วิจัยในชนั้เรียน
การพฒันาการอานออกเสียงคำศัพทภาษาองักฤษโดยใช
ชุดคำศพัทของนกัเรยีนชัน้มัธยมศึกษาปที่3โรงเรยีนแรวทิยา
ThedevelopmentofreadingaloudEnglishwords
byusingvocabularysetsofMatthayom3students
atRaewittayaSchool
นายอภิสทิธิ์ขอสุข
ตำแหนงครู
โรงเรียนแรวทิยาอำเภอเขวาสินรนิทรจังหวัดสุรนิทร
สำนกังานเขตพนื้ท่กีารศึกาามธัยมศกึษาสุรนิทร
กระทรวงศึกษาธิการ
บนั ทกึ ข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนแร่วทิ ยา
ท่ี /2564 วันท่ี 13 กนั ยายน พ.ศ. 2564
เร่อื ง ส่งรายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรยี น ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี นแร่วทิ ยา
ตามท่ี โรงเรียนแรว่ ทิ ยา ได้กำหนดให้ครผู สู้ อนวิจัยในชั้นเรียนเพอ่ื แกป้ ัญหาเกยี่ วกบั การจดั กิจกรรม
กรรมการเรียนรู้ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทฝี่ า่ ยวิชาการกำหนดนั้น
ขา้ พเจ้านายอภสิ ิทธิ์ ขอสุข ตำแหน่ง ครู ได้ดำเนินการจัดทำวจิ ัยในชนั้ เรียน เรอื่ ง การพัฒนาการอ่านออก
เสยี งภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดคำศัพท์ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนแรว่ ทิ ยา
บัดน้ี ขา้ พเจ้าไดด้ ำเนินการจดั ทำรายงานการวิจยั ในชน้ั เรียนเรียบรอ้ ยแล้ว และขออนุญาตสง่
รายงานการวิจัยในชั้นเรยี น ซ่ึงแนบมาพรอ้ มกบั เอกสารน้ี
จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดทราบและพิจารณา
ลงชื่อ
(นายอภสิ ิทธ์ิ ขอสขุ )
ตำแหนง่ ครู
ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ บริหารวชิ าการ ความคิดเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
.............................................................................. ..............................................................................
.............................................................................. ..............................................................................
ลงชื่อ ............................................. ลงช่อื .............................................
(นางสาวกสุ มุ า นาคะเกศ) (นางสาวศริ ิรตั น์ อุปถมั ภเ์ กื้อกลู )
หัวหน้ากลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนแรว่ ิทยา
งานวิจยั ในช้นั เรียน
เร่ือง
การพฒั นาการอ่านออกเสยี งคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้ชดุ คำศัพท์ของ
นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนแรว่ ทิ ยา
The development of reading aloud English words by using
vocabulary sets of Matthayom 3 students at Raewittaya
School
โดย
นายอภิสทิ ธ์ิ ขอสขุ
ตำแหนง่ ครู
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนแร่วทิ ยา อำเภอเขวาสินริทร์ จังหวดั สุรนิ ทร์
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
บทคัดย่อ
การวจิ ยั น้มี ีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือพฒั นาการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้ชุดคำศัพท์
ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นแร่วทิ ยา โดยมีกลุม่ ตัวอยา่ ง คือ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี
3 โรงเรียนแร่วิทยา ที่เรียนวิชา ภาษาอังกฤษ 5 อ 23101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ที่มี
ผลสัมฤทธิ์ทางทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คน โดยเก็บรวบรวม
ข้อมูลเชิงสถิติโดยใช้การวิเคราะห์คะแนน ความสามารถทางด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบคะแนนความแตกตา่ งระหวา่ งก่อนและ
หลงั การฝกึ โดยใช้สถิติคา่ t-test ในการคำนวณ ผลการศึกษาพบวา่ ผลสัมฤทธท์ิ างการอา่ นออกเสียง
และการเรียนภาษาอังกฤษดีขึ้น เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งสามารถสรุปผลวิจัยได้คือ กลุ่ม
ตัวอย่างมีความสามารถทางการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษสูงขึ้น หลังเรียนด้วยชุดคำศัพท์
ภาษาอังกฤษ
Abstract
The purpose of this research was to develop English reading skill development
of the Matthayom 3 students at Raewitthaya school also develop student attitudes
towards English. A sample was selected from 9 students of the Matthayom 3 students
at Raewitthaya School who study the foundation English V (E 23101) at the first
semester in year 2021 and have an achievement test lower 60% of a reading test. The
scores of reading test were analyzed by the mean and standard deviation (S.D) and
compare reading ability score between protest and pretest analysis.
คำนำ
แบบรายงานการวิจัยฉบับนีเ้ ป็นการทำการวิจัยเพ่ือการสอนความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการอา่ น
ออกเสียงภาษาอังกฤษ (Pronunciation) จากชุดคำศัพท์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และแบบฝึกหัดอ่าน
โดยวธิ ีการพัฒนาการเรียนการสอน วิชาภาษาองั กฤษ เรอื่ งการพฒั นาความสามารถในด้าน การอ่าน
ออกเสียงทางการเรียนสำหรับนกั เรยี นท่ีเรียนออ่ นในด้านการอ่าน ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยใช้
เอกสารประกอบการเรียนที่สร้างขึ้น โดยการวิจัยครั้งนี้ได้ทำเป็นแบบประเมินผลงาน 2 ครั้ง เพ่ือ
เปรียบเทียบพัฒนาการ สาเหตุของการจัดทำงานวิจัยชิ้นนี้คือ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเรียนอย่างมี
ความสุข และได้รับความรู้การฝึกฝนที่ต่อเนื่องซึ่งต่อไปจะทำให้นักเรียนชอบการเรียนและได้รับ
ความรู้และนำไปใช้ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด
ดงั นัน้ ในการจดั ทำแบบรายงานการวจิ ัยชน้ิ น้ี ขา้ พเจา้ หวงั เปน็ อยา่ งย่งิ วา่ จะเปน็ ประโยชน์ ต่อ
การเรยี นการสอน และเปน็ การเรียนการสอนทน่ี ักเรียนจะไดร้ ับความรู้ไดด้ ี
นายอภิสทิ ธ์ิ ขอสขุ
ผู้ทำการวิจยั
กิตติกรรมประกาศ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษ รายวิชาภาษาอังกฤษ 5 โดยใช้ชุด
คำศพั ท์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนแรว่ ทิ ยา อำเภอเขวาสินรนิ ทร์ จงั หวัดสุรินทร์
กล่มุ สาระภาษาตา่ งประเทศ
ผู้วิจัยขอขอบพระคุณครทู ุกท่านที่มีส่วนเก่ียวข้อง ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการทำวิจยั ใน
คร้งั น้ี ขอ้ คน้ พบท่ีทำใหเ้ กิดประโยชน์ของงานวจิ ยั ฉบับน้ี จะเปน็ แนวทางสำหรบั ครูผ้สู อน ผู้ท่ีเก่ียวข้อง
ตลอดจนผู้ที่สนใจ สามารถนำแนวคิดในการนำนวัตกรรมแบบฝึกการอ่านออกเสยี งภาษาองั กฤษ ไป
ใช้ในการจดั การเรียนรขู้ องผู้เรยี น
ผู้วิจัยขอขอบพระคุณผู้บริหาร คณะครู และนักเรียนโรงเรียนแร่วทิ ยาท่ีให้ความร่วมมือและ
อนุญาตให้ผู้วิจัยได้เข้าไปทำการศึกษาบริบทของโรงเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
รวมท้งั ใหข้ ้อมูลในการทำวิจยั ครั้งนี้
อภิสิทธ์ิ ขอสุข
ครูโรงเรยี นแร่วิทยา
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ในปัจจุบัน ภาษาต่างประเทศได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนไทย และคนทั่วโลกไปแล้ว
การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในชีวิตประจำวัน เช่นด้านการ
ติดต่อสื่อสาร ด้านการศึกษา ด้านธุรกิจต่าง ๆ ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีซึ่งปัจจุบันภาษาอังกฤษมี
ความสำคัญอย่างมากในการติดต่อส่ือสารและต้องอาศัยทักษะต่าง ๆ เช่น การฟัง การพูด การเขียน
และการอ่าน ทักษะทั้ง 4 น้ี มีความสำคัญมากต่อการสื่อสาร และทักษะการอา่ นเป็นทักษะหนึง่ ของ
การพูดอ่านออกเสียง ถ้าเราสามารถอ่านได้ถูกต้องตามสำเนียงเจ้าของภาษา และเข้าใจได้เราจะ
สามารถเชื่อมโยงไปสู่ทักษะอื่น ๆ เช่นการพูด ก็สามารถทำให้พูดออกเสียงถูกต้องชัดเจนและทำให้
การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้ด้วยดีและนอกจากนี้ยังสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พทุ ธศกึ ราช 2542 และทสี่ ำคัญผเู้ รยี นยังขาดทกั ษะด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษท่ีถูกต้องตาม
สำเนยี งของเจ้าของภาษา จงึ ทำใหผ้ ลสำฤทธ์ิในการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ท่ีต่ำจากการสำรวจโดยใช้การสุ่ม
เรียก อ่านเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม ตลอดระยะเวลาในการเรียนการสอน โดยอาศัยแบบประเมนิ
เกณฑก์ ารอา่ นก่อนเรียน – หลงั เรียน เป็นเครื่องมอื ในการประเมนิ จงึ หาแนวทางในการแก้ไขปัญหา
การฝึกออกเสยี งภาษาอังกฤษ (Pronunciation) โดยใชก้ ารอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้
ชุดคำศัพท์ทจ่ี ัดทำขึ้นในรูปแบบสมุดเล่มเล็กโดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ เปน็ นวตั กรรมท่ีใช้ในการทำวิจัยใน
ครัง้ น้ี
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั
1.เพื่อตอ้ งการพัฒนาทกั ษะการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษ
2.เพ่ือพัฒนาทกั ษะดา้ นการพูดออกเสียงได้ถูกตามหลกั เจา้ ของภาษา
3.เพอ่ื ให้นกั เรียนมเี จตคตทิ ีดีต่อการเรยี นภาษาองั กฤษ
1.3 ขอบเขตของการวจิ ัย
ประชากร นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นแร่วิทยา อำเภอเขวาสนิ รินทร์ จังหวดั
สุรินทร์
กลุ่มตัวอย่าง นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนแร่
วทิ ยา จำนวน 9 คน
ตวั แปรตน้ การสอนทกั ษะการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษ จากชดุ คำศัพท์
ตัวแปรตาม ความสามารถดา้ นการออกเสียงภาอังกฤษ
สมมตฐิ านในงานวิจัย
1. นกั ศึกษาท่เี รยี นภาษาองั กฤษโดยใชช้ ดุ ฝกึ การอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษมี
ความสามารถดา้ นการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษเพม่ิ ข้ึน
ระยะเวลาในการศกึ ษาและวิจยั การวิจยั ดำเนินการทดลองเปน็ เวลา 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1
คาบเรยี น ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
1.4 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1. การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาองั กฤษ หมายถึง การจัดกจิ กรรมเพอื่ พัฒนาผเู้ รยี นโดยใช้
กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสเู่ ดก็ กจิ กรรมห้องเรียนตัวอย่าง เพอื่ เสรมิ สรา้ งพฒั นาทักษะการอา่ น
ให้เกดิ คุณลกั ษณะหรอื ประสิทธิภาพท่ีพึงประสงค์ ดา้ นการอา่ นภาษาองั กฤษ
2. ชุดคำศัพท์ หมายถึง ชุดส่อื และวัสดอุ ุปกรณก์ ารสอนในรูปเอกสารประกอบการเรียน เป็น
บัตรคำคำศพั ท์ภาษาองั กฤษ มคี ำอา่ น และความหมาย
ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั นักเรยี นมีความสามารถด้านการอ่านออกเสยี งภาษาองั กฤษท่ดี ี
ข้นึ ม่นั ใจในการใชภ้ าษาสื่อสาร และมีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
บทท่ี2
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง
การศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาและวิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้องตามลำดับคือ (1)
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการอ่าน (2) การพัฒนาทักษะการอ่าน (3) การวิจัยปฏิบัตกิ าร (4) งานวิจัยที่
เก่ียวขอ้ ง มีรายละเอยี ดดังนี้
แนวคดิ ทฤษฎเี ก่ยี วกบั การอ่าน
1. ความหมาย ความสำคัญ และ ประเภทของการอา่ น
1.1 ความหมายวนิ ยั ของการอา่ น
การอา่ นเปน็ พฤตกิ รรมการรับสารท่ีสำคัญไมย่ ่งิ หย่อนไปกว่าการฟงั ปจั จบุ นั มผี ูร้ นู้ ักวชิ าการ
และนกั เขียนนำเสนอความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสารและงานสร้างสรรค์ ตีพมิ พใ์ นหนงั สือและสิง่ พิมพ์อ่นื ๆมาก
นอกจากนแี้ ลว้ ข่าวสารสำคัญ ๆ หลังจากนำเสนอดว้ ยการพูด หรอื อ่านให้ฟงั ผ่านส่อื ตา่ ง ๆ ส่วนใหญ่จะ
ตพี ิมพ์รกั ษาไวเ้ ป็นหลกั ฐานแกผ่ ู้อ่านในชน้ั หลัง ๆ
ความสามารถในการอ่านจึงสำคัญและจำเป็นยิง่ ต่อการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพใน
สังคมปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า องค์การระดับนานาชาติ เช่น องค์การศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรม
แหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) จะใชค้ วามสามารถในการรูห้ นังสือของประชากรประเทศต่าง ๆ เป็น
ดัชนีวัดระดับการพัฒนาของประเทศน้นั ๆ
มผี ู้ให้คำจำกัดความหรือความหมายของการอ่านไวต้ า่ ง ๆ กนั ดังน้ี
มอรต์ เิ มอร์ เจ แอดเลอ่ ร์ (Mortimer J. Adler) กล่าวว่า การอ่าน หมายถงึ
กระบวนการตีความหมายหรอื สรา้ งความเขา้ ใจจากตวั อักษรหรอื สัญลักษณอ์ ื่น ๆ
รธู ทูซ (Ruth Tooze) ได้กำหนดความหมายของการอ่านไวโ้ ดยสรปุ วา่
การอ่าน หมายถึง สงิ่ ต่อไปนี้
1) การเข้าสูแ่ หล่งสำหรบั การมีชีวิตอยู่และการเรียนรู้ทีส่ มบรู ณ์
2) การกอ่ ให้เกดิ ความจรรโลงใจและจติ ใจท่ีดี
3) การอา่ นเป็นองคป์ ระกอบสำคัญที่สดุ ในด้านศิลปะเกย่ี วกับภาษาศาสตร์ ซงึ่ มี 4 ประการ
คอื การฟงั การพดู การอ่าน และการเขยี น
4) การอ่านเป็นการช่วยสง่ เสริมตัวเอง เปน็ การปรบั ปรุงตัวเอง ช่วยใหเ้ ดก็ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่
สมบรู ณ์
5) การอ่านเป็นการสง่ เสรมิ อารมณ์ของแตล่ ะคนให้สมั พันธ์กบั ผู้อ่นื ในโลก เปน็ การปรบั ปรงุ
ตัวเองใหเ้ ขา้ กับผู้อน่ื ได้
เบอรน์ ารด์ ไอ ชมดิ ท์ ( Bernard I. Schmidt ) ไดใ้ ห้คำจำกัดความไว้ว่า การอ่าน เป็น
กระบวนการทีซ่ บั ซ้อนยุง่ ยาก ยงั มีความหมายทแี่ น่นอน อาจเรยี กไดว้ า่ เปน็ ทกุ สงิ่ ทุกอย่างจากคำที่จำ
ได้ไปสู่ความนกึ คิดต่าง ๆ การอา่ นของแตล่ ะบุคคลยอ่ มแตกต่างไปตามสภาพของรา่ งกายสติปญั ญา
และอารมณใ์ นการอา่ นขอ้ ความเหมือนกัน บคุ คลสองคนจะมคี วามคิดต่างกนั
อัลเฟรด สเตฟเฟอรุด ( Aifred Stefferud ) ไดใ้ ห้ความจำกัดความของการอ่านไวว้ า่ การอา่ น
เป็นการกระทำทางจิตใจทผ่ี ู้อ่านยอมรบั ความหมาย จากความคิดเหน็ ของบุคคลอนื่
พอล ดลี ดี ดี ( Paul D. Leedy ) ใหน้ ยิ ามการอา่ นไว้วา่ การอา่ น คือการรวบรวมความคดิ
และตคี วามตลอดจนประเมินค่าความคิดเหล่านัน้ ทปี่ รากฏอยู่ตามส่ิงพิมพ์แต่ละหนา้
เอดการ์ เดล ( Edgar dale ) ใหค้ วามหมายไวว้ ่า การอ่าน หมายถงึ กระบวนการค้นหา
ความหมายจากสิ่งพิมพ์เปน็ การเพิ่มพูนประสบการณ์ของผู้อ่าน การอ่านไม่ได้หมายความเฉพาะการ
มองผ่านแต่ละประโยคหรือแตล่ ะยอ่ หน้าเท่าน้ัน แต่ผ้อู า่ นตอ้ งเข้าใจความคิดนน้ั ๆ ดว้ ย
จอร์จ ดีสปาช และ พอล ชี เบอรก์ (George D. Spache and Paul C. Berg )
กล่าววา่ การอ่าน เปน็ การผสมผสานระหว่างทกั ษะหลายชนิด เพ่อื สร้างความเข้าใจ โดยเป็นไปตาม
จดุ ประสงค์ ตามต้องการ และวิธีการของผอู้ ่าน
จากคำจำกัดความดงั กล่าวมาแลว้ อาจสรุปและเพมิ่ เตมิ ได้ดังน้ี
1) การอา่ นเป็นกระบวนการคน้ หาความหมายในสิ่งที่อา่ น
2) การอ่านเป็นกระบวนการจับใจความจากส่งิ ท่อี ่าน
3) การอา่ นเปน็ กระบวนการท่ีจะเขา้ ใจภาษาเขียน
4) การอ่านเป็นกระบวนการถอดความจากภาษาเขยี นมาเป็นภาษาในความคิด
5) การอา่ นเป็นทกั ษะท่รี วมทักษะต่าง ๆ เข้าด้วยกนั ไดแ้ ก่ทกั ษะในการคิด และ
ทักษะทางไวยากรณ์ คอื ด้าน เสยี ง ศพั ท์โครงสร้าง และความหมาย
6) การอา่ นเป็นกระบวนการคน้ หาความหมายในส่งิ พมิ พ์หรือข้อเขียน จับใจความ
ตีความ เพอื่ พฒั นาตนเองทงั้ ด้านสติปญั ญา อารมณ์ และสงั คม
1.2 ความสำคัญของการอา่ น
ปัจจุบันการศึกษาและความเจริญด้านต่าง ๆ ได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็นอันมากการอ่านจึงมี
ความสำคัญเพราะเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ตลอดจนแนวคิดต่าง ๆ ความรู้ส่วนใหญ่ที่จะ
ค้นคว้าได้ด้วยตนเอง มักจะออกมาในรูปของสิ่งพิมพ์ ซึ่งต้องอาศัยทักษะทางด้านการอ่านและการ
เขียน สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้ทรงบรรยายถึงความสำคญั ของการอา่ น
หนังสอื ในการประชมุ ใหญ่สามญั ประจำปี
พ.ศ. 2530 ของสมาคมห้องสมดุ แหง่ ประเทศไทยไว้ดงั นสี้ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี (อ้างใน ส านกั งานการประถมศกึ ษา จังหวัดเชยี งราย, 2543 : 4)
1. การอา่ นหนังสือทำใหไ้ ดเ้ น้อื หาสาระความรู้มากกวา่ การศกึ ษาหาความรดู้ ้วยวธิ อี ื่น ๆ เช่น
การฟัง
2. ผู้อ่านสามารถอ่านหนงั สือได้โดยไมม่ กี ารจำกดั เวลาและสถานท่ี สามารถนำไปไหนมาไหน
ได้
3. หนังสือเก็บไดน้ านกวา่ ส่ืออย่างอื่น ซงึ่ มักมีอายกุ ารใชง้ านโดยไม่จำกดั
4. ผู้อา่ นสามารถฝกึ การคิด และสรา้ งจนิ ตนาการได้เองในขณะอา่ น
5. การอา่ นส่งเสริมให้สมองดี มีสมาธนิ านกว่าและมากกว่าส่ืออยา่ งอ่ืน ทง้ั นเ้ี พราะขณะอ่าน
จิตใจจะต้องมงุ่ มน่ั อยู่กบั ข้อความ พนิ จิ พิเคราะหข์ อ้ ความ
6. ผูอ้ า่ นเป็นผู้กำหนดการอา่ นได้ดว้ ยตนเองจะอ่านคร่าว ๆ อา่ นละเอียด อ่านขา้ ม หรอื อา่ น
ทุกตวั อักษรเป็นไปตามใจของผอู้ ่าน หรอื จะเลือกอ่านเล่มไหนกไ็ ด้เพราะหนงั สอื มีมากสามารถเลือก
อา่ นเองได้
7. หนังสือมหี ลากหลายรปู แบบ และมีราคาถูกกว่าสอื่ อยา่ งอื่นจึงทำให้สมองผูอ้ ่านเปิดกวา้ ง
สร้างแนวคิดและ ทัศนะไดม้ ากกว่า ไมย่ ดึ ติดอย่กู ับแนวคดิ ใด ๆ โดยเฉพาะ
8. ผู้อา่ นเกิดความคิดเหน็ ไดด้ ้วยตนเอง วินิจฉยั เนื้อหาสาระได้ดว้ ยตนเองรวมทัง้ หนงั สือบาง
เลม่ สามารถนำไปปฏบิ ัตไิ ดด้ ้วย เม่ือปฏบิ ัตแิ ลว้ กเ็ กิดผลดี
การอ่านมปี ระโยชน์อย่างมากในการดำเนนิ ชวี ิตในปัจจุบนั
เย็นใจ เลาหวณิช (2523:6) ได้สรปุ ถึงประโยชน์ของการอา่ นในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ไวด้ ังนี้
1. ในสว่ นทจี่ ำเปน็ ระดบั พ้นื ฐาน
1.1 การอา่ นเป็นการเสริมสรา้ งชีวติ ทมี่ ั่นคงและปลอดภัยได้เพราะการอ่านจะนำมา
ซง่ึ ความรคู้ วามเข้าใจในสภาพสงั คม เชน่ ผู้ที่ประกอบอาชีพในทางธุรกิจถ้ามนี สิ ยั ชอบอ่านหนงั สือจะ
ทราบความเคล่อื นไหวทางธุรกิจ
1.2 การอ่านเปดิ โอกาสให้คนมอี สิ รเสรีภาพตามสิทธิมนษุ ยชน ไมถ่ กู ครอบงำในทาง
ความคดิ สามารถใช้สทิ ธแิ ละเสรภี าพของตนเองในการแสดงความคิดเห็นได้ในขอบเขตของกฎหมาย
และประเพณขี องสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ผู้ทอ่ี า่ นมากย่อมมโี ลกทัศน์ท่กี ว้างขวาง
2. ในส่วนทจี่ ำเปน็ ต่อการเพิ่มคุณภาพชีวติ
2.1 การอ่านจะเสริมสร้างจดุ มุ่งหมายในชีวิต ทำใหบ้ คุ คลสามารถยกระดบั คุณภาพ
ชีวิตของตนเองได้
2.2 การอ่านทำให้เกดิ ความรพู้ ืน้ ฐานเก่ยี วกบั ตน และส่งิ แวดล้อมท่ีตนเองอาศยั จะ
ช่วยใหบ้ คุ คลนน้ั สามารถปรบั ตัวได้ดีและกลม กลืนกับส่งิ แวดลอ้ มที่อยู่รอบตวั
2.3 การอ่านจะช่วยสง่ เสรมิ การอย่รู ว่ มกนั โดยสันติ หนงั สือท่ีเหมาะสมกับแต่ละ
บคุ คลจะสนองความต้องการของแตล่ ะบุคคลทำให้เกดิ ความสขุ
การอ่าน หมายถงึ การแปลความหมายของตวั อักษรทอ่ี า่ นออกมาเป็นความรู้ความคิด และ
เกิดความเข้าใจเร่อื งราวทอ่ี า่ นตรงกับเร่อื ราวทผี่ ูเ้ ขียนเขียน ผ้อู า่ นสามารถนำความรู้ ความคิด หรือ
สาระจากเรื่องราวทอี่ า่ นไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนไ์ ด้ การอา่ นจึงมีความสำคัญ ดงั นี้
1) การอา่ นเปน็ เครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผู้ท่ีอยูใ่ นวัยศกึ ษาเลา่ เรยี น
จำเปน็ ตอ้ งอ่านหนงั สอื เพื่อการศกึ ษาหาความรดู้ ้านต่าง ๆ
2) การอ่านเปน็ เครอ่ื งมือช่วยใหป้ ระสบความสำเร็จในการประกอบอาชพี เพราะสามารถนำ
ความรทู้ ่ีได้จากการอา่ นไปพัฒนางานของตนได้
3) การอ่านเป็นเคร่อื งมอื สบื ทอดทางวฒั นธรรมของคนรนุ่ ตอ่ ๆ ไป
4) การอ่านเปน็ วธิ ีการส่งเสริมให้คนมคี วามคดิ อา่ นและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ที่ได้
จากการอา่ นเม่ือเก็บสะสมเพ่มิ พูนนานวนั เข้า ก็จะทำใหเ้ กดิ ความคดิ เกิดสตปิ ญั ญา เปน็ คนฉลาดรอบ
รไู้ ด้
5)การอ่านเป็นกจิ กรรมทีก่ ่อให้เกดิ ความเพลดิ เพลนิ บนั เทงิ ใจ เป็นวธิ ีหนงึ่ ในการแสวงหา
ความสุขให้กับตนเองที่ง่ายท่ีสดุ และไดป้ ระโยชน์คมุ้ ค่าท่ีสุด
6)การอ่านเปน็ การพฒั นาคุณภาพชวี ิต ทำให้เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งด้านจิตใจและบุคลิกภาพ
เพราะเมอื่ อา่ นมากยอ่ มรูม้ าก สามารถนำความร้ไู ปใชใ่ นการดำรงชีวิตได้อย่างมคี วามสขุ
7) การอา่ นเปน็ เครอ่ื งมือในการพัฒนาระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวัตศิ าสตร์
และสงั คม
8)การอา่ นเป็นวิธกี ารหนงึ่ ในการพฒั นาระบบการสือ่ สารและการใชเ้ ครื่องมอื ทาง
อเิ ล็กทรอนิกสต์ า่ ง ๆ
ในสมัยโบราณที่ยังไม่มีตัวหนังสือใช้ มนุษย์ได้ใช้วิธีเขียนบันทึกความทรงจำและเรื่องราว
ต่าง ๆ เป็นรูปภาพไว้ตามฝาผนังในถ้ำ เพื่อเป็นทางออกของอารมณ์เพือ่ เตือนความจำหรือเพื่อบอก
เลา่ ใหผ้ อู้ น่ื ได้รบั ร้ดู ้วย แสดงถึงความพยายามและความปรารถนาอนั แรงกลา้ ของมนุษย์ ทจ่ี ะถา่ ยทอด
ประสบการณ์ของตนเป็นสญั ลักษณ์ที่คงทนต่อกาลเวลา จากภาพเขียนตามผนังถ้ำ ได้วิวัฒนาการมา
เป็นภาษาเขียนและหนังสือ ปจั จุบนั น้หี นังสือกลายเปน็ สิ่งท่ีสำคัญยง่ิ ต่อมนุษย์จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น
ปจั จยั อันหน่ึงในการดำรงชีวิตคนท่ไี มร่ ู้หนงั สือแม้จะดำรงชีวิตอย่ไู ดก้ ็เป็นชวี ิตที่ไม่สมบูรณ์ ไม่มีความ
เจริญ ไม่สามารถประสบความสำเร็จใด ๆ ในสังคมได้หนังสือและการอ่านหนังสือจึงมีความสำคัญ
อย่างย่งิ
1.3 จุดประสงค์ของการอา่ น
ในการอ่านบุคคลแต่ละคนจะมีจุดประสงค์ของตนเอง คนที่อ่านข้อความเดียวกันอาจมี
จุดประสงค์หรอื ความคิดตา่ งกนั โดยท่วั ไปจุดประสงคข์ องการอา่ นมี 3 ประการ คอื
1) การอา่ นเพือ่ ความรู้
การอ่านหนังสอื ประเภทตำรา สารคดี วารสาร หนังสอื พมิ พแ์ ละขอ้ ความ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้ทราบ
เร่ืองราวอนั เป็นข้อความรู้ หรือเหตุการณ์บ้านเมือง การอ่านเพือ่ ความรอบรูเ้ ป็นการอา่ นท่จี ำเปน็ ที่สุด
สำหรบั ครู เพราะความรตู้ ่าง ๆ มีการเปลย่ี นแปลงเพม่ิ เตมิ อย่ทู กุ ขณะ แม้จะไดศ้ กึ ษามามากจาก
สถาบันการศึกษาระดับสงู กย็ ังมีสงิ่ ที่ยงั ไมร่ ้แู ละต้องคน้ ควา้ เพิ่มเติมให้ทนั ตอ่ ความกา้ วหนา้ ของโลก
ขอ้ ความรู้ตา่ ง ๆ อาจมไิ ดป้ รากฏชัดเจนในตำรา แตแ่ ทรกอย่ใู นหนงั สือประเภทตา่ ง ๆ แมใ้ นหนังสือ
ประเภทบนั เทิงคดกี จ็ ะให้เกร็ดความรูค้ วบคู่กบั ความบนั เทิงเสมอ
2) การอ่านเพื่อความคิด
แนวความคดิ ทางปรัชญา วฒั นธรรม จริยธรรม และความคิดเหน็ ท่วั ไป มกั แทรกอยู่ในหนังสอื
แทบทกุ ประเภท มิใช่หนงั สือประเภทปรชั ญา หรือจริยธรรมโดยตรงเทา่ นน้ั การศกึ ษาแนวคดิ ของผู้อื่น
เป็นแนวทางความคิดของตนเอง และอาจนำมาเปน็ แนวปฏบิ ตั ิในการดำเนินชีวติ หรือแกป้ ัญหาต่าง ๆ
ในชีวิต ผู้อา่ นจะตอ้ งใชว้ ิจารณญาณในการเลือกนำความคิดทไี่ ดอ้ ่านมาใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ในบางเรอ่ื ง
ผู้อ่านอาจเสนอความคิดโดยยกตวั อย่างคนท่ีมีความคิดผดิ พลาด เพื่อเปน็ อุทาหรณ์ใหผ้ ู้อ่านได้ความยง้ั
คดิ เชน่ เร่ือง พระลอ แสดงความรักอันฝนื ทำนองคลองธรรมจงึ ต้องประสบเคราะห์กรรมในท่สี ุด
ผูอ้ ่านทีข่ าดวจิ ารณญาณมีความคิดเป็นเร่ืองจงู ใจใหค้ นทำความผดิ นับว่าขาดประโยชน์ทางความคิดท่ี
ควรได้ไปอย่างนา่ เสยี ดาย การอา่ นประเภทนจี้ ึงตอ้ งอาศัยการศึกษาและการชแ้ี นะท่ีถกู ต้องจากผู้มี
ประสบการณใ์ นการอ่านมากกว่า ครูจึงต้องใชว้ ิจารณญาณในการอ่านเพ่ือความคิดของตนเอง และ
เพอื่ ชแี้ นะหรอื สนบั สนุนนักเรียนให้พฒั นาการอ่านประเภทนี้
3) การอา่ นเพอ่ื ความบนั เทิง
เปน็ การอา่ นเพอ่ื ฆ่าเวลา เชน่ ระหวา่ งท่ีคอยบุคคลทนี่ ัดหมาย คอยเวลารถไฟออก เป็นตน้ หรือ
อ่านหนังสือประเภทบนั เทิงคดใี นเวลาว่าง บางคนที่มีนสิ ัยรักการอ่าน หากรู้สกึ เครยี ดจากการอา่ น
หนังสือเพ่อื ความรอู้ าจอ่านหนงั สือประเภทเบาสมองเพ่อื การพกั ผ่อน หนงั สอื ประเภทที่สนอง
จุดประสงคข์ องการอา่ นประเภทน้ีมีจำนวนมาก เช่น เร่ืองสนั้ นวนยิ าย การ์ตนู วรรณคดปี ระเทือง
อารมณ์ เปน็ ต้น จดุ ประสงคใ์ นการอา่ นท้งั 3 ประการดังกลา่ ว อาจรวมอยใู่ นการอา่ นคร้ังเดยี วกันกไ็ ด้
โดยไม่จำเป็นต้องแยกจากกันอย่างชดั เจน
1.4 คณุ ค่าของการอ่าน
ในการสง่ เสริมการอ่าน ครคู วรช้ีให้นักเรียนเหน็ คณุ ค่าของการอา่ น ซ่ึงจะเปน็ แนวทางในการ
เลือกหนงั สอื ดว้ ย คุณคา่ ดงั กลา่ วมามดี งั นี้
1) คุณคา่ ทางอารมณ์
หนังสอื ท่ีให้คุณค่าทางอารมณ์ไดแ้ ก่ วรรณคดีทมี่ ีความงามทัง้ ถอ้ ยคำ นำ้ เสยี ง ลีลาในการ
ประพนั ธ์ ตลอดจนความงามในเนื้อหา อาจเรยี กไดว้ ่ามี “รส ” วรรณคดีซ่งึ ตำราสนั สกฤต กลา่ ววา่ มี
รส 9 รส คอื
1) รสแห่งความรกั หรือความยินดี
2) รสแห่งความรืน่ เริง
3) รสแหง่ ความสงสาร
4) รสแหง่ ความเกรี้ยวกราด
5) รสแหง่ ความกล้าหาญ
6) รสแห่งความนา่ กลัวหรือทุกขเวทนา
7) รสแหง่ ความเกลยี ดชัง
8) รสแหง่ ความประหลาดใจ
9) รสแหง่ ความสงบสันติ
ในวรรณคดีไทยก็แบง่ เป็น 4 รส คอื
1) เสาวจนี การชมความงาม
2) นารปี ราโมทย์ การแสดงความรัก
3) พโิ รธวาทงั การแสดงความโกธรแคน้
4) สลั ลาปังคพไิ สย การครำ่ ครวญ
หลายท่านคงเคยไดศ้ ึกษามาแล้ว หนังสอื ทม่ี ิใช่ตำราวชิ าการโดยตรง มกั แทรกอารมณ์ไวด้ ้วย
ไม่มากกน็ ้อย ทั้งนเี้ พื่อใหน้ า่ อา่ นและสนองอารมณข์ องผู้อา่ นในด้านตา่ ง ๆ
2) คุณคา่ ทางสติปัญญา
หนงั สือดยี ่อมให้คุณค่าทางด้านสติปัญญา อนั ได้แก่ ความรู้และความคิดเชงิ สรา้ งสรรค์ มิใช่
ความคิดในเชิงทำลาย ความรู้ในที่นี้นอกจากความรู้ทางวิชาการแล้วยังรวมถึงความรู้ทางการเมือง
สังคม ภาษาและสิง่ ต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านเสมอ แม้จะหยิบหนังสือมาอ่านเพียง 2-3 นาที
ผอู้ า่ นก็จะไดร้ ับคณุ ค่าทางสติปญั ญาไมด่ า้ นใดกด็ ้านหนง่ึ หนังสอื อาจจะปรากฏในรูปของเศษกระดาษ
ถุงกระดาษ แต่ก็จะ “ให้” บางสิ่งบางอย่างแก่ผู้อ่าน บางครั้งอาจช่วยแก้ปัญหาที่คิดไม่ตกมาเป็น
เวลานาน ทง้ั น้ียอ่ มสดุ แต่วิจารณญาณและพนื้ ฐานของผู้อ่านด้วย บางคนอาจมองผ่านไปโดยไม่สนใจ
แต่บางคนอาจมองลึกลงไปเห็นคุณค่าของหนงั สือนั้นเป็นอย่างยิง่ คุณค่าทางสติปัญญาจึงมิใช่ขึ้นอยู่
กบั หนงั สอื เท่านัน้ หากขนึ้ อยกู่ ับผ้อู า่ นดว้ ย
3) คุณคา่ ทางสงั คม
การอ่านเป็นมรดกทางวัฒนธรรมทีส่ ืบต่อกนั มาแต่เป็นโบราณกาล หากมนุษย์ไม่มีนิสยั ในการ
อา่ นวัฒนธรรมคงสญู สน้ิ ไป ไม่สบื ทอดมาจนบัดน้ี วัฒนธรรมทางภาษา การเมอื ง การประกอบอาชพี
การศกึ ษา กฎหมาย ฯลฯ เหล่านอ้ี าศยั หนงั สอื และการอา่ นเปน็ เครื่องมอื ในการเผยแพร่และพัฒนาให้
คณุ ค่าแกส่ งั คมนานปั การ หนังสอื อาจทำให้การเมอื งเปล่ียนแปลงไปได้ หากมีคนอ่านเป็นจำนวนมาก
หนังสือและผอู้ ่าน จึงอาศยั กันและกันเปน็ เครือ่ งสืบทอดวฒั นธรรมของมนษุ ย์ ในสงั คมท่เี จริญแล้ว จะ
เหน็ ไดว้ ่า ในกลมุ่ คนทีไ่ มม่ ีภาษาเขียน ไม่มหี นังสือ ไม่มีการอ่าน วฒั นธรรมของสงั คมนนั้ มกั ลา้ หลัง
ปราศจากการพฒั นา การอา่ นจึงให้คุณค่าทางสังคมในทกุ ดา้ น
1.5 การอ่านสะกดคำ
การอ่านในใจเรามกั ไม่คำนงึ ถงึ การสะกดคำ เพราะม่งุ อ่านเนอ้ื ความอย่างรวดเร็ว แต่ในการ
อา่ นออกเสยี งน้นั การสะกดคำ มคี วามสำคัญเปน็ อยา่ งย่งิ ผอู้ ่านจำเป็นต้องอา่ นให้ถูกตอ้ งตาม
พจนานกุ รมหรอื การอา่ นช่อื เฉพาะ ในพจนานุกรมราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ไดก้ ำหนดคำอ่านไว้
โดยอาศัยการเทียบแนวภาษาเดมิ ทเ่ี ปน็ คำบาลี-สันสกฤต หรือคำท่ีอา่ นตามความนิยมมาจนเป็นที่
ยอมรับทวั่ ไปก็อนโุ ลมให้อา่ นได้เปน็ บางกรณี แต่มิใช่จะอา่ นตามความสะดวกได้เสมอไป
1.6 บทบาทของการอา่ นที่มีตอ่ มนษุ ย์
การอ่านหนงั สอื มีบทบาทสำคัญในยคุ ปัจจุบนั น้มี าก อาจกล่าวไดว้ า่ ไมว่ า่ จะเปน็ ทางด้าน
การศึกษาเล่าเรยี น การประกอบอาชพี ด้านบุคลกิ ภาพ นนั ทนาการและด้านพฒั นาสงั คมและ
ประเทศชาตถิ งึ จะมสี ่ือมวลชนอ่ืน เช่น วิทยุกระจายเสยี ง โทรทัศน์ ท่ีเสนอขา่ วสารตา่ ง ๆ ได้รวดเร็ว
และทนั ตอ่ เหตุการณ์คนเราก็ตอ้ งอา่ นหนังสืออยนู่ นั้ เอง เพราะว่าให้รายละเอียดตา่ ง ๆ ไดม้ ากกว่า
สุวมิ ล โฮมวงศ์ ( 2535:18 ) ไดใ้ ห้ความเห็นบทบาทของการอ่านท่มี อี ิทธพิ ลตอ่ ชวี ติ มนุษยด์ งั น้ี
1) บทบาทดา้ นการศกึ ษา
การเรียนในระดับอุดมศึกษา นิสิตจะต้องศึกษาจากตำรับตำราที่มีอยู่ในห้องสมุดเป็นส่วน
ใหญ่ซึง่ ต้องใช้การอา่ นเปน็ ประจำ ผูท้ ี่อ่านมากย่อมได้เปรียบกวา่ ผูท้ ีอ่ ่านน้อย และผู้ทีอ่ ่านเก่งยอ่ มอ่าน
หนังสอื ไดร้ วดเรว็ สามารถเข้าใจเร่ืองราวที่อ่านจับใจความไดถ้ ูกตอ้ งแม่นยำ รจู้ กั วธิ ีอา่ นหนังสือว่าเล่ม
ไหนควรใช้วิธีอ่านอย่างไร สามารถประเมินผลจากสิ่งที่ตนอ่านรวมทั้งมีวิจารณญาณในการอ่าน
สามารถวิจารณ์ได้ดังนั้น ผู้ที่อ่านเป็นเท่านั้นจึงจะสามารถได้รับความรู้และประสบผลสำเร็จใน
การศึกษาเล่าเรยี น
2) บทบาทด้านอาชีพ
การอา่ นผูกพนั อยู่กับบุคคลทุกอาชีพทมี่ งุ่ หวงั ความเจริญกา้ วหน้าเพราะผู้ประกอบอาชีพที่ดี
นัน้ จำเปน็ ต้องขวนขวายหาความรเู้ พอ่ื เพมิ่ พนู ปรบั ปรุงสมรรถภาพในการท างานของตนอยู่เสมอ ท้ังนี้
ก็เนื่องจากว่าการงานทุกชนิดก็ต้องมีการแข่งขันกันอยู่ตลอดเวลา บุคคลที่พยายามก้าวไปข้างหน้า
เท่านั้นจึงจะมีชัยในการแข่งขัน บุคคลที่ฉลาดและยึดหนังสือเป็นหลกั โดยการอา่ นหนังสือที่เกี่ยวกับ
อาชีพนั้น ๆ ย่อมทำให้บุคคลเหล่านั้นมีความรู้กว้างขวางและประสบผลสำเร็จในการประกอบอาชีพ
ของตนเองไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
3) บทบาทด้านการปรบั ปรุงบคุ ลกิ ภาพ
สภาพสังคมในสมยั นี้ มคี วามย่งุ ยากสลับซับซ้อนและมีปัญหาของสังคมมากมาย จนทำให้คน
บางคนประสบชะตากรรมทีน่ ่าสงสารอย่างยง่ิ เป็นตน้ ว่าไม่อยากสมาคมกับใคร ๆ เพราะคดิ ว่าตนเอง
มีปมด้อย บางคน ไม่กล้าเผชิญหน้ากับปัญหา ไม่กล้าร่วมกิจกรรมทางด้านสังคมกับเพื่อนฝูง
กลายเป็นคนเหงาหงอย ถ้าหากบุคคลผู้มีปญั หาดังกล่าว ได้กลับมาสนใจในการอ่านหนังสือประเภท
สงั คมศาสตร์ จรยิ ศาสตร์จิตวิทยา การตอบและแกไ้ ขปญั หาชีวิต กจ็ ะทำให้สุขภาพจิตดขี ึ้น และยังจะ
ช่วยให้รู้จกั วิธีการวางตัวได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของสังคมนั้น ๆ อย่างมี
ความสขุ ทำใหเ้ ปน็ คนมองโลกในแง่ดเี สมอ
4) บทบาทด้านนนั ทนาการ
ในปจั จุบนั นก้ี ารเสาะแสวงหาความบันเทงิ เรงิ รมย์เปน็ ไปได้โดยงา่ ยและมีหลายรูปแบบ เช่น
การดูภาพยนตร์โทรทศั น์และการฟังเพลง เป็นตน้ แตม่ อี ีกแบบหนึง่ ทเ่ี ปน็ การพกั ผ่อนทด่ี ีท่สี ดุ น่ันคอื
การอ่านหนังสอื อาจจะเป็นหนังสอื โบราณคดกี วีนิพนธ์ สารคดี นวนยิ าย หนงั สือพมิ พร์ ายวนั นอกจาก
จะทำให้ผู้อ่านได้รบั ความรู้ความบันเทิงแลว้ ยังจะเป็นทักษะฝึกการอ่านอกี ดว้ ย
5) บทบาทดา้ นพัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศ
การพฒั นาประเทศจะประสบผลสำเร็จได้นนั้ ประเด็นสำคญั อย่ทู ่กี ารพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์
เป็นเบื้องต้น กล่าวคือ ให้ประชาชนมีการศึกษา เป็นผู้รู้หนังสือในระดับที่พอจะเป็นพื้นฐานในการ
พฒั นาคุณภาพชีวิตของตนเองและการพฒั นาประเทศต่อไป ทงั้ น้เี พราะการท่ีประชากรเปน็ ผู้รู้หนังสือ
และมีนิสัยรักการอ่านย่อมจะมสี ่วนสำคัญในการส่งเสริมให้ชีวิตของคนเราประสบความสำเร็จอย่าง
สมบูรณ์ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและความเป็นอยู่ ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาตนเอง พัฒนาสังคม และ
พัฒนาประเทศชาตใิ นท่สี ดุ
1.7 องคป์ ระกอบที่มตี อ่ การอา่ น
ความสามารถในการอ่านของแต่ละคนไม่เหมือนกัน บางคนอ่านได้รวดเร็วและเข้าใจ
ในขณะท่อี ีกหลายคนอา่ นได้ช้าและเกิดอุปสรรคในการอา่ น การท่ีผอู้ ่านจะประสบความสำเร็จในการ
อา่ นมากนอ้ ยเพยี งใดน้ันย่อมขึ้นอยู่กบั องคป์ ระกอบทส่ี ำคญั ที่มอี ิทธพิ ลตอ่ การอา่ น ดงั ต่อไปน้ี
วลัยภรณ์ อาทติ ย์เทีย่ ง ( 2529 : 28) ได้กล่าวถึงองคป์ ระกอบทม่ี อี ทิ ธิพลต่อการอ่านอยู่ 3
ลกั ษณะดังน้ี
1)ลักษณะของวัสดุการอา่ น จะต้องไม่ปิดกัน้ หรือเป็นกำแพงขวางความเขา้ ใจในการอ่านของ
ผูเ้ รียนนน่ั คือ ใชภ้ าษาให้เหมาะสมกบั ผู้อ่าน ไม่ใช้คำศพั ท์ท่แี ปลกประหลาด คำศัพท์ทเ่ี ด็กไมเ่ คยรูจ้ ัก
หรือเป็นคำศัพท์ที่ยาวเกนิ ความสามารถของเดก็ สำหรับหลกั ภาษาก็ควรใช้แต่สิง่ ทีเ่ ด็กคนุ้ เคยแล้ว
ประโยคไม่ยาวเกินไปและไม่สลับซบั ซอ้ น
2)ลักษณะของผอู้ ่านความสามารถในการเข้าใจและตคี วามส่งิ ที่อ่านจะขึน้ อยู่กบั องคป์ ระกอบ
ที่สำคัญคือ
2.1ระดับสติปญั ญาเด็กแต่ละคนจะมีความสามารถในการอ่านแตกต่างกันไปตาม
ระดบั สตปิ ญั ญาของตน เชน่ เด็กบางคนไม่สามารถจดจำรายละเอียดของเนอ้ื เรื่องไดบางคนไม่สามารถ
สรปุ เรอ่ื งท่อี า่ นได้ บางคนไมเ่ ข้าใจสิง่ ท่ีเปน็ นามธรรม และบางคนไม่สามารถแยกแยะความแตกต่าง
ระหวา่ งขอ้ เท็จจริงกบั ความคดิ เหน็ ได้ หรอื ถ้าทำไดก้ ค็ งต้องใชเ้ วลามาก ซ่ึงสิ่งตา่ งๆ เหล่าน้คี รูควรจะ
ตรวจสอบเพ่ือชว่ ยเด็กในการพัฒนาสมรรถภาพในการอา่ นและจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับระดับ
สตปิ ญั ญาของเดก็
2.2 ความรใู้ นดา้ นคำศัพท์ และโครงสรา้ งของภาษาซ่งึ จะเป็นประโยชนต์ ่อความ
เข้าใจ การสรา้ งความคิดรวบยอด และการสร้างจินตนาการเกยี่ วกบั เรอ่ื งทอ่ี า่ น
2.3 ภมู ิหลังในเร่อื งความรแู้ ละประสบการณ์จะช่วยในการผสมผสานความคิดเดมิ ให้
เขา้ กับความคดิ ใหม่ ตลอดจน การแปลความ ตคี วาม ขยายความและการประเมินคา่ ของสงิ่ ท่อี า่ น
2.4ร่างกาย เดก็ ท่ีมีสขุ ภาพทางกายดีจะมีความสามารถในการเรยี น อา่ นไดก้ วา่ เด็ก
ท่ีมสี ุขภาพไม่ดซี ่งึ ตอ้ งขาดเรยี นบ่อย ๆ ทำใหก้ ารเรียนอา่ นล่าช้าออกไป นอกจากน้นั ส่งิ ท่คี รจู ะต้อง
คำนึงถงึ กค็ อื สายตาและการได้ยนิ เด็กท่ีมสี ายตาผดิ ปกติ จะรู้สกึ ไมอ่ ยากอ่านหนังสอื และไมร่ สู้ กึ
เพลดิ เพลนิ หรอื พอใจกับสิ่งท่ีอา่ น ส่วนเดก็ ท่ีมีความผิดปกติทางการไดย้ ิน จะฟังคำอธบิ ายของครไู มไ่ ด้
ดเี ท่าท่คี วรเพราะจับใจความไมค่ ่อยไดแ้ ละไม่เข้าใจความหมายของคำท่ีครใู หอ้ า่ นซึ่งจะให้เกดิ ปัญหา
ในการอา่ นตอ่ ไป
2.5 อารมณ์ เป็นองคป์ ระกอบทีม่ คี วามสำคัญต่อการอ่านมาก เพราะการอ่านท่ี
ประสบผลสำเรจ็ นน้ั ผูอ้ ่านจำเปน็ ตอ้ งมีสมาธิในการอ่าน ถา้ เด็กมีความกังวลใจ หรือมีความกลวั เด็ก
จะมีความรสู้ ึกตอ่ ตา้ นอยา่ งรุนแรง ซง่ึ จะขัดขวางสมาธิในการอ่านเป็นอย่างมากจนเปน็ ผลให้ประสบ
ผลสำเร็จในการอ่านน้อยกว่าเดก็ ทมี่ ีอารมณด์ ี หรอื สขุ ภาพจติ ดี
3) สภาพแวดล้อม เดก็ ท่อี ยู่ในครอบครัวท่อี บอ่นุ สมาชกิ ในครอบครัวให้ความสำคัญกับการ
อ่าน มกี ารสง่ เสรมิ การอ่าน เด็กกจ็ ะรู้คุณค่าของการอา่ นและอา่ นได้ดี เพราะไดพ้ บเหน็ และมกี ิจกรรม
การอ่านเป็นประจำ นอกจากนโี้ รงเรยี นยงั มสี ่วนสำคัญในการส่งเสริมการอา่ นของนกั เรียนอยา่ ง
สมำ่ เสมอ อนั จะทำให้พัฒนาการทางดา้ นการอา่ นดีเปน็ ไปตามลำดับและต่อเนื่อง
1.8 การอา่ นทางวิทยโุ ทรทัศน์และในทีช่ มุ ชน
ทักษะการอ่านใหผ้ ู้อื่นฟัง อนั ไดแ้ ก่ ทกั ษะการหายใจ ทกั ษะการใชเ้ สียง และทกั ษะการทรง
ตวั เป็นทักษะพนื้ ฐานให้การอ่านให้ผู้อืน่ ฟงั โดยทว่ั ไปแต่ถา้ เป็นการอ่านทางวิทยโุ ทรทัศน์และในที่
ชุมนุมชนทเ่ี ปน็ ทางการ ยังต้องมีทักษะอื่น ๆ อกี หลายประการ อาทิ
1) การแต่งกาย
ผู้ทำหน้าที่อ่านทางวิทยุโทรทัศน์ มักเป็นรายการ ข่าว รายการอภิปราย สัมภาษณ์ซึ่งเป็น
ทางการหรือกงึ่ ทางการ การแตง่ ตวั จึงควรพิจารณาตามความเหมาะสม ไมค่ วรใหห้ รูหรามากนกั เพราะ
มิใช่การแสดงละคร จุดสนใจของผู้ชมอยู่ที่เนื้อหาของการอ่าน มิใช่ที่เสื้อผ้าของผู้อ่านสีที่ใช้ไม่ควร
ลวดลายมากเพราะจะทำใหผ้ ู้ชมตาลาย ไม่ควรใช้เนื้อผ้าที่เป็นมันระยับหรือเครื่องประดับทีแ่ วววาว
เกนิ ไป เพราะจะสะทอ้ นแสงมาก การแต่งหนา้ ควรใหก้ ลมกลนื กบั ผวิ ส่ิงเหลา่ นี้แมไ้ ม่เก่ียวกับการอ่าน
โดยตรง แต่ก็เป็นส่วนประกอบทีส่ ำคัญ เพราะมีผลต่อบุคลิกภาพของผู้อา่ นด้วย การอ่านในที่ชุมนุม
ชน เช่น การอ่านสุนทรพจน์ก็อาศัยหลักการแต่งกายเช่นเดียวกันคือ สุภาพ ไม่ฉูดฉาดบาดตา
จนเกินไป
2) กริ ยิ าอาการ
การอา่ นทางวทิ ยโุ ทรทศั น์ ผูช้ มจะสงั เกตสหี นา้ และกิริยาอาการของผอู้ า่ นไดอ้ ยา่ งถนัดผอู้ า่ น
ควรวางสหี นา้ อย่างสบายๆ อาจย้มิ น้อย ๆ ให้ดูเป็นธรรมชาติ การเคลื่อนไหวใบหน้าหรือร่างกายควร
น่มุ นวลไม่หลกุ หลกิ สายตาควรมองกล้องเปน็ สว่ นใหญ่ผู้ชมจะไดร้ สู้ กึ วา่ พูดกบั ตน การวางมือ การนั่ง
หรอื การยนื ควรสุภาพและผอ่ ยคลาย ไม่ระมัดระวังจนกลายเป็นการเกรง็ ตวั ซง่ึ จะทำให้ผชู้ มรสู้ ึกไม่
สบายตา
3) การใช้สายตา
การอา่ นทางวทิ ยุโทรทศั น์และในทช่ี มุ ชน ตา่ งกับการอา่ นทางวิทยกุ ระจายเสยี งหรืออา่ นใน
กล่มุ มติ รสหาย การอ่านที่ปรากฏอยา่ งเปน็ ทางการนนั้ ผู้อา่ นจะตอ้ งเงยหน้าสบตาผชู้ มเป็นระยะๆ
ฉะน้นั จงึ ต้องมีทักษะการกรวดสายตาอา่ นอยา่ งรวดเร็วเปน็ พเิ ศษ มใิ ช่ก้มอา่ นตลอดหรือเงยหน้าแลว้
เสยี จงั หวะการอ่านไมว่ ่าจะก้มหน้าหรอื เงยหนา้ การอ่านจะตอ้ งราบรนื่ ไมส่ ะดุดหรือติดขัดจนเป็นท่ี
สังเกตได้ หากมีอุปสรรคในการอ่าน เช่น กระแอมหรอื สำลัก ควรกลา่ วคำขออภยั แล้ว อ่านตอ่ ไป ไม่
ควรตกใจจนลมื วา่ อ่านถงึ ท่ีใด เพราะจะทำใหห้ ยุดชะงักอีก
1.9 ประเภทของการอ่าน
การอ่าน เป็นวธิ สี อ่ื สารท่ีเปน็ ได้ทงั้ การส่งสารและการรับสาร การอ่านแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท
ดงั น้ี
1. การอ่านออกเสยี ง วธิ ีอา่ นออกเสียงประกอบด้วย
1) อ่านออกเสียงใหถ้ กู ตอ้ งชดั เจน
2) อา่ นเสยี งดัง ฟงั ไดท้ ว่ั ถึง
3) อ่านใหเ้ ป็นเสยี งพดู ธรรมชาติ
4) รจู้ ักทอดจงั หวะและลมหายใจ ฯลฯ
การอ่านออกเสียงเป็นไดท้ ้ังการรบั สารและการสง่ สาร ส่วนการอา่ นในใจจะเปน็ ได้เฉพาะการ
รบั สารเพยี งทางเดียวเทา่ นนั้ และ การอา่ นออกเสียง หมายถึงการอา่ นท่ีผอู้ ่ืนสามารถได้ยนิ เสยี ง การ
อ่านออกเสยี งมักไมน่ ยิ มอ่านเพอื่ การรบั สารโดยตรงเพยี งคนเดียว เว้นแตก่ ารอ่านบทประพันธเ์ ป็น
ท่วงทำนองเพอ่ื ความไพเราะเพลิดเพลนิ สว่ นใหญก่ ารอ่านออกเสียงมกั เปน็ การอา่ นให้ผอู้ ื่นฟัง การ
อา่ นออกเสยี งให้ผู้อ่ืนฟังจะตอ้ งอ่านให้ชดั เจน ถูกตอ้ งได้ขอ้ ความครบถ้วนสมบูรณ์ มีลีลาการอ่านท่ี
น่าสนใจและนา่ ติดตามฟงั จนจบ
2. การอ่านในใจ วิธอี ่านในใจประกอบดว้ ย
1) ตง้ั สมาธิให้แนว่ แน่
2) กะช่วงสายตาให้ยาว
3) ไม่อ่านยอ้ นไปย้อนมา
4) ไม่ออกเสยี งเวลาอ่าน ฯลฯ
การอ่านออกเสยี งโดยท่วั ไปนน้ั มที ั้งการอา่ นร้อยแกว้ และร้อยกรอง การอ่านแตล่ ะชนดิ มีข้อ
ควรปฏบิ ัตแิ ตกต่างกนั การอ่านออกเสยี งร้อยแก้ว ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
1. ออกเสยี งให้ดงั ชดั เจนถูกต้อง เพราะถ้าออกเสยี งผิดจะทำให้ความหมายผิด
2. อ่านเวน้ วรรคตอนให้กว้าง ๆ อย่าแบง่ ช่วงส้ันเกนิ ไป จะทำใหเ้ สยี จงั หวะ
3. อา่ นใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ภาษา เชน่ การอ่านอักษรนำและคำสมาส เป็นตน้
4. อา่ นให้มีเสยี งสูง ๆ ต่างๆ หลายระดับ เหมอื นพดู คุยตามปกติ
5. ไมอ่ ่านช้าจนน่ารำคาญหรอื อา่ นเร็วจนล้ินรัวไมช่ ัดเจน
การอ่านออกเสยี งรอ้ ยกรอง หรอื การอา่ นทำนองเสนาะ เปน็ การอา่ นทีท่ ำใหเ้ สยี งเสนาะหูนา่
ฟงั มที ำนองลีลา มกี ารใชเ้ สยี งและมีจังหวะแตกต่างกันไปตามชนดิ ของบทรอ้ ยกรอง มขี ้อควรปฏิบตั ิ
ดงั นี้
1. นำบทร้อยกรองที่จะตอ้ งอา่ นทำนองเสนาะมาศกึ ษาเสยี ก่อนว่าเป็นบทร้อยกรอง
ประเภทใด
2. ศึกษาลกั ษณะบังคบั ของบทรอ้ ยกรองประเภทนน้ั ๆ เพ่ือจับจงั หวะสัมผสั และ
ศึกษาลีลาการ
อา่ น
3. ฝกึ อ่านออกเสียงธรรมดาก่อน แล้วจึงหัดจบั จังหวะ จบั สมั ผัสและออกเสยี ง
4. กอ่ นอา่ นทำนองเสนาะ ควรฟังตัวอยา่ งการอ่านหลาย ๆ ครง้ั
5. ใช้เสียงใหเ้ หมาะกบั บรรยากาศของข้อความท่อี า่ น เชน่ รัก โศก ปลกุ ใจ
6. เม่ืออา่ นท านองเสนาะไดแ้ ล้ว ควรฝึกซอ้ มอยู่เสมอเพอื่ ให้คล่องและจำได้
การพฒั นาทกั ษะการอา่ น
1. ความหมายของทักษะการอา่ น
ทักษะ (Skill) หมายถึง ความสามารถทางกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ผู้รับการฝึก
สามารถทำงานไดด้ ้วยความคล่องแคลง่ ซงึ่ การพิจารณาวา่ ผู้รบั การฝกึ มีทักษะดีหรอื ไม่นัน้ สามารถดูได้
ด้วย ตัวแปร3 ตัว คอื เวลาท่ใี ช้ปฏบิ ตั ิการสงั เกตขณะปฏบิ ตั งิ าน และผลของงาน
ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน (2524: 3) ได้รวบรวมคำนิยามการอ่าน ซึ่งนักการศึกษาและ
ผู้เช่ียวชาญทางภาษาศาสตร์ชาวต่างประเทศได้กลา่ วไว้ดงั น้ี
Hildreth and Thorndike กล่าวว่าการอ่านคือกระบวนการทางสมองที่จะแปลสัญลักษณ์
ต่าง ๆที่มองเห็นได้เกดิ ความคิด ความเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดีสามารถแยกแยะตคี วามหมายก่อนที่จะ
สรุปเป็นความคิดของตนเอง ส่วน Singh and Gray ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่าเป็นการ
รวบรวมความคิดจากส่งิ พิมพ์เข้าใจภาษาของผู้เขียนให้เกิดประสบการณ์และทักษะ สรา้ งมโนภาพข้ึน
ในใจของผอู้ ่าน ทักษะการอ่านจะตอ้ งเข้าในท้งั ความหมายและองคป์ ระกอบของทักษะการอ่าน อนั จะ
ได้หาทางสง่ เสริมใหเ้ ยาวชนในปัจจบุ ันได้มุ่งสู่แนวทางทีจ่ ะบรรลุเปา้ หมายได้ดียิ่งขึ้น การอ่านแต่เดิม
นั้นหมายถึง การแปลสัญญาณให้ออกมาเปน็ คำพูดปัจจุบันการอ่านหมายถงึ ความสามารถในการใช้
ประโยชนข์ องการผสมผสานของตวั อักษรแล้วได้รับความรู้
การสอนอ่านในยุคปัจจุบันจึงเน้นที่จะมุ่งสนองความต้องการแ ละความสนใจของผู้เรียนมากข้ึน
สำหรับทักษะในการอ่านหมายถึง ความคล่องตวั ที่จะใชก้ รประสมประสานของตัวอักษรโดยผา่ นการ
ไตร่ตรองแล้วเก็บเป็นความรอบรู้แห่งตนหรือความคลอ่ งตัวในการใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการ
อ่านเป็นการฝึกใช้ความคิดในการรับรู้สื่อความหมายที่ผู้เขียนสื่อถึงผู้อ่านกระบวนการอ่านจึงเป็น
แนวทางในการค้นคว้าหาความรู้ความเข้าใจจากการอ่านเพ่ือนำไปใช้ประโยชน์ ข้ันตอนในการฝึกอ่าน
ไปสูก่ ารสร้างทกั ษะในการอ่าน ดังน้ี
1. สามารถเข้าใจสาระสำคัญของสิ่งหรอื เรอ่ื งที่อา่ นได้
2. วิเคราะห์และจดั ประเภทความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการอ่าน
3. สร้างความสัมพันธ์ระหวา่ งความรใู้ หม่กับประสบการณ์เดมิ
4. สรปุ มโนทัศน์
5. ทบทวนพจิ ารณา อทุ าหรณ์
6. คดิ ยอ้ นกลับพร้อมอ้างองิ
7. การใชส้ ำนวน คำคม
8. เกิดอารมณ์เห็นประโยชน์
9. วิจารณ์ ไต่ตรอง
10. กล่ันกรองเป็นความรอบรู้
จากข้ันตอนในการเสริมสร้างทกั ษะในการอา่ นนีข้ นึ้ อย่กู ับครูจะใชว้ ิธีสอนกระตุ้น ส่งเสริมโดย
จัดกจิ กรรม หากอ่านนบั เป็นกุญแจดอกสำคัญท่ีจะชว่ ยพฒั นาการอ่านของเดก็ ให้ก้าวหน้าไปสู่การใช้
ประโยชน์ไดเ้ ต็มทีครผู ู้สอนบกพร่องในความเข้าใจผู้เรียนย่อมไมไ่ ดป้ ระโยชน์จากการอ่านขน้ั ตอนใน
การฝึกทักษะในการ
2. การส่งเสรมิ การอ่าน
จนิ ดา จำเริญ (2530:29) ไดก้ ล่าวถึง ความหมายของการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นไวด้ ังนี้
1.เพือ่ ใหเ้ ดก็ รกั การอ่านหนังสอื และเป็นการปลูกฝังนิสยั รักการอ่านหนงั สอื ให้แกเ่ ด็ก
2.เพื่อใหเ้ ดก็ รู้จักเสาะแสวงหาความรูแ้ ละความเพลดิ เพลินตามความต้องการและความสนใจ
ของตนเองในยามว่าง
3. เพือ่ ให้เดก็ รูจ้ กั การศกึ ษาคน้ คว้าหาความรู้ด้วยตนเองเมื่อเติบโตเปน็ ผู้ใหญ่ นอกจากจะ
สอนให้นกั เรยี นมคี วามรพู้ ้ืนฐานการใชห้ ้องสมดุ แล้วครูผ้สู อนจะตอ้ งคิดคน้ หาวิธี
ทำใหน้ ักเรียนอยากเข้าห้องสมุด อยากอ่างหนงั สือและมีนสิ ัยนกั การอา่ น ด้วยเหตุผลทีว่ ่าวยั ของเดก็
เปน็ อุปสรรคในการรณรงค์ใหม้ นี ิสัยรกั การอา่ น ดังนั้น กอ่ นทจ่ี ะปลูกฝงั ให้นกั เรยี นมีนิสัยรักการอา่ น ก็
ต้องเร่มิ ตัง้ แต่ปลกู ฝงั ใหน้ ักเรยี นรักห้องสมดุ อยากเข้าหอ้ งสมุด ปลกู ฝงั ให้รกั หนงั สือทุกเล่มในห้องสมุด
และรกั ครทู ่ีทำหน้าทใี่ นหอ้ งสมดุ หลังจากน้นั จงึ จะปลูกฝงั ใหเ้ ด็กมนี สิ ัยรกั การอา่ นต่อไปได้การปลูกฝงั
ใหเ้ ด็กอยากเข้าหอ้ งสมดุ โดยไม่มคี วามจำเป็นเขา้ มาบังคับ สถานท่ใี ดบา้ งท่ใี คร ๆก็สนใจอยากเขา้ เม่ือ
เข้าไปแลว้ รู้สกึ วา่ เวลาผ่านไปรวดเร็วโดยไม่รสู้ กึ เบื่อ หอ้ งสมุดก็ควรจดั ใหม้ ีบรรยากาศคลา้ ยกบั สถานที่
ที่กลา่ วมา นน่ั ก็คือ จัดบรรยากาศให้เหมือนศนู ย์การคา้ มจี ดุ สนใจ มีสิ่งเร้าใจ มีส่งิ ของหลากหลายให้
เลอื ก มีสสี นั ที่ดึงดดู สายตา สะอาดเยน็ สบาย มีผู้ขายทใ่ี จดตี ้อนรับด้วยใบหน้าท่ียม้ิ แยม้ แจม่ ใสเทา่ น้ีก็
เพยี งพอแลว้ สิ่งที่สำคญั ก็คอื ท าอยา่ งไรให้เด็กอยใู่ นห้องสมุดให้นานที่สุดนน่ั ก็คอื ตอ้ งจดั กิจกรรม
ส่งเสรมิ การอา่ นที่มรี ปู แบบแปลกใหม่และหลากหลาย เพราะอยา่ ลมื วา่ ความสนใจของเดก็ แต่ละคนไม่
เหมอื นกัน กจิ กรรมสรา้ งนสิ ยั รักการอา่ นในห้องสมุดควรใหเ้ ดก็ มีสว่ นรว่ มในการท า ซงึ่ จะเป็นการช่วย
บรหิ ารเวลาท่ไี ม่เพยี งพอของครูไดอ้ กี ด้วย นอกจากนน้ั เดก็ ๆ กย็ งั สนใจอา่ นผลงานเขยี นของตนเอง
ผลงานของเพอื่ นๆ ผลงานของพ่ีและผลงานของน้อง กิจกรรมสร้างนสิ ยั การอ่านการเขียนไดอ้ กี ด้วย
แม้นมาส ชวลิต (2544 : 30) ได้รวมกลุ่มของกจิ กรรมตามลักษณะกิจกรรมดึงดูดความสนใจ
โดยทางประสาทสัมผัส อย่างใดอย่างหน่งึ หรอื หลายอย่างรวมกนั ไว้ 4 ประเภท คอื
1. กจิ กรรมซงึ่ เรา้ โสตประสาท หมายถงึ กิจกรรมที่ใชเ้ สยี งและคำพูดเปน็ หลักกจิ กรรม
ประเภทน้ี ไดแ้ ก่ การเล่านทิ านใหฟ้ งั การเล่าเรื่องหนังสือการอา่ นหนงั สือให้ฟัง การแนะนำหนงั สอื
ดว้ ยปากเปล่า การบรรยาย การอภิปรายการโต้วาทีท่ีเกยี่ วกบั หนงั สือ การบรรเลงดนตรี และการรอ้ ง
เพลงจากบทละครร้องกิจกรรมประเภทนที้ ำให้เกิดความเพลิดเพลิน
2. กจิ กรรมท่เี ร้าจักษุประสาท หมายถงึ กจิ กรรมที่ชวนใหด้ เู พ่งพนิ จิ และอา่ นความหมายของ
สิง่ ทเ่ี หน็ กิจกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ การจัดแสดงภาพชนดิ ต่าง ๆ การจัดนิทรรศการหนังสอื และสงิ่ ของ
โดยมคี ำบรรยายอธบิ ายสิ่งท่แี สดงกจิ กรรมประเภทนม้ี ่งุ ใหผ้ ้ชู มใชส้ มาธิในการชม
3. กจิ กรรมซ่ึงเรา้ โสตและจักษุประสาทในขณะเดยี วกัน เป็นกจิ กรรมซงึ่ ชวนให้ฟังและดูไป
พร้อม ๆ กัน ประสานประสาททง้ั สองให้ทำงานร่วมกนั เช่น เล่านิทานโดยดภู าพประกอบ ซ่ึงจดั เตรยี ม
ไว้เฉพาะ เล่านิทานและใหด้ ภู าพประกอบในหนังสอื เลา่ นทิ านโดยใช้ทัศนวสั ดุประกอบฉายภาพนง่ิ ซึ่ง
มีคำบรรยาย
4. กจิ กรรมซ่ึงใหผ้ ูเ้ ป็นเป้าหมายไดร้ ว่ มกัน กจิ กรรมท านองนีช้ ว่ ยใหผ้ ้เู ปน็ เป้าหมายเกิดความ
สนุกและภาคภมู ิใจร้สู กึ วา่ ตนเองมีความสามารถ เช่น เม่อื เล่านทิ านแล้วก็ให้ผู้ฟังวาดภาพประกอบ ให้
แสดงท่าทางประกอบ ใหร้ ้องเพลงตามตวั ละครในนทิ านทแ่ี ขง่ ขันเล่าเรอื่ งที่ได้ฟังไปแล้ว
บทที่ 3
วิธกี ารดำเนินงาน
วธิ ดี ำเนินการวิจยั
3.1 การสร้างชุดการสอนเพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 นั้น ผู้วิจัยเริ่มจากการศึกษาวิธีการสร้างชุดการสอนการออกแบบแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่ดีคู่มือครูและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่านออกเสียงตลอดจนการกำหนดขอบเขตและ
วัตถปุ ระสงคข์ องนวตั กรรมและกำหนดเคา้ โครงนวัตกรรมชุดการสอนการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษ
ประกอบดว้ ย ชดุ คำศพั ท์ จากนนั้ กำหนดรปู แบบของนวัตกรรมชดุ การอา่ นออกเสยี งภาษาองั กฤษ ซ่ึง
คำนงึ ถงึ ความถูกตอ้ งและเนอ้ื หาตามหลกั วิชาการ โดยผวู้ ิจัยผวู้ จิ ยั ทำการประเมินความสอดคล้องของ
ชดุ การสอนการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษ โดยใชแ้ บบสอบถามความคิดเห็นเกย่ี วกับชุดการสอน การ
วเิ คราะห์ขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการคำนวณหาคา่ เฉลีย่ (X-bar) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และการ
วิเคราะห์เน้อื หา (Content Analysis) ดงั รายการต่อไปน้ี
1. ความสอดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องหลกั สตู ร
2. ความเหมาะสมของบทบาทของครใู นการเรยี นการสอน
3. ชดุ การอา่ นออกเสยี งภาษาอังกฤษ สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้
4. สามารถปฏิบตั ไิ ด้จริงทกุ ข้นั ตอน
5. เน้ือหามีความยากงา่ ยเหมาะสมกับนักเรียน
6. กจิ กรรมการเรียนการสอนทจ่ี ดั ไว้สอดคลอ้ งกบั เวลา
7. ความเหมาะสมของสอ่ื การเรยี นการสอน
8. กิจกรรมการเรยี นการสอนทจ่ี ดั ไว้เร้าความสนใจของนักเรียน
9. ชดุ การอา่ นออกเสียงภาษาอังกฤษช่วยพัฒนาทักษะการอา่ นออกเสยี งของนกั เรยี นได้
10. ความเหมาะสมของการวัดและประเมินผล
กลมุ่ เป้าหมาย
1. กลมุ่ เป้าหมาย ได้แก่ นกั เรียนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
2. ตวั แปรทศี่ ึกษา
2.1 ตวั แปรตน้ ได้แก่ เอกสารประกอบการเรียน
2.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ความสามารถทางการอา่ นออกเสยี งภาษาอังกฤษของนักเรียน
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3
3. วิธกี ารนำไปใช้ใช้เอกสารประกอบการเรยี นในการฝกึ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 โดยมีการ
ทดสอบทักษะความสามารถทางการเรียน ดังน้ี
3.1 ทดสอบวัดความสามารถในการเรียนก่อนการฝกึ 1 ครง้ั
3.2 ทดสอบความสามารถในการฝึกปฏบิ ตั เิ ป็นระยะ ๆ เมอื่ จบขนั้ ตอนการฝึกแต่ละเนอื้ หา
3.3 ทดสอบวัดความสามารถในการเรียนหลงั การฝึก 1 ครัง้
4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
ข้อมลู /ผลที่จะเกบ็ วิธกี าร เครอื่ งมอื จำนวนครง้ั /
ระยะเวลาท่เี กบ็
คะแนนความสามารถ การทดสอบ แบบทดสอบ
ในการ อา่ น จำนวน 5 ทดสอบ 2 ครง้ั
ก่อนการฝกึ 1 คร้งั
เรยี นภาษาอังกฤษ ฉบบั หลงั การฝึก 1 ครั้ง
คะแนนทกั ษะการ การตรวจผลงาน แบบฝกึ ปฏบิ ัติ ตรวจผลงาน 2 คร้งั
ปฏบิ ตั ิการ เมอ่ื จบแต่ละเนื้อหา
อา่ น
5. วิธีการวิเคราะหข์ อ้ มลู
5.1 หาค่าเฉลย่ี คะแนนความสามารถทางการเรียนภาษาองั กฤษก่อนและหลังการฝกึ อา่ น
5.2 เปรยี บเทียบคะแนนความแตกตา่ งระหวา่ งกอ่ นฝกึ และหลงั ฝึกเป็นรายบุคคล
5.3 หาคา่ ร้อยละจำนวนนักเรยี นทมี่ ีขอ้ บกพร่องในการอ่านภาษาองั กฤษ
บทท่ี 4
ผลการวิจัย
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล
การใชแ้ บบฝึกการอา่ นออกเสยี ง ชุดคำศัพท์ เป็นแบบฝกึ เพือ่ พัฒนาทกั ษะดา้ นการอ่านออก
เสยี งภาษาอังกฤษ พบว่านกั เรยี นมที ักษะการอ่านออกเสยี งท่ดี ีขนึ้ ถูกต้อง ชัดเจน และมีผลสัมฤทธิ์
การอา่ นอยู่ในเกณฑ์ที่พัฒนาดี
แบบฝึกหัด Pronunciation
คำศัพทห์ มวดอาชพี
คำศัพท์หมวดเครื่องแตง่ กาย
คำศพั ทห์ มวดพืช
คำศพั ท์หมวดสัตว์
การวิจัยเร่ือง การพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดคำศพั ท์ ผู้วิจัยขอเสนอผล
การวิเคราะหข์ อ้ มลู ตามลำดับ ดงั น้ี
1. สญั ลกั ษณท์ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
1. สัญลกั ษณท์ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองและแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั ผวู้ จิ ัยจึงกำหนดสัญลักษณ์ตา่ งๆ ทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู ดงั นี้
( X ) แทน คา่ เฉล่ียของคะแนน
S.D. แทน คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน
N แทน ผลรวมคะแนนท้งั หมด
=
ลำดบั ขนั้ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
วิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งคะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียนดว้ ยการอ่านออกเสยี ง
ภาษาอังกฤษจากชุดคำศพั ท์
2. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ัตถุประสงค์เพอื่ ตอ้ งการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาองั กฤษใน
รายวชิ า ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาท่ี 3 โรงเรียนแร่วทิ ยา อำเภอเขวาสินรินทร์
จังหวดั บุรรี มั ย์ ผวู้ ิจยั ขอเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลำดับ ดังนี้
1. นักเรยี นมคี วามสามารถในการอา่ นออกเสียงภาษาอังกฤษได้คล่องแคล่วและตคี วาม
ภาษาองั กฤษไดอ้ ย่างเขา้ ใจมากข้นึ
2. นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิร์ ายวิชา ภาษาองั กฤษพน้ื ฐานสงู ขน้ึ หลงั จากใชแ้ นวทางการอา่ นชุด
คำศพั ท์ ซ่งึ ปรากฏดงั แสดงในตาราง
ตารางที่ 1 แสดงผลคะแนนการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษจากชุดคำศัพท์ ก่อนการทดลองวิจัย
เกณฑก์ ารอา่ นตามหวั ข้อที่กำหนด คะแนนเต็ม 20 คะแนน
เลขท่ี คะแนนกอ่ นทดสอบ คะแนนหลงั ทดสอบ D
1 9 16 7
2 11 16 7
3 10 18 8
4 8 16 6
5 12 18 6
6 8 15 7
7 12 18 6
8 7 16 9
9 11 17 6
เฉลยี่ (x) 10.1 16.8 132
คา่ ร้อยละ 50.5 84
จากตารางเปรียบเทียบ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการอ่านออกเสยี งภาษาองั กฤษของ
นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ( กล่มุ ตวั อยา่ ง 11 ) หลังจากฝกึ ดว้ ยแบบฝกึ ทกั ษะการอ่าน
ภาษาองั กฤษมีคะแนน สงู ข้นึ กวา่ ก่อนใช้แบบฝกึ ร้อยละ 33.5
ตารางที่ 2 ผลการวินจิ ฉัยหลงั จากท่ไี ด้รับการบำบัดแลว้
นักเรยี นคนที่ ระดับ
1 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง
2 √
3 √ √
4 √
5 √ √
6
7 3 √
8 √
9 √
รวม 6
ค่าเฉล่ยี
ค่าร้อยละ 3.95
79.00
อยู่ในระดับ ดีมาก
เกณฑท์ ใี่ ช้ในการแปลความหมายขอ้ มลู แบง่ ออกเป็น 5 ระดบั ดงั น้ี
ค่าเฉลี่ย 3.01 – 5.00 หมายถึง นกั เรียนมีความสามารถคิด วเิ คราะห์ ตีความ แปลความ ออก
เสียง ดมี าก
ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.00 หมายถึง นักเรยี นมคี วามสามารถคดิ วเิ คราะห์ ตีความ แปลความ ออก
เสียง ดี
คา่ เฉลี่ย 2.01 – 2.50 หมายถึง นักเรียนมคี วามสามารถคิด วเิ คราะห์ตีความ แปลความ ออก
เสียง ปานกลาง
คา่ เฉลย่ี 1.51 – 2.00 หมายถงึ นักเรยี นมีความสามารถคิด วเิ คราะห์ ตีความ แปลความ ออก
เสียง พอใช้
ค่าเฉลย่ี 0 – 1.50 หมายถึง นกั เรียนมีความสามารถคิด วเิ คราะห์ ตีความ แปลความ ออก
เสยี ง นอ้ ย
บทที่ 5
สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
การวิจยั เรอื่ ง “การพัฒนาการอา่ นออกเสยี งภาษาอังกฤษโดยใช้ชดุ คำศพั ท”์
นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนแรว่ ิทยา อำเภอเขวาสนิ รนิ ทร์ จังหวัดสรุ ินทร์ จำนวนท้ังหมด 9
คน
วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
1.เพอ่ื ตอ้ งการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเสียงภาษาอังกฤษ
2.เพื่อพัฒนาทักษะด้านการพูดออกเสียงได้ถูกตามหลกั เจา้ ของภาษา
3.เพื่อให้นกั เรียนมเี จตคติทีดีตอ่ การเรยี นภาษาอังกฤษ
การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากรทใี่ ชใ้ นการวิจัยครง้ั น้ีเปน็ นกั เรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนแร่วทิ ยา
จงั หวัดสุรนิ ทร์
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ท่เี รียนรายวชิ า ภาษาอังกฤษ 5 อ23101
สญั ลักษณท์ ใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการทดลองและแปลความหมายของผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู
เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตรงกัน ผวู้ จิ ยั จงึ กำหนดสญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ ท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู ดงั นี้
( X ) แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน
S.D. แทน คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน
N แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด
=
สรปุ ผลการวิจัย
ภายหลังการพฒั นาความสามารถทางการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ สำหรับเด็กนักเรียนมี
ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษอ่อนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้เอกสารเสริม
ประกอบการเรียน ปรากฏวา่ นกั เรียนมกี ารพัฒนาความสามารถทางการเรียนดขี นึ้
อภิปรายผล
จากผลการใชเ้ อกสารประกอบการเรียนท่ีสรา้ งขึ้น ปรากฏวา่ นกั เรยี นมคี วามสามารถใน การ
อ่านภาษาองั กฤษดขี ึ้น ซึ่งเมอื่ พิจารณาความกา้ วหนา้ ในการเรยี นของนักเรียน พบวา่ นักเรียนสามารถ
พัฒนาได้ตามระยะเวลาและจำนวนกจิ กรรมที่ฝึก และเมื่อสิ้นสุดการฝึก พบว่า นักเรียนมีทักษะการ
อ่านออกเสียงดีขึ้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนามีการจัดลำดับความยากง่ายที่
เหมาะสมกับผู้เรียนแสดงว่าเอกสารประกอบการเรียนที่สร้างขึ้นนี้ช่วยให้นัก เรียนมีความสามารถ
ทางการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษดขี ้นึ
ขอ้ เสนอแนะ
ควรฝึกเพมิ่ เตมิ ใหก้ บั นกั เรยี นท่ียังมขี ้อบกพรอ่ งในดา้ นทักษะการอ่านภาษาองั กฤษให้มีทักษะการอ่าน
ได้ถูกต้อง และมีการปรับเปลี่ยนสำเนียงและการออกเสียงที่ถูกต้องมากขึ้นเพื่อนำไปใช้ในระดับสูง
ต่อไปในอนาคตและให้เหมาะสมกบั ความถนัดและความสามารถของนกั เรียนตอ่ ไป
บรรณานกุ รม
ห้องเรยี นครพู สิ ทุ ธิ์.พสิ ทุ ธ์ิ จันตะคุต.ความสำคญั ของการอ่าน.2557. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก:
https://sites.google.com/site/krujitpisut/khwam-sakhay-khxng-phasa-xangkvs(วันทส่ี ืบค้น
30 สงิ หาคม 2564)
ทรปู ญั ญา.2552.การอ่าน.(ออนไลน)์ สืบค้นจาก:
http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1414-00/
(วันท่สี บื ค้น 30 สิงหาคม 2564)
Thaigoodview.กาญจนา เชื่อมศรจี นั ทร.์ 2552.การอา่ น.(ออนไลน)์ สืบคน้ จาก:
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/utaradit/kanjana-
c/thailand01/sec02p01.htmlhttp://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/
thai04/07/reading.html (วนั ทสี่ บื คน้ 30 สงิ หาคม 2564)
พรพลิ ัย คงมที รพั ย.์ ห้องเรยี นครูสมจิต วัฒนวงศ์. 2557. ความหมายการอา่ น.(ออนไลน)์ สบื ค้นจาก:
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/utaradit/kanjana-
c/thailand01/sec02p01.html. (วนั ท่สี ืบคน้ 30 สิงหาคม 2564)
การอ่าน.2557. (ออนไลน์) สบื คน้ จาก:
http://theosrv.acs.ac.th/~28874/28874/ENG_02/Entries/2010/1/20_kar_xan_files/%E0
%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0% (วันทสี่ บื คน้ 30 สงิ หาคม 2564)
กัลยาณมติ ร เพ่อื นแท้สำหรบั คณุ .2559.ประวัติความเป็นมาของนิทานอสี ป.(ออนไลน)์ สบื คน้ จาก:
http://www.kalyanamitra.org/th/Aesop_detail.php?page=2252 (วนั ทสี่ บื คน้ 30 สงิ หาคม
2564)
– English.2559. (ออนไลน์)สบื คน้ จาก:
http://fun-fable.blogspot.com/2013/11/hare-and-tortoise.html (วันท่ีสบื คน้ 30 สิงหาคม
2564)