป็นประโยชน์ พร้อมท้ังแนะนาในทางที่ดี ช้ีให้เห็นคุณค่า
เหน็ ประโยชน์ หรอื โทษของส่ิงนัน้ ๆ ได้
จะเห็นได้ว่า กัลยาณมิตรธรรม 7 ประการน้ี มุ่งเน้นความปลอดโปร่งโล่งใจ ไม่บีบคั้น เน้นความมีน้าใจ
ชว่ ยเหลือเกอื้ กลู สร้างความเข้าใจให้กระจ่างแจง้ แนะแนวทางที่ถูกต้องดว้ ยการยอมรบั นบั ถอื ซ่งึ กนั และกัน

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพื่อรับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศก์ยอดเย่ียม 82
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจัดการยอดเยี่ยม

ความเช่อื ในหลักการของกลั ยาณมติ ร เรมิ่ ตน้ ท่ี “ศรทั ธา” แสดงความเอาใจใส่ เพือ่ สร้างความไวว้ างใจสร้าง
ความเชื่อม่ันในทางเสรมิ แรงกัน กลั ยาณมติ รตอ้ งให้ใจ ร่วมใจ ต้งั ใจ เปิดใจ คอื ตอ้ งสร้างจติ อาสา มคี วามวิรยิ ะอุตสาหะ บาก
บั่น พยายาม และเปิดใจ คือ ให้โรงเรียนประเมินตนเอง ทบทวนดูตนเอง การประเมินตนเองเพ่ือพัฒนามิใช่พิพากษา ซึ่งมี
ทฤษฎีที่พยายามสร้างแรงจูงใจให้สมาชิกกลุ่มสามารถทางานร่วมกันได้ดี มีผู้เสนอทฤษฎีที่น่าสนใจ ดังนี้ (ชุติกาญจน์
เบญจพรวฒั นา, 2547 : 23 - 24)

1. ทฤษฎกี ารทางานรว่ มกนั ไดร้ ับกาพัฒนาขน้ึ มาโดย George Homans ทฤษฎีนี้อธิบาย เป็นหลักสาคัญว่า
การทางานร่วมกันเป็นกลุ่มประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานท่ีสาคัญ 3 อย่าง คือ 1. กิจกรรม 2. การทางานร่วมกัน
และ 3. ความรู้สึก องค์ประกอบทั้งสามน้ีจะเกี่ยวกันโดยตรง กล่าวคือ ถ้าบุคคลย่ิงมีส่วนร่วมในกิจกรรมมากเท่าไร การ
ทางานร่วมกนั และความรขู้ องพวกเขาจะมมี ากขนึ้ ด้วย บคุ คลตา่ ง ๆ ภายในกลุ่มเก่ียวพันกับบุคคลอื่นไม่เพียงแต่อยู่ใกล้ชิด
กันเทา่ นัน้ พวกเขาต้องทาการตัดสินใจ ติดต่อส่ือสาร ประสานงาน และประสบความสาเร็จในเป้าหมายอีกด้วยสมาชิกใน
กลุ่มหรอื ในองค์กร ทเ่ี กีย่ วกนั กับลักษณะดังกล่าว มีแนวโน้มจะรวมกนั เข้าเป็นกลุ่มทมี่ ีพลงั สงู มาก

2. ทฤษฎีตาข่ายการปฏิบัติงาน ของ Grid of work Theory ผู้พัฒนาทฤษฎีนี้ คือ Blake and Mouton
แห่งมหาวิทยาลัยเท็กซัส ทฤษฎีน้ีเชื่อว่า คนต้องการจะทางานให้ได้ผล ต้องการมีส่วนร่วมในงานท่ีเขารับผิดชอบ และ
ต้องการทางานแบบการเข้ามามสี ว่ นร่วมด้วยการสร้างบรรยากาศขององค์การที่จะชว่ ยให้สนบั สนนุ ความคิดสร้างสรรค์ และ
เปดิ โอกาสใหแ้ สดงความคิดเห็นในการทางานอย่างจรงิ จัง

หลักการนิเทศของกัลยาณมิตร ความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการด้านวิชาการในการปฏิรูปการเรียนรู้น้ัน ทุกคนทุก
ฝา่ ย นบั เป็นองค์ประกอบสาคัญ การเปน็ เพื่อนร่วมทางทจ่ี ะเดนิ ไปดว้ ยกนั อยา่ งไวใ้ จ และเชือ่ ว่าจะช้แี นะช่วยเหลอื ซง่ึ กัน และ
กันได้ให้ก้าวไปในทางท่ีถูกต้องด้วยน้าใจมิใช่อานาจ คือ หนทางแห่งกัลยาณมิตร นักวิชาการได้กล่าวเกี่ยวกับการนิเทศที่
คานึงถึงฐานวฒั นธรรมไทย อยา่ งน่าสนใจดังนี้

1. ความเป็นกัลยาณมิตร เปน็ กุญแจทองทีจ่ ะไข หรือเปดิ ประตูไปสคู่ วามเป็นมติ รไมตรี
2. ความอ่อนนอ้ มถ่อมตนยงั เป็นคุณสมบตั ทิ คี่ นไทยทุกคนยอมรับและประสงคท์ ีจ่ ะใหม้ ี
3. ความจรงิ ใจ เป็นเครอ่ื งหลอ่ เลี้ยงสมั พันธภาพระหว่างบุคคลใหเ้ ป็นไปอย่างยนื ยาว
4. ความมนี ้าใจ เป็นหยดน้าทพิ ย์ทท่ี าให้ผู้เกีย่ วข้องมีจิตใจชุ่มช่นื เบกิ บานสราญใจ
5. การใชค้ าพดู ทีส่ ุภาพ จริงใจสม่าเสมอเป็นเครอ่ื งสง่ เสริมให้เกดิ ความร้สู กึ ท่ดี ีตอ่ กันและกัน
กระบวนการนิเทศแบบกลั ยาณมิตร
การนิเทศแบบกัลยาณมติ ร เป็นกระบวนการให้ความรู้ และการแกป้ ัญหา โดยถอื หลักการร่วมคิดร่วมทา และ
ร่วมใจกันปฏิบัติงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ มิใช่การให้ความรู้ในแนวด่ิง คือ จากผู้ท่ีมีความรู้มากกว่าไปสู่ผู้ท่ีมี
ความรนู้ อ้ ยกวา่ เพียงอยา่ งเดยี ว แต่เป็นกระบวนการแนวราบทท่ี กุ ฝา่ ยยอมรับนับถือในความเด่น และความด้อยของกัน
และกัน มาร่วมคิด แลกเปล่ียนประสบการณ์ เรียนรู้ซึ่งกันและกัน นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
เน้นกระบวนการสาคัญ 5 ประการมีดังน้ี (สมุ น อมรววิ ัฒน์, 2547, 7 - 10)
1. กัลยาณมิตรนิเทศเน้นการนิเทศคนไม่ใช่นิเทศกระดาษ ดังนั้นการนิเทศครูในโรงเรียน เป็นการนิเทศคน
ไม่ใช่การนิเทศกระดาษและอุปกรณ์ เพราะฉะน้ันการนิเทศแบบกัลยาณมิตรจะเกิดขึ้นไม่ได้ ถ้าศึกษานิเทศก์ไม่สนใจครู
สนใจนักเรียน หรือหาวิธีในการจัดเพื่อให้ศึกษานิเทศก์พบกับครู คุยกับครูในลักษณะที่ไม่เป็นทางการและเป็น
ทางการ

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพือ่ รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเย่ยี ม 83
สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเยยี่ ม

2. กลั ยาณมติ รนเิ ทศเน้นกระบวนการ “ใหใ้ จ” และ “ร่วมใจ” หน้าที่ของศึกษานิเทศก์ คือ ทาอย่างไรจะ

ให้ครมู ีใจ เพราะฉะนั้นสง่ิ แรก คอื ทาอย่างไรจึงจะไดค้ รูในโรงเรยี นทางานสาเร็จ ซึ่งเปน็ ความสาเร็จจากการรว่ มใจของทกุ คน

3. กัลยาณมติ รเริ่มต้นที่ “ศรทั ธา” แสดงความเอาใจ สร้างความไว้วางใจ สร้างความเชื่อม่นั ในทางเสริมแรงกนั

4. กระบวนการกลั ยาณมิตรนเิ ทศเน้นการสร้างสังคมการเรียนรู้ให้ความรู้ ความสะดวกในการค้นหาความรู้

ขา่ วสารจากแหล่งต่าง ๆ

5. กระบวนการกัลยาณมติ รนิเทศมาจากฐานปัญญาธรรม ฐานเมตตาธรรม และฐานความเป็นจริงในชีวิต ถ้าขาด

ฐานหนงึ่ ฐานใดไปกลั ยาณมติ รยอ่ มไมเ่ กิด

รปู แบบกัลยาณมิตร (สมุ น อมรววิ ัฒน์, 2547 : 11 - 14)

1. ให้ใจ การปฐมนิเทศสร้างความเขา้ ใจร่วมกนั

2. รว่ มใจ การร่วมคิด รว่ มทางาน แลกเปลีย่ นเรียนร้ซู งึ่ กนั และกนั

3. ตั้งใจ เป็นการรว่ มกนั สรา้ งสรรค์คณุ ภาพในการทางาน

3.1 มงุ่ มัน่ สเู่ ปา้ หมายร่วมกนั 3.2 ชว่ ยกันแกป้ ญั หา

3.3 ถือวา่ ผลงาน คือ คณุ ภาพของผเู้ รยี น

4. เปิดใจ เป็นการวดั และประเมินตนเอง ประเมินผลงาน

4.1 ประเมินผลการพฒั นาการอย่างเทย่ี งตรง 4.2 ปราศจากอคติ

และรูปแบบการนิเทศภายในแบบกัลยาณมิตร เป็นการชี้แนะและช่วยเหลือด้านการเรียนการสอนในกลุ่ม

เพอ่ื นครดู ว้ ยกัน มหี ลกั การนเิ ทศทเี่ นน้ ประเด็นสาคัญ 4 ประการ คอื

1. การสร้างศรัทธา เพ่ือใหเ้ พ่อื นครยู อมรับและเกดิ ความสนใจใฝ่รู้ทจี่ ะปรับปรุงการสอน

2. การสาธิตรูปแบบการสอน เพื่อแสดงให้ประจักษ์ว่า การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญน้ันได้ทาจริง และ

สามารถนารปู แบบไประยุกต์ใช้ในช้ันเรียนได้

3. การรว่ มคดิ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ครตู า่ งมีประสบการณ์ในการสอนแตกต่างกัน สมควรท่ีจะได้พบปะกันอย่าง

สม่าเสมอ รว่ มคิดแกป้ ัญหาและแลกเปลี่ยนซง่ึ กันและกัน

4. การตดิ ตามประเมนิ ผลตลอดกระบวนการ ครบู ันทกึ นเิ ทศอย่างสม่าเสมอ สังเกตและรับฟังข้อมูลป้อนกลับ

ศกึ ษาปัญหาและแนวทางแกไ้ ข เพ่อื สร้างสังคมแหง่ การเรยี นรขู้ ึ้นใหมแ่ ละตอ่ เนอ่ื งสบื ไป

สรุปโดยภาพรวม การนิเทศสามารถบูรณาการได้หลากหลายวิธี ดังน้ัน การดาเนินการนิเทศควรเลือกวิธีการท่ี

เหมาะสมท่สี ุดทสี่ อดคล้องกบั ปญั หา บริบท ความจาเป็น สถานการณ์ และความพรอ้ มของโรงเรียน เพราะการนิเทศภายใน

โรงเรยี นที่มปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ สว่ นหนงึ่ ทชี่ ว่ ยพฒั นาการปฏบิ ัตงิ านของครู และการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนให้เป็นไปอยา่ ง

มปี ระสิทธภิ าพ โดยเฉพาะกระบวนการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร ท่ีเร่มิ ต้นด้วยความศรทั ธาระหว่างผ้นู เิ ทศ และผ้รู บั การนิเทศ

ด้วยการใหใ้ จ ร่วมใจ ต้ังใจ และเปดิ ใจ ผสมผสานกบั การใช้เทคนิคกระบวนการนเิ ทศแบบตา่ ง ๆ ดว้ ยกระบวนการ 3 ข้นั ตอน

4 ข้นั งาน เด่นด้วย 4 จ. ท่รี ่วมคิดรว่ มทา ร่วมใจกนั ปฏิบตั งิ าน ทงั้ แลกเปล่ยี นประสบการณ์ เรียนรู้ ซึ่งกันและกันเน้นการ

สร้างสังคมการเรียนรู้ใหค้ วามรู้ ซ่งึ เปน็ รูปแบบที่เหมาะสมเป็นอย่างยง่ิ ท่นี าไปสู่การปฏบิ ัตใิ ห้ประสบผลสาเร็จ ส่งผลใหก้ าร

นิเทศภายในโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ โดยสรปุ ได้ดงั แผนภาพตอ่ ไปนี้

รายงานผลการปฏิบัตงิ าน เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศกย์ อดเย่ยี ม 84
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเยี่ยม

เทคนิคการนิเทศแบบตา่ ง ๆ ให้ใจ กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร 3
การเยย่ี มชั้นเรียน รว่ มใจ ข้ันตอน 4 ขั้นงาน เด่นด้วย 4 จ. สู่การปฏิบัติ
การให้คาปรึกษา ตงั้ ใจ อย่างเหมาะสม ทั้งคุณภาพผู้เรียน คุณภาพ
การสนทนาทางวิชาการ เปิดใจ การบริหาร คุณภาพการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาดูงาน ของครู สู่คุณภาพการนิเทศภายในโรงเรียน
การศึกษาเอกสารทางวิชาการ ดงั นี้
การสาธิตการสอน ขน้ั ตอนท่ี 1 คอื ขน้ั กอ่ นดาเนนิ การนิเทศ
การนเิ ทศแบบคลนิ กิ
การประชุมกอ่ นเปดิ ภาคเรียน มี 2 ข้ันงาน คอื
การสงั เกตการสอนในชั้นเรียน ขน้ั งานท่ี 1 คดิ งาน
การประชุมสมั มนา ขน้ั งานท่ี 2 ทางาน
เทคนคิ การทบทวนผลการปฏบิ ัติงาน ข้นั ตอนท่ี 2 คือ ข้นั ดาเนนิ การนเิ ทศ
การศึกษาช้นั เรียน มี 1 ข้ันงาน คือ
การประชุมนิเทศ ข้นั งานที่ 3 ติดตามงาน
การนิเทศแบบช้ีแนะ
การนิเทศแบบพ่ีเลีย้ งและใหค้ าปรกึ ษา เดน่ ดว้ ย 4 จ.
การนิเทศแบบพัฒนาการ คอื 1. ให้ใจ : สร้างความเปน็ มติ ร
การนิเทศแบบสร้างชมุ ชนแห่งการเรียนรู้
ทางวชิ าชีพ 2. รว่ มใจ : ร่วมคิดวางแผน
การนิเทศบนพื้นฐานการวจิ ยั 3. ตั้งใจ : กระบวนการเนน้
4. เปดิ ใจ : นิเทศศรทั ธา
ขนั้ ตอนที่ 3 คอื ขัน้ หลงั ดาเนนิ การนิเทศ

มี 1 ขัน้ งาน
ขัน้ งานที่ 4 สรปุ งาน

คณุ ภาพการนเิ ทศภายในโรงเรียน
3 มาตรฐาน14 ประเดน็ พจิ ารณาปฐมวยั 21 ประเดน็ พจิ ารณาขนั้ พ้ืนฐาน

แผนภาพ 3 แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งเทคนิคการนเิ ทศแบบตา่ ง ๆ กับกระบวนการนเิ ทศ
แบบกัลยาณมิตรด้วยกระบวนการ 3 ขั้นตอน 4 ขั้นงาน เด่นด้วย 4 จ. สู่คณุ ภาพ
การนิเทศภายในโรงเรียน

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศก์ยอดเย่ียม 85
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ดา้ นบรหิ ารจัดการยอดเย่ยี ม

ตัวชี้วัด 4 ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการบรหิ ารจัดการ

ขา้ พเจา้ ใช้กระบวนการหาประสิทธิภาพของกระบวนการบรหิ ารจัดการถูกต้องตามหลัก
วิชาการ มีการกระบวนการบรหิ ารจดั การมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ทก่ี าหนด และมวี ิธกี ารหาประสิทธิภาพ
ครอบคลุมในด้านเนือ้ หา (Content validity) และโครงสร้าง (Construct validity) อย่างมีประสทิ ธภิ าพตาม
เกณฑ์ทก่ี าหนดมวี ิธกี ารหาประสทิ ธิภาพของเคร่อื งมอื ครอบคลมุ เน้ือหาและโครงสรา้ งอย่างครบถว้ น ดังน้ี

การสรา้ งและหาคณุ ภาพเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1 แบบประเมินคุณภาพคู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา ดว้ ยกระบวนการนเิ ทศแบบกัลยาณมติ ร โดยดาเนนิ การ ดังน้ี

1.1 ศึกษาวิธีการสร้างและลักษณะของแบบประเมินคุณภาพคู่มือนิเทศภายใน
โรงเรยี น จากเอกสาร ตารา และงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง เพอ่ื สรา้ งแบบประเมินคุณภาพคู่มือนิเทศให้ครอบคลุม
ท้งั 4 ด้าน คอื จุดประสงคข์ องคู่มือ เนอ้ื หาสาระของคมู่ อื การใชภ้ าษา และการนาคู่มอื นิเทศไปใช้

1.2 สร้างแบบประเมินคุณภาพคู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา ดว้ ยกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมติ ร โดยสร้างเปน็ แบบสอบถามชนิดมาตรา
สว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) มี 5 ระดบั จานวน 20 ข้อ และขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม ซึ่งเป็นแบบสอบถาม
ปลายเปดิ (Open Form)

1.3 หาความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) ของแบบประเมินคุณภาพ
คู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ
กัลยาณมิตร โดยให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องตามโครงสร้างและเน้ือหา
คานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อความกับประเด็นหลัก (IOC) โดยวิธีของบุญเชิด ภิญโญ
อนันตพงษ์ (2547 : 69) โดยคัดเลือกเอาแบบประเมนิ ท่ไี ด้ค่าระหว่าง 0.80-1.00 จานวน 15 ขอ้ มาปรับปรุง
แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผเู้ ชี่ยวชาญ

1.4 นาแบบประเมินคุณภาพคู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา ด้วยกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ไปทดลองใช้กับผู้บริหาร ครูวิชาการ โรงเรียน
ในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ท่ีไม่ใช่กลุ่มอย่าง จานวน 1 โรงเรียน เพ่ือหาค่า
ความเช่ือมน่ั โดยวิธกี ารคา่ สมั ประสิทธิแ์ อลฟา

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพ่ือรบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเยยี่ ม 86
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ด้านบริหารจดั การยอดเย่ียม

1.5 จัดทาแบบประเมินคุณภาพคู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ฉบับสมบูรณ์เพ่ือนาไปใช้กับกลุ่ม
ตัวอย่างทศ่ี กึ ษาต่อไป

2. แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจของผู้บริหารโรงเรียน ครูวิชาการ โดยดาเนินการ
ดงั นี้

2.1 ศึกษาวิธีการสร้างและลักษณะของแบบทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในการ
นิเทศภายในโรงเรียน จากเอกสาร บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อดาเนินการการสร้างแบบทดสอบ
ให้ครอบคลมุ ขั้นตอนกระบวนการนเิ ทศ และเนอ้ื หาสาระของการนเิ ทศภายในโรงเรียน

2.2 สร้างแบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจของผ้บู รหิ ารโรงเรียน และครูวิชาการโดย
สร้างแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 40 ขอ้

2.3 หาความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) ของแบบทดสอบโดยให้
ผเู้ ชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องตามโครงสร้างและเน้ือหา โดยคานวณหาค่าดัชนีความ
สอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับประเด็นหลัก (IOC) โดยใช้วิธีของโดยวิธีของบุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์
(2547 : 69) และคัดเอาข้อทไี่ ดค้ ่าระหวา่ ง 0.60-1.00 จานวน 30 ข้อ

2.4 นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กับผู้บริหารโรงเรียน และครูวิชาการ โรงเรียนใน
สังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็ จานวน 1 โรงเรยี นทไี่ มใ่ ช่กลมุ่ ตวั อย่าง

2.5 จัดทาแบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ของผู้บริหารโรงเรียน และครูวิชาการ
ฉบบั สมบรู ณ์เพื่อนาไปใช้กับกลุม่ ตวั อย่างทีศ่ ึกษาต่อไป

3 แบบประเมนิ ผลการดาเนนิ งานการนิเทศภายในโรงเรียน โดยดาเนนิ การดงั น้ี
3.1 ศึกษาเอกสาร ตารา ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศภายใน

โรงเรียน และดาเนนิ การสร้างแบบประเมิน โดยให้ครอบคลุมข้ันตอนกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน ซึ่ง
ลักษณะของประเมินผลการนเิ ทศภายในโรงเรยี น เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
คือ มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) และน้อยที่สุด (1) ซึ่งประกอบด้วยขั้น 5 ข้ัน คือ ข้ันท่ี 1
การศึกษาสภาพปัจจบุ นั ปญั หา และความต้องการ ข้ันที่ 2 การวางแผนและกาหนดทางเลือก ขั้นที่ 3 การสร้าง
ส่อื และเครอ่ื งมือ ขัน้ ท่ี 4 การปฏิบัติการนเิ ทศ ข้ันท่ี 5 การประเมินผลและการรายงายผล จานวน 30 ขอ้

3.2 หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบประเมินผล
การดาเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียน โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้อง

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน เพอ่ื รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศก์ยอดเยย่ี ม 87
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ดา้ นบรหิ ารจดั การยอดเยย่ี ม

ตามโครงสรา้ งและเนื้อหา คานวณหาคา่ ดชั นีความสอดคล้องระหว่างข้อความกับประเด็นหลัก (IOC) โดยใช้วิธี
ของโดยวธิ ีของบญุ เชดิ ภญิ โญอนันตพงษ์ (2547 : 69) และคดั เอาข้อท่ไี ด้ค่าระหวา่ ง 0.80-1.00 จานวน 25 ขอ้

3.3 จัดทาแบบประเมินการดาเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนฉบับสมบูรณ์ เพ่ือ
นาไปใชก้ ับกลมุ่ ตวั อย่างทศี่ ึกษาต่อไป

3.4 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้บรหิ ารโรงเรยี น และครวู ิชาการที่มีต่อการนิเทศ
โดยใช้คมู่ อื นเิ ทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ
กัลยาณมิตร โดยดาเนนิ การดังนี้

3.5 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจในการนิเทศ จากเอกสารและ
งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพื่อดาเนินการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้บริหารโรงเรียนและครูวิชาการ ต่อ
การนิเทศโดยใช้คู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการ
นเิ ทศแบบกัลยาณมติ ร

3.6 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจในการนิเทศ ของผู้บริหารโรงเรียน และครู
วิชาการ ต่อการนิเทศคู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วย
กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยใช้แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่ง
ระดับความคิดเห็นออกเป็น 5 ระดับ จานวน 20 ข้อ โดยกาหนดค่าคะแนนในแบบประเมิน เป็นมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale) ตามแนวคิดของลิเคอรท์ (Likert) 5 ระดับ คอื 5 4 3 2 และ 1 ดงั น้ี

5 หมายถงึ มคี วามเหมาะสม ในระดับมากทส่ี ดุ
4 หมายถึง มคี วามเหมาะสม ในระดบั มาก
3 หมายถงึ มีความเหมาะสม ในระดับปานกลาง
2 หมายถงึ มีความเหมาะสม ในระดบั นอ้ ย
1 หมายถึง มคี วามเหมาะสม ในระดบั นอ้ ยทส่ี ุด
3.7 หาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบประเมินความพึง
พอใจของผู้บริหารโรงเรียน และครูวิชาการที่มีต่อการนิเทศ โดยใช้คู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5
ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องตามโครงสร้างและเน้ือหา คานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อความ
กับประเด็นหลัก (IOC) โดยใช้วิธีของโดยวิธีของบุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ (2547 : 69) คัดเอาข้อท่ีได้ค่า
ระหวา่ ง 0.80-1.00 จานวน 25 ข้อ

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน เพ่อื รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศกย์ อดเยีย่ ม 88
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ดา้ นบรหิ ารจัดการยอดเยยี่ ม

3.8 นาแบบประเมินความพึงพอใจไปทดลองใช้กับผู้บริหาร ครูวิชาการ โรงเรียนใน
สังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็ ท่ไี ม่ใช่กลุ่มอยา่ ง จานวน 1 โรงเรยี น เพ่ือหาค่าความ
เชอื่ มน่ั โดยวิธีการคา่ สัมประสทิ ธ์ิแอลฟา

3.9 จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจของผู้บริหารโรงเรียน และครูวิชาการที่มีต่อ
การนเิ ทศโดยใช้คู่มือนิเทศภายในโรงเรียน ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการ
นเิ ทศแบบกัลยาณมิตร ฉบับสมบรู ณ์ เพื่อนาไปใชก้ บั กลุ่มตัวอยา่ งท่ศี ึกษาตอ่ ไป

ตัวชีว้ ัด 5 การได้รับการยอมรบั ในวงวชิ าการ

5.1 มกี ารนาเสนอในงานประชมุ ทางวชิ าการ
ข้าพเจ้า ได้มีส่วนร่วมในการนาเสนอในงานประชุทางวิชาการ ในการนาเสนอ

ผลงานนวัตกรรมทางการศึกษาตามโครงการพัฒนาสมรรถนะศึกษานิเทศก์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 และ
เป็นวิทยากรพัฒนาสมรรถนะศึกษานิเทศก์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ณ โรงแรมบ้านสวนคุณตา อล์ฟรีสอร์ท
จงั หวัดอบุ ลราชธานี

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพ่อื รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศกย์ อดเยยี่ ม 89
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ด้านบรหิ ารจัดการยอดเยย่ี ม

5.2 ได้รับคานยิ มจากผู้ทรงคุณวุฒิระดับ สพฐ.
ขา้ พเจ้า ได้รับรางวัลโล่เกยี รติยศ “ครูดีไม่มีอบายมุข” รุ่นท่ี 8 ปีการศึกษา 2561

ประเภทบุคลากร สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา

5.3 มกี ารตีพิมพ์เผยแพรใ่ นวารสารทางวิชาการ
ข้าพเจ้ามีการนาเสนอเผยแพร่ผลการวิเคราะห์วิจัยในหน่วยงานท่ีเป็นท่ียอมรับใน

วงวิชาการและวิชาชพี ผ่านทางแวบ๊ ไซต์ของสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ต, Facebook,
Link, QR-Code เปน็ ตน้

รายงานผลการปฏิบตั งิ าน เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเยยี่ ม 90
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ด้านบรหิ ารจดั การยอดเยย่ี ม

ตวั ชี้วัด 6 การบรหิ ารจดั การโดยใชเ้ ทคโนโลยี

6.1 ใชเ้ ทคโนโลยใี นการบริหารจดั การ
ข้าพเจ้า ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ การใช้ Line, Facebook, E-mail,

Link, QR-Code, Google Form, และ Application ช่วยในการติดต่อประสานงานระหว่างผู้ส่งสาร
และผรู้ ับสาร เป็นช่องทางที่สะดวก รวดเรว็ คมุ้ ค่าและประหยดั เวลา

6.2 ใช้ข้อมูลประกอบในการวางแผนและพัฒนางาน
ข้าพเจ้า ใช้ข้อมูลประกอบในการวางแผนและพัฒนางาน โดยข้าพเจ้าได้ศึกษา

ข้อมูลของโรงเรียนทางแว๊บไซต์ ทาง Facebook เป็นข้อมูลพ้ืนฐานท่ีเป็นปัจจุบัน สามารถนามาใช้
ประกอบการวางแผน เพ่ือตัดสนิ ใจ และพฒั นางานได้

6.3 มรี ะบบเครอื ข่ายในการบริหารจดั การ
ข้าพเจา้ ดาเนนิ การบริหารจดั การแบบมีส่วนร่วม โดยใชร้ ะบบเครอื ข่ายโรงเรียนเข้า

มารว่ มบริหารจัดการ ประกอบดว้ ย ผ้บู รหิ ารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ก.ต.ป.น. เครือข่ายครู/
โรงเรียน และศกึ ษานิเทศก์
องค์ประกอบที่ 2 ความมคี ณุ ประโยชน์

ตวั ชวี้ ดั 1 ความสามารถในการแก้ปญั หาหรือพฒั นา

ข้าพเจ้า นาความรู้ความสามารถมาใช้ในกระบวนการนิเทศ ได้สอดคล้องตาม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีระบุได้ครบถ้วน อีกท้ังแก้ปัญหาหรือพัฒนาได้ตรงตามกลุ่มเป้าหมาย และ
นาไปประยุกต์ใช้ในสภาพบริบทที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ทาให้ครูสามารถนาผลการนิเทศการศึกษาไป
พฒั นาการจัดการเรียนรูข้ องครอู ย่างตอ่ เนอื่ ง โดยออกแบบการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานการเรยี นรู้ ปญั หาความตอ้ งการและความสนใจของผเู้ รยี น โดยมีเป้าหมายการพัฒนาการเรียนรู้ที่
สอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาชาติและมาตรฐานการเรียนรู้ และมีการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้
อย่างต่อเน่ืองส่งผลให้คุณภาพการศึกษาสูงข้ึนจนเป็นที่ประจักษ์และสามารถตรวจสอบได้ ครูผู้สอนมี
ความรูค้ วามสามารถ มีทกั ษะ และเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอนหรือการจัดการเรียนรู้
ส่งผลให้นักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม และมีพัฒนาการท่ีแสดงออกด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย
และด้านทักษะพิสัย หรือผู้เรียนมีคุณภาพตามหลักสูตร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโดยภาพรวม
มีพฒั นาการที่ดขี ึ้น และสง่ ผลให้นักเรยี นสว่ นหน่ึงได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพทาใหม้ ีผลงานเชิงประจักษ์

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพอ่ื รบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานิเทศก์ยอดเยี่ยม 91
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเย่ียม

ตวั ชว้ี ดั 2 ประโยชน์ต่อบคุ คล

ข้าพเจ้า สามารถพัฒนาระบบการนิเทศการจัดการศึกษา โดยใช้ทิศทางการพัฒนา
การศกึ ษา สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเกต็ ด้วยโมเดล 4P สกู่ ระบวนการนิเทศภายใน
โรงเรยี น ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยกระบวนการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร สง่ ผลให้

2.1 ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชนต์ ่อครูผสู้ อน
ครูสามารถนาผลการนิเทศการศึกษาไปพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูอย่างต่อเนื่อง

โดยออกแบบการเรียนรู้ได้สอดคล้องกบั หลกั สตู รสถานศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ปัญหาความต้องการและ
ความสนใจของผู้เรียน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติและ
มาตรฐานการเรียนรู้ และมีการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองส่งผลให้คุณภาพการศึกษา
สูงขึน้ จนเป็นทปี่ ระจกั ษ์และสามารถตรวจสอบได้ ครผู สู้ อนมคี วามรคู้ วามสามารถ มที กั ษะ และเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอนหรือการจัดการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม และมีพัฒนาการที่แสดงออกด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย หรือผู้เรียนมี
คุณภาพตามหลักสูตร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโดยภาพรวมมีพัฒนาการท่ีดีขึ้น และส่งผลให้
นกั เรยี นสว่ นหนงึ่ ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพทาใหม้ ผี ลงานเชิงประจักษ์

2.2 ผลงานส่งผลใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ผู้เรียน
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561 มี

ผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ไดค้ ะแนนเตม็ 100 คะแนน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน 35 คน
และกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาองั กฤษ จานวน 4 คน

ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ช้ัน
ประถมศึกษาปีที 3 ปีการศึกษา 2561 มีเด็กนักเรียนที่ได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ความสามารถ ด้าน
คานวณ (Numeracy) ไดแ้ ก่ เดก็ ชายธัญวิสษิ ฐ์ สัญญวงศ์ โรงเรียนอนบุ าลภเู ก็ต

เด็กปฐมวัยมีผลการประเมินพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ - จิตใจ
ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ญั ญา เด็กผ่านเกณฑร์ ้อยละ 100

ผลงานนักเรียนจากการนิเทศการศึกษาทาให้ผู้เรียนได้รับการยอมรับจากครู ผู้ปกครอง
และชุมชน โดยนักเรียนมีสุขภาพกายและสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มี
ทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิด
สร้างสรรค์ ตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ สมเหตุสมผล มีทักษะในการทางาน รักการทางาน

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพือ่ รบั รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศก์ยอดเยีย่ ม 92
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา ด้านบริหารจัดการยอดเย่ียม

สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลงาน
เชงิ ประจักษ์ในภาพรวม กล่าวคือ การได้รับรางวัลจากการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งท่ี
67 ประจาปีการศึกษา 2560 มีนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน 84 คน มีกิจกรรที่ทาการแข่งขัน
จานวน 44 กจิ กรรม ผลการแขง่ ขัน ได้รางวลั เหรยี ญทอง จานวน 30 เหรียญ เหรียญเงิน จานวน 8 เหรียญ
เหรียญทองแดง จานวน 4 เหรียญ และในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรมวิชาการ และ
เทคโนโลยีของนักเรียน ประจาปีการศึกษา 2561 ระดับชาติ (ภาคใต้) นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน
99 คน มีกิจกรรมท่ีทาการแข่งขัน จานวน 198 กิจกรรม ผลการแข่งขันได้เหรียญทองรวมเป็นอันดับ 1
ระดับชาติ (ภาคใต้) ได้รางวัลเหรียญทอง จานวน 106 เหรียญทอง ไดร้ างวลั เหรยี ญเงนิ จานวน 45 เหรยี ญ
เงนิ ไดร้ างวลั เหรียญทองแดง จานวน 28 เหรียญทองแดง

2.3 ผลงานสง่ ผลให้เกิดประโยชน์ต่อผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา มีภาวะผู้นาทางวิชาการ สามารถวางระบบการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

สามารถช่วยเหลือครูในการพัฒนางานและพัฒนาผู้เรียนได้เต็มที่ ส่งผลให้โรงเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่พึง
ประสงค์ ได้สอดคลอ้ งกับบริบทโรงเรียนในการคิดค้นวิธีการเป็นของตนเองได้ การพิจารณาผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET)และผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ
(National Test : NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที 3

ตัวชี้วัด 3 ประโยชนต์ ่อหน่วยงาน

3.1 ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชนต์ อ่ สถานศึกษา
ผลการนิเทศการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาภเู ก็ต โดยโรงเรียนได้นาข้อเสนอแนะจากการนิเทศการจัดการศึกษาไปใช้ในการปรับปรุงการ
เรียนการสอนทาให้โรงเรียนจัดการศึกษาได้บรรลุเป้าหมายและผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
ของหลกั สตู ร ทง้ั ระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติโดยสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้โรงเรยี นบา้ นพรุจาปา เปน็ โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ระดบั ดเี ดน่
มี “โรงเรยี นดไี มม่ ีอบายมุข” ประเภทรางวลั เกยี รติบตั ร ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบา้ นไม้ขาว

3.2 ผลงานสง่ ผลใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ วงการวิชาชีพศกึ ษานิเทศก์
ข้าพเจ้า มีผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ด้านการ

ผลติ ผลงานทางวิชาการ สร้างคู่มือและเอกสารที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนครูในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน การจดั ชัน้ เรียน การทาผลงานทางวิชาการ สรา้ งขวัญกาลังใจ เป็นผู้นิเทศที่ใช้การนิเทศแบบ

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพ่ือรับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานเิ ทศก์ยอดเย่ยี ม 93
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา ดา้ นบริหารจดั การยอดเยี่ยม

กัลยาณมิตร ให้ความเป็นกันเอง ให้เกียรติครู คอยช่วยเหลือ และให้ความสาคัญงานการสอนของครู
สนับสนนุ ครใู หม้ คี วามก้าวหนา้ ทางวิชาชีพ ดว้ ยการใหค้ าแนะนา และจัดหาข้อมูลต่าง ๆ ให้ ทาหน้าท่ี
ใหเ้ หมาะสมกับการเปน็ ศกึ ษานเิ ทศก์ เปน็ ครขู องครู

3.3 ผลงานส่งผลใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน
สถานศึกษาสามารถนาผลจากการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนในระดับ

สถานศึกษา ไปพัฒนาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนและสังคม จนเป็นท่ียอมรับ
ของชุมชนและสังคมอย่างกว้างขวาง และเป็นแบบอย่างได้ กล่าวคือสถานศึกษาได้นาข้อมูลและสารสนเทศ
จากการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนไปแจ้งเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการ
แก้ปญั หาและจดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามหลักสูตร โดยให้ผู้ปกครอง
ไดร้ บั ทราบข้อมูลและสารสนเทศจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของผู้เรียน
เปน็ รายบคุ คล และรบั ทราบความกา้ วหนา้ ในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนเปน็ รายบุคคล รายกลุ่ม มีการประชุม
เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีแบบทดสอบ
วินิจฉัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนรายบุคคลมีเครื่องมือวัดและประเมินผลระหว่างเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียน มีการยก
ย่องเชดิ ชูเกยี รตผิ ้เู รยี นทม่ี ผี ลสัมฤทธิส์ ูง มีการนิเทศภายใน (โดยผู้บริหารสถานศกึ ษา/ผู้ท่ีไดร้ บั มอบหมาย) ใน
การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข ท้ังที่บ้านและที่โรงเรียน มี
กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อแก้ปัญหา รับทราบค่าเป้าหมายด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของเขตพื้นที่
การศึกษา และร่วมกาหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา (คะแนนเฉล่ีย) สอดคล้องกับนโยบายของเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) มีการประชาสัมพันธ์ค่าเป้าหมาย
(คะแนนเฉลี่ย) ให้ครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทราบ ร่วมกิจกรรมสอนซ่อมเสริม
ผู้เรียน นอกเหนือจากเวลาเรียนตามปกติมีข้อสอบให้นักเรียนได้ฝึกทาข้อสอบอย่าเพียงพอ/หลากหลาย
การให้ผู้ปกครอง ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน นอกจากนี้ มีการจัด
การศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา โดยการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของ
คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และครู มีพันธะสัญญาต่อกันในการจัดทาหลักสูตร
สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เช่น พัฒนา
เครอื ขา่ ยผ้ปู กครองในการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน การระดมทนุ และทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา
ในระดับสถานศึกษา การสร้างเครือข่ายกับสถาบันการศึกษา แหล่งวิทยาการ สถานประกอบการและ

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื รับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศกย์ อดเยย่ี ม 94
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ด้านบรหิ ารจัดการยอดเย่ยี ม

ภูมปิ ัญญาในท้องถน่ิ เพอ่ื การจดั กระบวนการเรียนรู้ เช่น เชิญผู้รู้ วิทยากรท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้านมาเป็นครู
ให้กับนักเรียน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นให้บริการงานวิชาการแก่บุคลากรและหน่วยงานท่ีต้องการรับ
บรกิ าร เชน่ การเชญิ ผู้ปกครองนกั เรียน ชมุ ชน รว่ มกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน การไปบาเพ็ญประโยชน์ให้กับ
วัด สถานที่ราชการใกล้เคียง โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศสะอาด ร่มร่ืน สวยงามท่ีเอื้อ
ต่อการเรียนรู้ มีสารสนเทศแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก ภูมิปัญญาและปราชญ์ท้องถ่ิน และเครือข่าย
ต่าง ๆ เพ่ือการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนมีแผนพัฒนาและแผนการใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และ
เครือข่ายต่าง ๆ เพื่อการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนทุกโรงเรียนมีผลการดาเนินงานการบริหารจัดการคุณภาพ
ของผู้บริหารสถานศึกษา ในเร่ือง การใช้แหล่งเรียนรู้ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากชุมชน มีการจัด
การเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ มีแหล่งเรียนรู้เพ่ือจัดการเรียนรู้
สาหรับนกั เรยี นและบริการชุมชนมีเครอื ข่ายความรว่ มมอื ท้ังด้านการบริหารจดั การ และการจัดการเรียนการสอน
มีแหล่งเรียนรู้เพ่ือการจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียน และบริการชุมชน ท่ีเป็นแบบอย่าง และเป็นท่ียอมรับ
โดยท่ัวไปและมกี ารพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง โรงเรียนมีเครอื ขา่ ยแลกเปล่ียนเรยี นรู้อย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง

ตวั ช้ีวัด 4 การใช้ทรัพยากร

4.1 มกี ารใชท้ รัพยากรที่มอี ยอู่ ยา่ งเหมาะสมคมุ้ ค่า สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของหน่วยงาน
ข้าพเจ้า ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างเหมาะสม คุ้มค่า สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน

ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามระเบียบ และมาตรฐานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต คือ เปิด
แอรค์ อนดิชน่ั ตอนเก้าโมงเช้า และปดิ ตอนสี่โมงเย็น ปดิ นา้ ปิดไฟทุกครั้งหลังใช้เสร็จ แยกขยะลงถังตามสี
และชนิดของขยะ ช่วยทาความสะอาดภายในบริเวณอาคาร และห้องทางาน ใช้กระดาษอย่างประหยัดและ
เหมาะสมกบั งาน

4.2 ใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยดั
ขา้ พเจา้ ใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยดั โดยใช้หลกั ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด

พออยพู่ อกนิ และ เศรษฐกิจพอเพียง มคี วามพอประมาณ ความมเี หตมุ ีผล มาใช้ในการดาเนินชีวิต ส่งผลให้
ปริมาณการใช้ทรัพยากรสนิ้ เปลอื งลดลง

4.3 ใช้ทรพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
ข้าพเจา้ ใช้ทรัพยากรให้เกดิ ประโยชน์อย่างสงู สุด เชน่ การใช้หลัก 3R R : Reduce R :

Reuse R: Recycle ลดการใช้ การบริโภคทรัพยากรท่ีไม่จาเป็น ใช้เทคโนโลยี และสารสนเทศทดแทน
เพ่ือใหเ้ กิดความคุ้มค่า เกิดประโยชน์แกร่ าชการอย่างสูงสดุ

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เพอื่ รับรางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ศกึ ษานิเทศกย์ อดเยย่ี ม 95
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ด้านบริหารจัดการยอดเย่ยี ม

องคป์ ระกอบท่ี 3 ความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์

ตัวบ่งช้ี 1 ความแปลกใหม่

1.1 มกี ารสรา้ งองค์ความรูข้ องตนเอง
1.2 มกี ารปรบั ปรุงจากแนวคิดเดิม
1.3 มีการพัฒนาตอ่ ยอดจากแนวคดิ เดิม
ความแปลกใหม่ของผลงานที่เกิดจากความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ความตระหนักในหน้าท่ีท่ี
ต้องการพัฒนางานให้ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้จริง ยังไม่มีปรากฏมาก่อน ข้าพเจ้าขอ
ศึกษาข้อมูลเดิมท่ีมีอยู่ ท้ังบริบทโดยท่ัวไป และทฤษฎีท่ีใช้บริหารจัดการและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิของ
สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน เพื่อรบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ปกี ารศึกษา 2563 ประเภท ศึกษานเิ ทศกย์ อดเยี่ยม 96
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ด้านบริหารจดั การยอดเยยี่ ม


Click to View FlipBook Version