กำหนดกำรสังคตี ศำลำยำ คร้ังที่ ๓
ตลำดนัดมหรสพไทย ครั้งที่ ๔
วนั ท่ี ๓๑ มกรำคม ๒๕๖๓ เวลำ ๑๖.๐๐ น. - ๑๘.๓๐ น.
๑๖.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. วงเครอ่ื งสายไทยบรรเลง (บรรยากาศ)
๑๖.๓๐ น. - ๑๖.๔๐ น. ประธานจดุ ธปู เทยี นบชู าครู
๑๖.๔๐ น. - ๑๗.๐๕ น. การแสดงราวงย้อนยคุ
๑๗.๐๕ น. - ๑๗.๑๐ น. การแสดงชุด เบิกโรงมหรสพไทย
๑๗.๑๐ น. - ๑๗.๔๐ น. การแสดงโขนสด เรื่องรามเกยี รต์ิ ตอน นางลอย
๑๗.๔๐ น. - ๑๘.๓๐ น. การแสดงละครชาตรี เรอื่ งแกว้ หนา้ ม้า ตอน พระป่ินทองตดิ อ่าวยกั ษ์
ท่มี ำของกำรแสดง ตลำดนัดมหรสพไทยครั้งที่ ๔
ตลาดนัดมหรสพไทย เป็นช่ือของการจัดกิจกรรมรายการหน่ึง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในกลุ่มวิชาชีพพื้นฐาน
รายวิชามหรสพไทย มีจุดประสงค์ให้นักเรียนระดับ ปวช.ปีที่ ๑ ของวิทยาลัยนาฏศิลป ได้รับรู้ เข้าใจ และได้สัมผัส
กับกระบวนวิธีการแสดงมหรสพไทยที่มีมาแต่โบราณ และหาชมยากได้ในปัจจุบัน ซึ่งนักเรียนท้ังระดบั ชน้ั จะตอ้ งพยายาม
เรียนรู้และฝึกหัดเพื่อให้สามารถนาออกแสดงได้ตามศักยภาพและระยะเวลาที่มี ตลาดนัดมหรสพไทยคร้ังท่ี ๔ แม้จะเป็น
เวทีสมัครเลน่ แตถ่ ือไดว้ ่าจะเปน็ ประสบการณ์ที่สาคญั แกน่ กั เรียนในอนาคต
กำรแสดงชุดท่ี ๑ กำรแสดงรำวงยอ้ นยคุ
ราวง หรือ การเล่นราโทนในอดีตของคนไทย ซ่ึงนิยมกันมากในแถบภาคกลาง มีจุดประสงค์หลักเพื่อต้องการความสนุก
รื่นเริง และพักผ่อนหย่อนใจของผู้คนในท้องถ่ิน ในโอกาสเสร็จจากการทางาน หรือในเทศกาลนักขัตฤกษ์ตามประเพณี ต่อมา
วิวัฒนาการของราวงได้พัฒนารูปแบบหลากหลายขึ้น ท้ังรูปแบบของชาวบ้านในหลายท้องถ่ินและรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน
อย่างกรมศิลปากร และเมื่อพัฒนาการรูปแบบความรื่นเริงของสังคมไทยมีมากข้ึนเร่ือยๆโดยเฉพาะเพลงลูกทุ่ง ได้ถูกนามา
ใช้บรรเลงขับร้องประกอบการเล่นราวงแพร่หลายข้ึน จนมีการจัดตั้งเป็นคณะราวงรับจ้างแสดง มีนักร้อง นักดนตรี สาวราวง
และโฆษกเชียร์ลูกค้าราวงให้ซื้อบัตร ซ้ือพวงมาลัยเพื่อขึ้นมาคล้องนางราบนเวที หลังจากซบเซาไปเกือบ ๓๐ ปีปัจจุบัน
ราวงย้อนยุคไดร้ ับความสนใจอกี ครัง้ หนง่ึ จงึ ได้นามาผนวกกบั กิจกรรมตลาดนัดมหรสพไทยในคร้งั น้ี
กำรแสดงชุดท่ี ๒ กำรแสดง ชุด เบกิ โรงมหรสพไทย
การแสดง ชุด เบิกโรงมหรสพไทยน้ี เป็นดาริของครูวีระศิลป์ ช้างขนุน ผู้สอนในรายวิชา ที่ต้องการให้นักเรียนได้นาเอา
การแสดงมหรสพไทยท่ีมีอยู่ในรายวิชา มานาเสนอเป็นชุดเบิกโรงแบบสั้นๆแต่จะต้องมีความทันสมัยสอดคล้องวิถีการแสดง
นาฏยศิลป์ในสังคมปัจจุบัน และในการสื่อสารการแสดงน้ันจะตอ้ งคละเคล้าไปดว้ ยกล่ินอาย และนาฏยลักษณ์ของมหรสพไทย
ท้ัง ๖ ประเภทอีกด้วย นับได้ว่าเป็นการท้าทายความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับ ปวช. ๑ ท่ีจะนาเอาความรู้
และประสบการณท์ ม่ี ตี ามศกั ยภาพของตน ประกอบสร้างเป็นนาฏยประดิษฐ์ขนึ้ มาใหไ้ ดร้ บั ชมในครัง้ นี้
กำรแสดงชดุ ท่ี ๓ กำรแสดงโขนสด เร่อื งรำมเกียรติ์ ตอน นำงลอย
โขนสด หรือ หนังสด เป็นมหรสพการแสดงประเภทหน่ึงของไทย ซ่ึงถือกาเนิดมาประมาณ ๙๐ปี นิยมเล่นกันอยู่ในท้องถ่ิน
ภาคกลาง เนื่องจากเป็นมหรสพที่มีจุดประสงค์ที่ต้องการนาการแสดงนาฏกรรมรามเกียรติ์ในรูปแบบของโขนหลวงมาพัฒนากระบวน
วิธีการแสดงข้ึนใหม่ คือ นาวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์มาเป็นเร่ืองราวสาหรับแสดง ใช้วงป่ีพาทย์และตุ๊ก-โทน บรรเลงประกอบการแสดง
ดาเนินเรือ่ งดว้ ยการขับร้องเพลงโทนซึ่งเป็นอัตลกั ษณ์ของโขนสด เพลงราชนิเกลิง และเพลง ๒ ชน้ั แบบละครทั่วไป การเจรจาเป็นทานอง
พูดด้นเรื่องคล้ายการแสดงลิเก แตง่ กายตามรูปแบบโขนหลวงแต่สวมศีรษะเปิดหน้า เน่ืองจากต้องขับร้องและเจรจาความเอง กระบวนรา
เต้นเลียนแบบกิริยาอาการของตัวโขนหลวง พระ ยักษ์ ลิง มาประสมลีลาของศิลปะการแสดง ๒ ชนิด คือ หนังตะลุงและลิเก ซึ่งโขนสด
จะดาเนินเรื่องรวดเร็วคล้ายละครนอกและละครชาตรี กระบวนราไม่ประณีตนักแต่มักจะมุ่งเน้นแสดงในฉากท่ีมีมุขตลกขบขันและการร้อง
กลอนปะทะคารมเชือดเฉือนกันมากกว่าปัจจุบัน รูปแบบการแสดงโขนสดปรับเปล่ียนไปบ้างตามความนิยมและความสามารถของนักแสดง
ซง่ึ การแสดงในคร้งั น้ี ไดจ้ ดั แสดงใน ตอน นางลอย
กำรแสดงชุดที่ ๔ กำรแสดงละครชำตรี เรือ่ ง แกว้ หน้ำม้ำ ตอน พระป่นิ ทองติดเกำะยกั ษ์
ละครชาตรี หรือโนราห์ชาตรี ถือว่าเป็นมหรสพโบราณประเภทแรกท่ีแสดงเป็นเรื่องราวของคนไทย ตามตานานว่ากาเนิด
ในแถบมณฑลปักษ์ใต้ ซ่ึงปรากฎชื่อบุคคลที่เป็นปฐมบูรพาจารย์ในคาร้องไหว้ครูของคณะละครชาตรีสืบมาจนปัจจุบัน รูปแบบและ
นาฏยลักษณ์ในการแสดงของละครชาตรีนั้น คล้ายคลึงกับ ละครนอก คือ ไม่มุ่งเน้นจารีตทางการแสดง และความงดงามในลีลาท่ารา
มากนัก แต่จะนิยมเล่นยืดยาวในฉากท่ีมีมุขตลกขบขัน การดาเนินเรื่องราวค่อนข้างรวดเร็ว ผู้แสดงใช้ชายจริงหญิงแท้แต่เดิมมีตัวละคร
เพียง ๓ ตัว คือ นายโรง(พระเอก) นางเอก และตัวเบ็ดเตล็ด(ตลก) ก็สามารถแสดงได้แล้ว นิยมแสดงในเร่ืองที่มีตัวละครน้อย
เช่น พระสุธนมโนราห์ รถเสน เป็นต้น ต่อมาเมื่อคณะชาตรีได้แพร่ข้ึนมาถึงพระนคร ทาให้ละครชาตรีและละครชาวบ้านในเมืองหลวง
คือ ละครนอก ได้เข้ามาผสมโรงกันจึงมีพัฒนาการต่างๆ เช่น ตัวละครมากขึ้น สามารถแสดงชุดตอนต่างๆได้มากข้ึน สาหรับเอกลักษณ์
ของละครชาตรีที่ยงั คงแบบแผนไว้ในปัจจุบัน ก็คือ การร้องประกาศหน้าโรง และการราซัดไหว้ครูของนายโรง นอกจากนี้เพลงร้องท่ีสาคัญ
เบกิ โรงมหรสพไทย
เบกิ โรงมหรสพไทย
โขนสด
โขนสด
โขนสด
โขนสด
ละครชำตรี
ละครชำตรี
ละครชำตรี
รำวงย้อนยคุ