The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยปี-61-แก้ปัญหาการพืมพ์งานโปรแกรม word

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by T- AooM, 2019-10-28 04:33:36

วิจัยปี-61-แก้ปัญหาการพืมพ์งานโปรแกรม word

วิจัยปี-61-แก้ปัญหาการพืมพ์งานโปรแกรม word

วจิ ัยในชนั้ เรยี น

เร่อื ง
การพัฒนาทกั ษะการพิมพใ์ นการใชโ้ ปรแกรม

Microsoft Word ของนกั เรยี นช้ัน ป.5

ผวู้ ิจัย
นางสาวพรรณรัตน์ ชินพัณณ์

ครู คศ.2

โรงเรียนบา้ นตลาดเขตมิตรภาพที่ 105
สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 2

บทที่ 1

ช่อื เรอ่ื ง การพัฒนาทกั ษะการพมิ พใ์ นการใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word ของ
นกั เรียนชนั้ ป.5/2

ชื่อผู้วิจยั นางสาวพรรณรัตน์ ชนิ พัณณ์

1. ความเป็นมาของการวจิ ัย

การจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในส่วนของการเรียนคอมพิวเตอร์

การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเป็นวิชาท่ีสร้างทักษะในด้านการพิมพ์ เพ่ือให้นักเรียนมี

ความสามารถในด้านการพิมพ์มีความแม่นยาในการใช้แป้นอักษรและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ
ผลิตงานเอกสารหรอื งานประเภทอืน่ ๆ ไดต้ ่อไปในอนาคต

จากการสงั เกตพบว่า นักเรยี นมักจะมีปัญหาในการพิมพ์ คือ พมิ พ์งานท่าด้รับมอบหมายชา้ โดยจะหา
ตวั อักษรท่อี ยู่บนคีย์บอร์ดไมเ่ จอ และมกั พิมพ์คาไม่ถกู ตอ้ ง ทาให้การเรยี นการสอนเป็นไปด้วยความลา่ ช้าจากท่ี
กาหนดอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ ผู้วิจัยจึงทาการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียนระดับชั้น ป.5 ให้เกิดการ
พัฒนาทักษะด้านการพิมพ์ด้วยโปรแกรมหัดพิมพ์ โดยผู้วิจัยได้กาหนดเวลาในการฝึกพิมพ์ในชั่วโมง
คอมพิวเตอร์ ครั้งละ 15 นาที สลับกับการเลน่ เกมฝึกทักษะการพิมพ์ควบคูก่ ับการวัดผลพัฒนาการปฏิบัติพมิ พ์
เพ่อื หาวิธีการพฒั นาใหเ้ กดิ ทกั ษะการพิมพ์ให้รวดเร็วและแม่นยาถูกตอ้ ง

2. วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือพฒั นาทกั ษะการพิมพ์ในการใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word ของ นกั เรียนช้ัน ป.5
2. เพื่อพัฒนานักเรยี นใหร้ จู้ ักและจาตวั อักษรได้แม่นยา

3. สมมตฐิ านการวิจัย

นักเรยี นทพ่ี ัฒนาทักษะด้านการพมิ พ์ ด้วยโปรแกรมหัดพิมพ์ ในวิชาคอมพิวเตอร์ มที กั ษะดา้ นการ
พมิ พ์เพ่ิมมากขึ้น และพมิ พไ์ ด้รวดเร็วและแม่นยาถูกต้อง

4. ขอบเขตของการวจิ ยั

กล่มุ เป้าหมายทีใ่ ช้ในการวิจัยครงั้ น้ี นักเรียนระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 ของโรงเรียนบา้ นตลาดเขต
มิตรภาพท่ี 105

5. กรอบแนวคดิ ในการวิจยั ตวั แปรตาม
ทักษะความชานาญ
ตัวแปรตน้
การฝึกด้วย ในด้านการพมิ พ์

โปรแกรมหดั พิมพ์

6.ระยะเวลาในการดาเนินงาน

16 พฤษาคม 2561 – 30 กันยายน 2561

7. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั

1. นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 มีการพัฒนาทักษะการใชง้ านโปรแกรม Microsoft Word

เพื่อการพิมพ์เพิ่มมากขน้ึ ร้จู ักและจาตวั อักษรไดแ้ ม่นยาขนึ้
2. ชว่ ยพฒั นากจิ กรรมการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้นึ

8. นิยามศพั ท์เฉพาะ

1. โปรแกรมหัดพิมพ์ คอื โปรแกรมสาหรับการฝึกพิมพ์ ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษในเครอ่ื ง
คอมพวิ เตอร์

2. โปรแกรม Microsoft Word คอื โปรแกรมประมวลผลคาท่ีใชส้ าหรับให้นกั เรียนในการทาเอกสาร
ต่างๆ เช่น รายงาน การด์ ปฏิทนิ เป็นต้น

3. นกั เรียน หมายถึง นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ทเ่ี รยี นในวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ใน
สว่ นของการเรียนคอมพวิ เตอร์ จานวน 46 คน

บทที่ 2
แนวคิด หลักการ และทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ ง

การวิจัยครงั้ น้ี มงุ่ ศึกษาการพฒั นาทักษะด้านการพมิ พ์ ด้วยโปรแกรมสาหรบั การฝึกพิมพ์ ภาษาไทย
และ ภาษาอังกฤษในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ให้กบั นักเรยี นรายวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี ในส่วนของการ

เรยี นคอมพิวเตอร์ การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word ผวู้ จิ ัยได้ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวจิ ยั ที่

เกย่ี วข้อง โดยจาแนกเน้ือหาไดด้ ังน้ี

แนวคดิ เกยี่ วกบั การพัฒนาทักษะ

ทกั ษะ (Skill) หมายถงึ ความสามารถในการจัดการกับพฤติกรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั คนอืน่ ๆ ซง่ึ นาไป
สูร่ ะดับการปฏิบัติตามท่ีต้องการ (จักรกฤช สิงห์ศลิ ารักษ์ : ออนไลน์) สอดคล้องกับที่ ครอนบาร์ค
(Cronbach. 1977 : 393) กล่าวว่า ทักษะว่าเป็นการปฏิบัติที่เกิดจากการเรียนรู้สามารถกระทาได้โดย
แทบจะไม่ต้องใช้ความคิด ซ่ึงเมื่อพิจารณาความหมายและลักษณะของทักษะข้างต้นจะเห็นได้ว่าการ
ปฏิบัติการอย่างมีทักษะจาเป็นต้องอาศัยพัฒนาการของกระบวนการเรียนรู้ และกลไกการทางานของ
กล้ามเนื้อในการปฏิบัติการ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากเกณฑ์ 4 ประการคือ ความเร็ว (Speed) ความ
แม่นยา (Accuracy) ลกั ษณะท่าทาง (Form) และความคล่องตัว (Adaptability) กลา่ วคือ คนท่ีมีทกั ษะ
ย่อมสามารถปฏิบัติการอย่างรวดเร็วภายในเวลาอันจากัด มีความแม่นยาในการเคลื่อนไหวกล้ามเน้ือ ไมข่ ัดเขิน
ผิดพลาด ใช้พลังงานหรือความพยายามน้อยที่สุด และสามารถปฏิบัติการได้ในสถานการณ์ที่แตกต่างออกไป
ทกั ษะจึงมีลักษณะสาคญั 3 ประการ คอื เปน็ การตอบสนองทางกลไกทีต่ ่อเนือ่ งกนั เป็นลกู โซ่ (Response
Chain) เป็นการเกี่ยวข้องและประสานกันในการเคลื่อนไหวของ อวัยวะ (Movement Coordination) และ
เป็นการจัดระเบียบต่อเนื่องในการตอบสนองเข้าเป็นรูปแบบการตอบสนองที่ ซับซ้อน และเป็นดังที่ การริส
สัน และ แมกอน (Garrison and Magoon. 1972 : 640) กล่าวว่า ทักษะเป็นแบบของพฤติกรรมท่ีกระทา
ไปด้วยความราบเรียบ (Smooth) รวดเร็ว แม่นยา และมีความสอดคล้องผสมผสานกันอย่างเหมาะสมของ
กลา้ มเนอ้ื ตา่ ง ๆ อันเป็นผลมาจากการพฒั นาความสามารถของบคุ คล

การพัฒนาทักษะ หมายถึง การเพ่ิมความสามารถด้านพฤติกรรมให้กับผู้เรยี นให้มีความแม่นยาและ
ถูกตอ้ งในการปฏบิ ัตมิ ากขนึ้

บทท่ี 3
วิธีดาเนนิ การวิจยั

3.1 กลมุ่ เปา้ หมาย

นกั เรียนวิชาพิมพ์ดีดภาษาองั กฤษ ระดบั ชัน้ ปวช.1 ของโรงเรยี นดสุ ิตพณชิ ยการ จานวน 4 คน
ประกอบด้วย นายอานาจ จันทคาท, นายอานนท์ ศรวี พิ ล, นายอนุ ขวญั ใจ, นายทองดี ชยั
วงค์

3.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล

3.2.1 โปรแกรมพมิ พ์ดดี คอมพวิ เตอร์ พิมพ์สัมผสั Version 2.0 ทเ่ี ป็นโปรแกรมสาหรบั ใชฝ้ กึ พมิ พ์
ภาษาองั กฤษในเคร่ืองคอมพิวเตอร์

3.2.2 โปรแกรมประมวลผลคา Microsoft Word 2007 ทใ่ี ชส้ าหรบั การฝึกพิมพ์ดดี จากคูม่ ือ
พมิ พ์ดดี
ภาษาองั กฤษ

3.2.3 แบบทดสอบจับเวลา สาหรบั วดั ความเรว็ ใน 3 ระดบั เชน่ 1 นาที 3 นาที และ 5
นาที
โดยนาผลไปเทยี บเกณฑป์ ระเมินผล

3.2.4 ตารางสถติ คิ วามเร็วในการพิมพ์ดีดของนกั ศึกษา จานวน 1 ชุด

3.3 ขนั้ ตอนการดาเนินการ

3.3.1 กลุ่มนกั เรยี นเป้าหมายที่ต้องการแกป้ ัญหาและพฒั นาทักษะการพิมพด์ ีดภาษาองั กฤษ จานวน
4 คน ประกอบด้วย นายอานาจ จันทคาท, นายอานนท์ ศรวี ิพล, นายอนุ ขวญั ใจ นายทองดี ชัย
วงค์ เพ่อื ประเมนิ ทักษะดา้ นการพิมพ์ดว้ ยการจับเวลาก่อน 3 ครั้ง และบันทึกสถติ ิความเร็วในการ
พิมพ์ดีดไวก้ ่อนการทดลอง

3.3.2 ดาเนินการทดลอง โดยใหน้ ักศึกษาฝกึ พมิ พ์ดีดด้วยโปรแกรมพิมพด์ ีดคอมพวิ เตอร์วนั ละ 30
นาที และฝึกพิมพ์ดดี ด้วยโปรแกรมประมวลผลคา หลังจากนัน้ จะทาการวัดผลพัฒนาการปฏิบัตพิ ิมพ์สมั ผัส
ภาษาองั กฤษทุกสปั ดาห์ และบนั ทึกเปน็ สถติ คิ วามเร็วในการพมิ พด์ ดี ของแตล่ ะคนไว้

3.3.3 ประเมนิ ผลการเรียนด้วยการดูผลงานสถติ ิความเร็วในการพมิ พ์ดีดไม่ต่ากวา่ เกณฑป์ ระเมิน
ขน้ั ต่า 15 คา /นาที

3.4 การสรา้ งและพัฒนาเครอื่ งมือทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล

3.4.1 จัดทาคมู่ ือฝึกปฏบิ ตั ิพิมพ์ดีดภาษาองั กฤษ สาหรับใชฝ้ ึกทกั ษะพมิ พด์ ีด

3.4.2 สร้างแบบทดสอบจบั ความเรว็ สาหรับพิมพด์ ีดภาษาอังกฤษ โดยให้ครอบคลมุ เน้อื หาตาม
จุดประสงค์ โดยกาหนดเกณฑ์ไว้ 3 ระดบั คือ เกณฑ์ขน้ั ต่า 15 คา/นาที เกณฑข์ น้ั กลาง 20 คา/
นาที เกณฑ์ขั้นสงู 30 คา/นาที

3.4.3 นาแบบทดสอบและตารางบนั ทึกสถิติไปให้อาจารย์พยงุ เรืองอุดม ตรวจสอบความถกู ต้อง
และเหมาะสม

3.5 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู

โดยการทดสอบจบั เวลาพมิ พ์ดีดภาษาอังกฤษ 1 นาที 3 นาที และ 5 นาที และบันทึกสถิติ
ความเร็วในการพมิ พด์ ีด โดยจะทาการจบั เวลาทกุ สปั ดาห์รวมท้งั ส้ิน 3 คร้ัง

วันท่ี 9 มกราคม 2554 จับเวลา 1 นาที ดว้ ยแบบทดสอบที่ 1
วันท่ี 23 มกราคม 2554 จับเวลา 3 นาที ด้วยแบบทดสอบท่ี 2
วนั ที่ 30 มกราคม 2554 จบั เวลา 5 นาที ด้วยแบบทดสอบท่ี 3

3.6 การจัดทาขอ้ มลู และวิเคราะห์ข้อมูล

สถิตขิ องนกั เรยี นแต่ละคนเปรียบเทยี บกบั เกณฑ์ 3 ระดบั ทคี่ รูกาหนด

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวิจยั คร้งั นี้ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือพฒั นาทกั ษะการพมิ พ์ดีดภาษาองั กฤษของนกั เรยี นระดับปวช. 1
ของโรงเรียนดสุ ติ พณิชยการ โดยมเี คร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู คอื การทดสอบจบั เวลาพิมพ์ดีด
ภาษาองั กฤษ 1 นาที 3 นาที และ 5 นาที และบนั ทึกสถิติความเร็วในการพิมพ์ดีด ซึ่งเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลจากนกั เรียนระดบั ปวช.1 ประกอบด้วย นายอานาจ จนั ทคาท, นายอานนท์ ศรีวิพล, นายอนุ
ขวญั ใจ นายทองดี ชยั วงค์ ผวู้ ิจยั ได้แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั ต่อไปน้ี

4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

ตอนท่ี 1 การทดสอบกอ่ นเรียนโดยการจบั เวลา 1 นาที 3 นาที และ 5 นาที ก่อนการทดลอง
เรยี นพมิ พ์ดีดดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ พิมพ์สัมผัส Version 2.0

ตารางที่ 4.1 แสดงผลการทดสอบความเร็วโดยการจับเวลาพิมพ์ดีดภาษาองั กฤษ 1 นาที 3 นาที และ 5

นาที

ของนักเรียนวิชาพมิ พ์ดดี องั กฤษจานวน 10 คน จากทงั้ หมด 15 คน

ชอ่ื - สกลุ จับเวลา ค่าเฉลย่ี สรปุ ผล

1 นาที 3 นาที 5 (X) การทดสอบ

นาที

1. นายณัฐรตั น์ นชุ ใย 16 16 16 คา ผา่ นเกณฑ์

17

2. นายธนกร แสงเดอื น - -- -

-

3. นายอานาจ จนั ทคาท 8 6 6 ตา่ กวา่ เกณฑ์

4

4. นายอานนท์ ศรีวพิ ล 14 12 12 ตา่ กวา่ เกณฑ์

10

5. นายบรรพต แซเ่ ล้า - -- -

-

6. นายอนุ ขวญั ใจ 9 7 8 ตา่ กว่าเกณฑ์

8

7. นายทองดี ชัยวงค์ 12 10 10 ต่ากวา่ เกณฑ์

9

8. น.ส.นาตยา พรหมจะโร - -- -

-

9. น.ส.วรรณี ดนี วิ งษ์ - -- -

-

10. น.ส.เพ็ญนภา อยฤู่ ทธ์ิ 17 16 16 ผ่านเกณฑ์

11. น.ส.เมย์ สขุ ยศ 16 - - -
- - - -
12. น.ส.จรินทร์ ชัยนอก ค่าเฉลี่ย สรุปผล
- - (X) การทดสอบ
ชื่อ - สกลุ - 17 ผ่านเกณฑ์
1 นาที จบั เวลา 26 ผา่ นเกณฑ์
นาที 3 นาที 5 18 ผา่ นเกณฑ์
18
13. น.ส.พรภวิษย์ณี ขจรเขมรัชต์ 17 17
14. น.ส.วชิ ชุดา คาหล้าแก้ว 28
15. น.ส.สพุ รรษา ไชยหาทัพ 24 25
20
17 18

จากตารางท่ี 4.1 พบว่า จากจานวนนกั ศกึ ษาทเี่ ขา้ รบั การทดสอบจานวน 9 คน สามารถ
ผ่านการทดสอบจับเวลาทั้งสิ้น 5 คน โดยพบว่ามนี กั ศึกษา จานวน 4 คน มีสถติ คิ วามเร็วในการจบั เวลาต่า
กว่าเกณฑ์ข้นั ต่า (15 คา/นาที) ประกอบด้วยนายอานาจ จันทคาท, นายอานนท์ ศรวี ิพล, นายอนุ
ขวญั ใจ, นายทองดี ชัยวงค์ จากผลการทดสอบจบั เวลาท่ีมีนักศึกษาไมผ่ ่านการทดสอบ จานวน 4 คน
น้ี จึงเปน็ กลมุ่ เปา้ หมายท่ีมีปญั หาต้องได้รบั การพัฒนาทักษะด้านการพิมพด์ ดี ภาษาอังกฤษใหม้ ากข้ึน โดย
ครผู ูส้ อนแก้ไขปัญหาดว้ ยการพัฒนาทักษะดา้ นการพมิ พ์ดีดภาษาองั กฤษ ด้วยชุดการสอนพิมพด์ ดี
คอมพวิ เตอร์พิมพส์ ัมผัส Version 2.0

ตอนท่ี 2 การทดสอบหลังเรยี น โดยการจบั เวลา 1 นาที 3 นาที และ 5 นาที กอ่ นการ
ทดลองเรยี นพมิ พด์ ดี ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ พมิ พส์ มั ผสั Version 2.0

ตารางท่ี 4.2 แสดงผลการทดสอบการจับเวลาพิมพด์ ีดภาษาองั กฤษ 1 นาที ของนักเรยี น
ระดบั ชั้นปวช.1 ของโรงเรยี นดุสิตพณชิ ยการ

ชอ่ื - สกลุ จบั เวลา คา่ เฉลยี่ สรปุ ผล

1 นาที 3 นาที 5 (X) การทดสอบ

นาที

1. นายอานาจ จนั ทคาท 15 18 17 ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่า
2. นายอานนท์ ศรวี พิ ล
3. นายอนุ ขวัญใจ 19

25 25 26 ผา่ นเกณฑ์

27 ระดบั กลาง

16 16 17 ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ต่า

18

4. นายทองดี ชยั วงค์ 12 15 14 ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่า

16

จากตารางที่ 4.2 พบวา่ นักศึกษาทัง้ 4 คน สามารถผ่านการทดสอบจับเวลา 1 นาทที กุ คน

โดยมีนายอานนท์ ศรีวพิ ล ผ่านเกณฑ์ข้นั กลาง (26 คา/นาท)ี นอกน้ันผ่านเกณฑ์ขัน้ ต่า เรียง

ตามลาดับดงั น้ี นายอานาจ จันทคาท และ นายอนุ ขวญั ใจ (17 คา/นาที) นายทองดี ชัยวงค์

(14 คา/นาที)

ตารางท่ี 4.3 แสดงผลการทดสอบการจับเวลาพิมพด์ ดี ภาษาองั กฤษ 3 นาที ของนักเรยี น
ระดับชน้ั ปวช.1 ของโรงเรียนดุสิตพณิชยการ

ชื่อ - สกลุ จับเวลา คา่ เฉล่ยี สรปุ ผล

1 นาที 3 นาที 5 X การทดสอบ

นาที

1. นายอานาจ จันทคาท 16 15 16 ผ่านเกณฑ์ขนั้ ตา่
2. นายอานนท์ ศรีวิพล
3. นายอนุ ขวญั ใจ 16
4. นายทองดี ชยั วงค์
24 25 24 ผ่านเกณฑ์

24 ระดบั กลาง

16 16 17 ผา่ นเกณฑ์ขั้นต่า

18

18 19 20 ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ต่า

22

จากตารางที่ 4.3 พบว่า นกั ศึกษาทั้ง 4 คน สามารถผ่านการทดสอบจับเวลา 3 นาที ทกุ คน
โดยมีนักเรยี นจานวน 1 คน ผ่านเกณฑ์ขั้นกลาง คือ นายอานนท์ ศรวี พิ ล ผ่านเกณฑ์ขัน้ กลาง (24
คา/นาที) นายทองดี ชัยวงค์ (20 คา/นาที) สว่ น นายอนุ ขวัญใจ (17 คา/นาท)ี และ นาย
อานาจ จันทคาท
(16 คา/นาท)ี ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ตา่

ตารางที่ 4.4 แสดงผลการทดสอบการจบั เวลาพิมพด์ ดี ภาษาอังกฤษ 5 นาที ของนกั เรียน
ระดับชน้ั ปวช.1 ของโรงเรยี นดสุ ติ พณิชยการ

ช่ือ - สกลุ จับเวลา ค่าเฉลีย่ สรปุ ผล

1 นาที 3 นาที 5 (X) การทดสอบ

นาที

1. นายอานาจ จันทคาท 17 16 16 ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่า
2. นายอานนท์ ศรวี ิพล
16

25 28 27 ผ่านเกณฑ์

27 ระดบั กลาง

3. นายอนุ ขวัญใจ 18 20 20 ผ่านเกณฑ์ขนั้ ตา่

22

4. นายทองดี ชัยวงค์ 20 24 22 ผ่านเกณฑ์ขนั้ ต่า

22

จากตารางที่ 4.4 พบวน่ ักศึกษาทั้ง 4 คน สามารถผา่ นการทดสอบจบั เวลา 5 นาที ทุกคน โดย

มีนักเรียนจานวน 1 คน ผ่านเกณฑ์ขน้ั กลาง คือ นายอานนท์ ศรีวิพล ผา่ นเกณฑข์ น้ั กลาง (27 คา/

นาท)ี นายทองดี ชัยวงค์ (22 คา/นาที) ส่วน นายอนุ ขวัญใจ (20 คา/นาที) และ นายอานาจ

จนั ทคาท

(16 คา/นาท)ี ผา่ นเกณฑ์ขั้นต่า

บทท่ี 5
สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

ในการวจิ ัยชัน้ เรยี นเรอ่ื ง การพัฒนาทกั ษะด้านการพิมพ์ดีดภาษาองั กฤษ ด้วยชุดการสอนพิมพ์ดดี
คอมพิวเตอร์พิมพส์ ัมผัส Version 2.0 กบั นักเรยี นระดับช้ันปวช.1 ของโรงเรยี นดสุ ติ พณชิ ยการ

1. วัตถปุ ระสงค์

เพื่อพัฒนาทักษะการพมิ พด์ ีดภาษาองั กฤษของนักเรียนวิชาพมิ พ์ดีดอังกฤษ ระดบั ชน้ั ปวช.1 ของ
โรงเรยี นดุสติ พณิชยการ

2. สมมตฐิ านในการวจิ ยั

นกั เรียนท่ีเรียนด้วยชุดการสอนพมิ พด์ ดี คอมพิวเตอร์พมิ พส์ ัมผัส Version 2.0 มที กั ษะด้านการ
พิมพด์ ดี ภาษาองั กฤษเพิ่มมากข้นึ

3. วธิ ีการประเมิน

โดยใช้แบบทดสอบจับความเร็วสาหรบั พิมพ์ดดี ภาษาอังกฤษ สาหรับจบั เวลา 1, 3 และ 5 นาที โดย
กาหนดเกณฑ์ไว้ 3 ระดบั คือ เกณฑ์ข้ันต่า 15 คา/นาที เกณฑ์ขัน้ กลาง 20 คา/นาที เกณฑข์ ั้นสงู 30
คา/นาที

4. สรุปผลการวิจยั

4.1 การทดสอบจับเวลาครั้งท่ี 1 พบวา่ นักศึกษาท้งั 4 คน สามารถผ่านการทดสอบจับเวลา 1
นาทที กุ คน โดยมี นายอานนท์ ศรีวพิ ล ผา่ นเกณฑข์ นั้ กลาง (26 คา/นาที) นอกนั้นผา่ นเกณฑ์ข้นั ตา่
เรยี งตาม
ลาดับดังน้ี นายอานาจ จันทคาท และ นายอนุ ขวัญใจ (17 คา/นาที) นายทองดี ชยั วงค์ (14 คา/
นาที)

4.2 การทดสอบจับเวลาครั้งท่ี 2 พบว่านกั ศึกษาท้ัง 4 คน สามารถผา่ นการทดสอบจบั เวลา 3
นาที ทุกคน โดยมี นักเรยี นจานวน 1 คน ผา่ นเกณฑ์ขั้นกลาง คือ นายอานนท์ ศรวี พิ ล ผา่ นเกณฑ์
ขน้ั กลาง (24 คา/นาที) นายทองดี ชัยวงค์ (20 คา/นาท)ี ส่วน นายอนุ ขวัญใจ (17 คา/นาที)
และ นายอานาจ จนั ทคาท (16 คา/นาท)ี ผ่านเกณฑ์ขัน้ ต่า

4.3 การทดสอบจับเวลาคร้ังท่ี 3 พบวา่ นักศึกษาท้งั 4 คน สามารถผ่านการทดสอบจับเวลา 5
นาที ทกุ คน โดยมี นักเรียนจานวน 1 คน ผ่านเกณฑข์ ้ันกลาง คือ นายอานนท์ ศรีวพิ ล ผา่ นเกณฑ์
ขั้นกลาง (27 คา/นาที) นายทองดี ชยั วงค์ (22 คา/นาที) ส่วน นายอนุ ขวัญใจ (20 คา/นาท)ี
และ นายอานาจ จนั ทคาท (16 คา/นาท)ี ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่า

5. อภปิ รายผล

การดาเนนิ โครงการพัฒนาครูเรื่องการทาวิจยั ในช้ันเรียน เร่อื ง การพัฒนาทักษะด้านการพมิ พ์ดีด
ภาษาอังกฤษด้วยชุดการสอนพมิ พด์ ดี คอมพวิ เตอร์ระดับชน้ั ปวช.1 ของโรงเรยี นดสุ ิตพณิชยการ แลว้ ทา
การประเมนิ ซงึ่ ผลการประเมินสอดคล้องกับแนวคดิ และหลกั การจัดทาวิจัยในช้นั เรียน ดงั นี้

จากผลการประเมนิ ความร้คู วามเข้าใจเรอ่ื ง การทาวิจัยในชัน้ เรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบจับเวลา 1
นาที 3 นาที และ 5 นาที เพื่อวดั ทักษะดา้ นการพมิ พด์ ดี ภาษาอังกฤษของนกั ศึกษา จานวน 4 คน
พบว่า ผลการทดสอบ ผา่ นเกณฑ์การประเมินทงั้ หมด ท้ังน้ีอาจเปน็ เพราะงานวจิ ยั ในช้นั เรยี น เป็นการ
แกป้ ัญหาที่เกดิ ขึ้น
ในชั้นเรยี น โดยครเู ปน็ ผ้ดู าเนนิ การแก้ไขปัญหาควบคู่ไปกบั การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ซึ่งสอดคล้อง
กับ นางนนั ทา ตุ้มทอง (2553,ออนไลน์) ไดแ้ กป้ ญั หาผเู้ รียนพมิ พ์งานคอมพวิ เตอร์ไม่คล่อง โดยใช้วธิ ี
ครูจดั สอนเสริมการพิมพด์ ว้ ยส่อื ฝกึ พิมพด์ ีดในช่วงพักกลางวัน เป็นเวลา 2 เดือนโดยกาหนด ครกู าหนด
เกณฑ์การให้คะแนนเช่น พมิ พ์ได้ 1 เร่อื ง นามาเสนอผา่ นจะได้ 5 คะแนน นาคะแนนที่ได้ไปประเมิน
ตามสภาพจรงิ รว่ มกบั วิธอี ื่น นักเรยี นรจู้ ักการพมิ พด์ ้วยระบบสัมผัสทาให้พิมพ์คล่องและรวดเร็วยิ่งขนึ้

ผลการวิจยั พบว่า ทาให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรแู้ ละมีกาลงั ใจในการพิมพ์งาน ครแู ละผูเ้ รยี นไดเ้ กดิ
การเรียนรรู้ ่วมกัน สอดคล้องกบั นางขนิษฐา จติ รอรุณ (บทคดั ย่อ: ออนไลน)์ วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยเพื่อ
ศึกษาวธิ ีการสอนพิมพส์ ัมผัสทเี่ หมาะสมกับนักเรียน ซึ่งจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาทกั ษะการพมิ พข์ อง
นักเรยี น ปวช . 1 กลมุ่ 108 จานวน 5 คน วิทยาลัยพณิชยการธนบรุ จี ากการสงั เกตพบวา่ นักเรียน
มกั จะมีปัญหาในการพิมพ์ดีด คอื พิมพ์ดีดโดยวางนว้ิ ไม่สัมผสั คือวางนว้ิ ไม่ตรงกบั แปน้ ทีจ่ ะต้องวาง ดู
แป้นพิมพ์ หรือขอ้ ความบนกระดาษทีใ่ สใ่ นเครื่องพมิ พ์ สภาพดังกลา่ วเกิดขนึ้ กบั นกั เรยี นจานวน 5 คน ในชนั้
ปวช . 1 กลุ่ม 108 ท่ีเรียนวิชาพิมพ์ดีดไทย 1 ซึง่ จากสภาพดงั กล่าวทาให้นกั เรียน ท้ัง 5 คนมที ักษะในการ
พมิ พด์ ดี ไทย 1 อยใู่ นเกณฑ์ทไ่ี มน่ า่ พอใจ ทาให้เกดิ การพมิ พผ์ ดิ มาก ไมส่ ามารถพัฒนาความเรว็ ได้ตาม
เกณฑ์ท่ตี อ้ งการ ผวู้ ิจยั จงึ ได้เลือกโปรแกรมการพัฒนาจิตใจ เพื่อใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ซ่งึ เครอื่ งมือท่ี
ใช้ในการวจิ ัยประกอบดว้ ย

1) โปรแกรมการพัฒนาจติ ใจ ประกอบด้วยขน้ั ตอนของการฝึกฝนตนเองให้จติ ใจเกิดความสงบ
จิตใจปราศจากอคติ มคี วามอดทน สามารถรูเ้ ท่าทันตนเอง รู้จักระงับความโกรธ และความโลภ

2) แบบสังเกตพฤติกรรมการพมิ พ์ดีด
3) แบบฝึกหัดพิมพ์ ซึ่งผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการกาหนดแบบฝึกหัดพิมพ์ผลจากการวจิ ัย พบว่า
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าพิมพด์ ีดไทย 1 นกั เรียนทั้ง 5 คน ที่ผา่ นโปรแกรม“การพฒั นาจติ ใจ” สามารถ
พฒั นาทกั ษะการพมิ พ์ไดต้ ามเกณฑ์ที่สถานศึกษาตงั้ ไวจ้ ากงานวิจัยดังกลา่ วขา้ งต้นมผี ลต่อการพฒั นาด้านการ

เรียนรขู้ องผ้เู รยี นใหด้ ีขน้ึ ซึง่ เป็นผลมาจากการพฒั นาวิธกี ารสอนทห่ี ลากหลาย และแก้ไขปัญหาผู้เรยี น
เฉพาะดา้ น ดว้ ยการทาวิจัยในช้นั เรียน

ขอ้ เสนอแนะ

ผลจากการทาวจิ ัยในชั้นเรียนครัง้ นี้ ทาให้ครสู ามารพัฒนาด้านการเรยี นการสอน ดังนี้
1. พัฒนาครใู หม้ คี วามรเู้ กีย่ วกบั การแก้ปญั หากับผูเ้ รียนเฉพาะด้านมากขึ้น โดยใชว้ ิธกี ารที่
หลากหลาย เพ่ือมงุ่ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นให้มปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน
2. เพือ่ พฒั นาทักษะความสามารถของผูเ้ รียนให้มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นท่ไี ด้มาตรฐานและ
มีคณุ ภาพตามวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู รทีก่ าหนดไว้

เอกสารอ้างองิ

นันทา ตุม้ ทอง. เจตคติในการเรยี นวชิ าพิมพ์ดีดไทย.
สคุ นธท์ พิ ย์ สสี ัน. เจตคตใิ นการเรียนวชิ าพมิ พ์ดีดไทย.
สวุ ารี ตยิ ารชั กลุ . การฝกึ ทักษะพิมพอ์ ักษรแปน้ เหยา้ พมิ พ์ดดี อังกฤษ 1 โดยใชโ้ ปรแกรม
สาเร็จรูป ของนกั ศกึ ษาปวช. ชน้ั ปีที่ 1 สาขาการบัญชี ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2549
สวุ ิมล ภรู สิ ตั ย.์ รายงานผลการพัฒนาการพมิ พ์สัมผสั พิมพ์ดีดไทย โดยใชช้ ดุ ฝึกทกั ษะใน
รายวชิ า ง30281 งานพิมพ์ดดี เร่ือง การเรยี นรู้แป้นอักษรตา่ งๆ สาหรบั นักเรยี นระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี
1

เอกสารหมายเลข 1

เพมิ่ ทกั ษะความเร็วและความแมน่ ยาในการจบั เวลา 1 นาที จดุ มุ่งหมาย 15 คา / นาที

All businesses share one common air-to increase the volume of sales 67
In order to make most profit. In the age of mass production when goods 138
are produced in mass or in large quantities, there is keen competition in 211
every field of business and industry. Sales promotion is not an easy job. 285
In depends on how to attract the potential customers. He can be effectively 361
done through advertising. 386

เอกสารหมายเลข 2

เพ่มิ ทกั ษะความเรว็ และความแมน่ ยาในการจับเวลา 3 นาที จุดมุ่งหมาย 20 คา / นาที

When you read a newspaper, you will find that there is a lot 60
of news about accidents on streets everyday. Especially on holidays 128
the number of men often write articles claiming the Government had 193
solved this problem but it seems the number of accidents doesn’t 257
decrease. For me, I think that main causes of accidents are street 323
and driver conditions. The driver will drive his vehicle hard if the 372
street is built badly. In the rainy season, the street is slippery 439
because it is made of unsuitable material. However even if we had 505

เอกสารหมายเลข 3

เพม่ิ ทักษะความเรว็ และความแม่นยาในการจับเวลา 5 นาที จุดมุ่งหมาย 30 คา / นาที

You will not type with good control if you do not sit right 59
and hold your hands right. You will not type with the good 118
control you desire if you are tired or lazy or boted. Good 177
work is not linked to your size or age or sex. Control, in 236
brief, is just technique plus the kind of mind and the kind 295
of will that help you force your eyes to stay on your book, 354
force yore wrists to keep up, force your pace to stay on an 413
even keel, and force your thoughts to stick with your work. 472


Click to View FlipBook Version