ค่มู ือแนวทางการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
สาหรบั ผา้ ทอ
ใช้สำหรบั งำนอบรมเพื่อเพ่ิมศกั ยภำพของชมุ ชนในกำรผลิต
ผลิตภณั ฑผ์ ำ้ ทอไทยทรงดำ บำ้ นดอนมะนำว จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ธนั วำคม 2565
1
คำนำ การจะนาผลติ ภณั ฑผ์ า้ แบบใหมเ่ ขา้ สตู่ ลาดอยา่ ง
ประสบความสาเรจ็ โดยทาใหผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ป็นท่ี
ยอมรบั จากลกู คา้ นนั้ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ย
อกี ทงั้ ยงั ตอ้ งลงทุนในทรพั ยากรดา้ นต่าง ๆ
มากมาย เพอ่ื ชว่ ยลดความเสย่ี งและสรา้ งความ
มนั่ ใจในความสาเรจ็ ของการพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หม่
คมู่ อื น้จี ะชว่ ยใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจถงึ ความสาคญั ของ
แนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ และ
ปัจจยั ทส่ี นบั สนุนใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ในการพฒั นา
ผลติ ภณั ฑผ์ า้
1
บทท่ี 1 การพฒั นาผลิตภณั ฑ์ สำรบญั
1. การเลอื กสนิ คา้ และบรกิ าร
2. การรเิ รม่ิ ผลติ ภณั ฑใ์ หม่
3. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
บทที่ 2 เทคนิคการออกแบบผลิตภณั ฑ์
บทท่ี 3 มาตรฐานผลิตภณั ฑท์ ี่เกี่ยวขอ้ ง
23
บท ่ที 1 กำรพัฒนำผ ิลตภัณฑ์ 1.การเลอื กสนิ คา้ และบรกิ าร
ทำงเลือกกลยทุ ธ์
ผลิตภณั ฑเ์ พ่ือให้
เกิดควำมได้เปรียบ
ทำงกำรแขง่ ขนั
วงจรชีวิตและ วงจรชีวิต
กลยทุ ธ์ ผลิตภณั ฑ์
▪ ทางเลือกกลยทุ ธผ์ ลิตภณั ฑเ์ พื่อให้เกิดความได้เปรียบ
ทางการแข่งขนั
คอื การเลอื กชนดิ ของผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารทบ่ี รษิ ทั มคี วาม
ชานาญ หรอื ถนดั เป็นพเิ ศษเพอ่ื สง่ มอบใหก้ บั ลกู คา้ โดยอาจ
สรา้ งความแตกต่างจากคแู่ ขง่ ผา่ นกลยทุ ธด์ า้ นราคา การ
ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ หรอื การบรกิ ารทต่ี อบสนองไดร้ วดเรว็
▪ วงจรชีวิตและกลยทุ ธ์
ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบัติการต้องพิจารณาการพฒั นากลยุทธ์ของ
ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ควบคู่กบั ผลติ ภณั ฑเ์ ดมิ เพ่อื ใหส้ ามารถเลอื กกล
ยุทธใ์ หเ้ หมาะสมกบั ผลติ ภณั ฑโ์ ดยภาพรวมทส่ี อดคลอ้ งกนั ซ่งึ
กลยทุ ธน์ นั้ จะมคี วามแตกตา่ งกนั ในแต่ละชว่ งชวี ติ ผลติ ภณั ฑ์
3
• วงจรชีวิตและกลยทุ ธ์
ช่วงแนะนำเข้ำส่ตู ลำด ช่วงเติบโต ช่วงภำวะอ่ิมตวั ช่วงถดถอย
1 ช่วงแนะนำเข้ำส่ตู ลำด กำรตงั้ รำคำ Promotion
▪ กรณสี นิ คา้ เขา้ สตู่ ลาดใหม่ การรบั รนู้ ้อย
▪ กรณตี ลาดเลก็ การแขง่ ขนั น้อย
▪ กรณเี จาะตลาด เพอ่ื ใหเ้ กดิ การรบั รสู้ นิ คา้
▪ กรณตี ลาดเก่า
2 ช่วงเติบโตขยำยส่วนแบ่งตลำด 3 ช่วงภำวะอ่ิมตวั
▪ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ ▪ ทาการตลาดใหค้ รอบคลุมกลุ่มผบู้ รโิ ภค
▪ เพม่ิ ผลติ ภณั ฑร์ ปู แบบใหมๆ่ ยงิ่ ขน้ึ (บน-กลาง-ล่าง)
▪ หาตลาดใหม่
▪ เพม่ิ ชอ่ งทางจาหน่ายใหก้ วา้ งขน้ึ ▪ ทาการตลาดตามคุณภาพสนิ คา้ (เกรด A-
▪ เพมิ่ การโฆษณา B-C)
▪ ลดราคาสนิ คา้ จดั โปรโมชนั่
▪ ทาการตลาดผสมผสาน เชน่ เปลย่ี น
รปู แบบประชาสมั พนั ธจ์ ากทาโฆษณา
เป็นจดั อเี วน้
4 ช่วงถดถอย
▪ ตดั ลด ค่าใชจ้ า่ ย
▪ เกบ็ เกย่ี วผลประโยชน์ระยะสนั้
▪ ขายของทข่ี าดทนุ ทง้ิ ไป
▪ ลดราคาสนิ คา้ เพ่อื ใหข้ ายหมด
4
2. การรเิ รมิ่ ผลิตภณั ฑใ์ หม่
การรเิ รม่ิ ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ อาจมาจากเหตุผลของการนาสนิ คา้ ตวั ใหมเ่ พ่อื เขา้ สู่
การตลาดหรอื อาจจะเป็นการทดแทนสนิ คา้ เดมิ ทใ่ี กลห้ มดชว่ งอายผุ ลติ ภณั ฑ์ ดงั นนั้
กระบวนการรเิ รมิ่ ผลติ ภณั ฑใ์ หมจ่ งึ จาเป็นตอ้ งเป็นไปอยา่ งมรี ะบบและรอบคอบทส่ี ุด
กระบวนการตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การเลอื กผลติ ภณั ฑ์ นิยามผลติ ภณั ฑ์ และการกาหนด
รปู แบบผลติ ภณั ฑท์ ดแทนสนิ คา้ เดมิ ใหม้ คี วามตอ่ เน่ือง
กำรเลือกผลิตภณั ฑ์
คอื การรวบรวมขอ้ มลู และความคดิ จากหลายฝ่ายในองคก์ รต่อการผลติ สนิ คา้ ใหม่ เพ่อื ใชต้ ดั สนิ ใจ
ในการเลอื กผลติ ผลติ ภณั ฑ์ เช่น
▪ ฝ่ายการผลติ เกย่ี วขอ้ งกบั การปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ
▪ ฝ่ายการตลาด เกย่ี วขอ้ งกบั การสารวจความตอ้ งการของลกู คา้ ขอ้ มลู ของสนิ คา้ ท่ีมอี ยใู่ น
ตลาด
▪ ฝ่ายวจิ ยั พฒั นา เกย่ี วขอ้ งกบั การปรบั ปรงุ รปู แบบผลติ ภณั ฑท์ ต่ี อ้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั ความ
ตอ้ งการของลกู คา้ และความสามารถของการผลติ ในองคก์ รเอง
นิยามผลิตภณั ฑ์
คอื การสรา้ งความหมายหรอื คาจากดั ความใหก้ บั ผลติ ภณั ฑ์ เพ่อื ใหท้ ราบว่าผลติ ภณั ฑน์ นั้ คอื
อะไร มหี น้าทอ่ี ะไร และมปี ระโยชน์อย่างไร พรอ้ มกาหนดรายละเอยี ดของผลติ ภณั ฑเ์ พ่อื ให้
สามารถผลติ ไดต้ รงตามแบบอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
กำหนดแนวทำงสำหรบั ผลิตภณั ฑใ์ หม่
เพ่อื หารปู แบบผลติ ภณั ฑ์ รวมทงั้ ปรมิ าณทจ่ี ะผลติ และจานวนชนิดผลติ ภณั ฑ์ ซ่งึ จาเป็นตอ้ งไดร้ บั
การพจิ ารณาอย่างรอบคอบ ดว้ ยความสมบรู ณ์จากหลายมมุ มอง โดยใชเ้ ทคนคิ ทส่ี าคญั สาหรบั
การรเิ รมิ่ ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ เชน่ การระดมความคดิ เหน็ ของผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง
5
3. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ขอบข่ำยงำนสำหรบั ทีมพฒั นำ
ผลิตภณั ฑ์
▪ ปัจจยั ทต่ี อ้ งพจิ ารณา ไดแ้ ก่
▪ งบประมาณทจ่ี าเป็นสาหรบั การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ขอบข่ายงานสาหรบั ทมี ออกแบบและ
▪ ความคุม้ คา่ ของการลงทุน
▪ การเปลย่ี นแปลงของตลาดในปัจจบุ นั และอนาคต วศิ วกรรม
▪ วงจรชวี ติ ผลติ ภณั ฑ์
▪ ความสามารถขององคก์ รในการดาเนนิ งานตามกลยทุ ธ์
สร้ำงแนวคิดให้ผลิตภณั ฑ์
พิจำรณำว่ำบริษทั สำมำรถผลิตตำมแนวคิดนัน้
ได้ไหม
พิจำรณำควำมต้องกำรของลกู ค้ำเพ่ือนำมำ
สร้ำงข้อเปรยี บเทียบทำงกำรแข่งขนั
กำหนดลกั ษณะกำรทำงำนให้กบั ผลิตภณั ฑ์
กำหนดข้อกำหนดเฉพำะทำงกำรผลิตให้กบั
ผลิตภณั ฑ์
ตรวจสอบลกั ษณะของผลิตภณั ฑว์ ่ำตรงกบั
ควำมต้องกำรของลกู ค้ำไหม
ทดสอบตลำดเพื่อพิจำรณำกำรตอบสนองของ
ลกู ค้ำ
แนะนำผลิตภณั ฑส์ ู่ตลำด
ประเมินควำมสำเรจ็ ของผลิตภณั ฑ์
6
เพ่อื ใหท้ รำบ การเปลย่ี นแปลงหนา้ ท่ีดา้ น
ว่ำจะทำกำร คณุ ภาพใหเ้ ป็ นแนวทางการ
ผลติ ปฏิบตั ิ
ผลิตภณั ฑ์ (Quality function deployment)
อยำ่ งไรให้
สอดคลอ้ ง คอื การทาใหท้ ราบวา่ อะไรคอื สงิ่ ทล่ี กู คา้ ต้องการจากตวั ผลติ ภณั ฑ์ และ
กบั ควำม นาความต้องการนัน้ มาเป็นแนวทางปฏบิ ตั ิให้หน่วยงานต่างๆ ทวั่ ทงั้
ตอ้ งกำร องคก์ รเพ่อื ผลติ สนิ คา้ ใหต้ รงตามความตอ้ งการของลกู คา้ มากท่ีสุด และ
ของลกู คำ้ แปลงความหมายความต้องการเหล่านัน้ ออกมาเป็นรูปแบบความ
มำกที่สดุ ตอ้ งการในเชงิ เทคนิคและกระจายขอ้ มลู ใหห้ น่วยงานต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
กบั การผลติ และส่วนสนบั สนุนต่างๆ
78
1. การออกแบบใหผ้ ลติ ภณั ฑม์ ีความทนทาน บท ่ที 2 เทคนิคกำรออกแบบผลิตภัณฑ์
(Robust design)
9
2. การออกแบบใหเ้ ป็ นช้ินสว่ นประกอบมาตรฐาน
(Modular design)
3. การประยกุ ตค์ อมพิวเตอรช์ ่วยในการออกแบบ
(Computer-Aided Design (CAD))
4. การประยกุ ตค์ อมพิวเตอรช์ ่วยในการผลิต
(Computer-Aided Manufacturing (CAM))
5. การใชเ้ ทคโนโลยเี สมือนจรงิ
(Virtual reality technology)
6. การวิเคราะหค์ ณุ ค่า (Value analysis)
7. จรยิ ธรรมและการออกแบบผลิตภณั ฑเ์ พ่ือความ
เป็ นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
(Ethics and Environmentally friendly designs
8
บทท่ี 3 มำตรฐำนผลติ ภณั ฑท์ ่เี ก่ยี วขอ้ ง
9
มำตรฐำนสำหรบั ผลิตภณั ฑส์ ่ิงทอในประเทศไทยจดั อย่ใู นประเภทมำตรฐำนแบบสมคั รใจ มี 3 ระดบั คือ
มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (มอก.) มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม เป็น
มาตรฐานทก่ี าหนดขน้ึ สาหรบั ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี กี ารผลติ ในระดบั อุตสาหกรรม เพอ่ื ให้
ผลติ ภณั ฑม์ คี ุณภาพเหมาะสมกบั การนาไปใชง้ านและส่งเสรมิ อุตสาหกรรม อนั จะ
เป็นการสรา้ งความเชอ่ื มนั่ ใหก้ บั ผบู้ รโิ ภคในการเลอื กซอ้ื ทงั้ ในประเทศและ
ต่างประเทศ เชน่ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น: มอก.2138 ผา้ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น, มอก
2231 ผา้ : ความปลอดภยั จากสแี ละสารเคมที เ่ี ป็นอนั ตราย, มอก 2501 สงิ่ ทอ
สาหรบั สถานพยาบาล , มอก 2424 หน้ากากอนามยั ใชค้ รงั้ เดยี ว เป็นตน้
มาตรฐานอุตสาหกรรมเอส (มอก.เอส) คอื เครอ่ื งหมายรบั รองคณุ ภาพใหก้ บั สนิ คา้
หรอื บรกิ ารทผ่ี ลติ จาหน่ายหรอื บรกิ ารโดยวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม
(SMEs) มอก.เอส สาหรบั ผา้ เช่น ผา้ ปโู ต๊ะและผา้ ทใ่ี ชบ้ นโต๊ะอาหารสาหรบั โรงแรม
และทพ่ี กั สาธารณะ ผา้ ขนหนูสาหรบั โรงแรมและทพ่ี กั สาธารณะ ผา้ ห่มสาหรบั
โรงแรมและทพ่ี กั สาธารณะ ผา้ คลุมเตยี งสาหรบั โรงแรมและทพ่ี กั สาธารณะ ผา้ ปทู ่ี
นอนและปลอกหมอนสาหรบั โรงแรม และทพ่ี กั สาธารณะ เป็นตน้
มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน (มผช.) เป็นมาตรฐานทก่ี าหนดขน้ึ สาหรบั ผลติ ภณั ฑ์
ชุมชนหรอื ระดบั พน้ื บา้ น โดยมขี อ้ กาหนดทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของผลติ ภณั ฑ์ เพ่อื
เสรมิ สรา้ งใหแ้ ต่ละชมุ ชนไดใ้ ชภ้ มู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ พฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ป็น
เอกลกั ษณ์ของทอ้ งถน่ิ
สาหรบั ผลติ ภณั ฑส์ งิ่ ทอ ผา้ และเครอ่ื งแต่งกายของประเทศไทย มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมมี
คณุ ลกั ษณะทส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล มสี มบตั ดิ า้ นลกั ษณะทวั่ ไป ความแขง็ แรง ทนทาน มคี วามคงทน
ของสยี อ้ มต่อการใชง้ านทด่ี ี และมคี วามปลอดภยั จากสารเคมตี กคา้ งทอ่ี นั ตราย เชน่ ฟอรม์ าลดไี ฮดแ์ ละ
สยี อ้ มเอโซทใ่ี หแ้ อโรแมตกิ แอมนี ตอ้ งหา้ ม ส่วนมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน มคี ณุ ภาพดเี หมาะสมกบั สภาพ
ของผลติ ภณั ฑ์ และมกี ารควบคมุ สารเคมตี กคา้ งทอ่ี นั ตรายเช่นกนั
สามารถสบื คน้ ขอ้ มลู ไดท้ ่ี www.tisi.go.th
10
สรา้ งความเช่ือมนั่ ดว้ ยมาตรฐานฉลากประเภทต่างๆ
ฉลากเขยี ว หรอื Green Label Thailand ดาเนนิ การโดยสถาบนั สง่ิ แวดลอ้ มไทย เป็นฉลาก
สง่ิ แวดลอ้ มประเภทท่ี 1 ใหก้ ารรบั รองผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ผี ลกระทบน้อย ตลอดวฏั จกั รชวี ติ ของผลติ ภณั ฑบ์
โดยผลติ ภณั ฑต์ อ้ งปลอดสารอนั ตรายต่อสขุ ภาพของผใู้ ชแ้ ละไม่ก่อใหเ้ กดิ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อ
สง่ิ แวดลอ้ มตงั้ แต่การไดม้ าซง่ึ วตั ถดุ บิ การผลติ การขนสง่ การใชง้ าน การทง้ิ และจดั การซาก สาหรบั
ผลติ ภณั ฑท์ ฉ่ี ลากเขยี วใหก้ ารรบั รองครอบคลมุ ผา้ ผนื เสอ้ื ผา้ สาเรจ็ รปู และเคหะสง่ิ ทอ ซง่ึ ทาจากเสน้
ใยธรรมชาตเิ สน้ ใยประดษิ ฐห์ รอื เสน้ ใยผสม
ฉลาก CoolMode เพอ่ื รณรงคใ์ หผ้ บู้ รโิ ภคมสี ว่ นรว่ มในการลดภาวะโลกรอ้ น ลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื น
กระจก และลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ กระแสไฟฟ้า ประกอบดว้ ย คณุ ลกั ษณะดา้ นความปลอดภยั ต่อ
ผบู้ รโิ ภคและไดถ้ กู บรรจเุ ขา้ สรู่ ายการสนิ คา้ และบรกิ ารทเ่ี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มของภาครฐั หรอื การ
จดั ซอ้ื จดั จา้ งสเี ขยี ว (Green Procurement) และเป็นสว่ นหน่งึ ของเกณฑป์ ระสทิ ธภิ าพเสอ้ื เบอร์ 5 ของ
การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย
เสอ้ื ประหยดั ไฟเบอร์ 5 การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทยมนี โยบายทจ่ี ะสง่ เสรมิ และพฒั นาในเรอ่ื ง
ของเสอ้ื ทจ่ี ะประหยดั พลงั งานโดยเสอ้ื ประหยดั ไฟเบอร์ 5นนั้ ขอ้ กาหนดไดพ้ ฒั นาจากผา้ CoolMode
เพมิ่ อกี 2 ประการ คอื 1. ความเรยี บของเน้อื ผา้ และ 2. ความเรยี บของตะเขบ็
เครอ่ื งหมายคณุ ภาพสง่ิ ทอไทย (Smart Fabric) เครอ่ื งหมายคณุ ภาพสง่ิ ทอไทย คอื ฉลากคณุ ภาพสงิ่
ทอ ฉลากคณุ ภาพสงิ่ ทอทม่ี สี มบตั พิ เิ ศษ และ ฉลากคณุ ภาพสงิ่ ทอทเ่ี ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม
มาตรฐานผลติ ภณั ฑส์ ง่ิ ทอดา้ นความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (S-Mark) สมาคมสง่ เสรมิ ความ
ปลอดภยั และอนามยั ในการทางาน (ประเทศไทย) รว่ มกบั สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ และ
สหพนั ธอ์ ตุ สาหกรรมสงิ่ ทอแหง่ ประเทศไทย รบั รองคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑส์ ง่ิ ทอดา้ นความปลอดภยั ท่ี
จดั จาหน่ายภายในประเทศ เป็นเครอ่ื งหมายรบั รองอปุ กรณ์คมุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคลสาหรบั
ผลติ ภณั ฑส์ งิ่ ทอ
Thailand Textiles Tag โดยกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ร่วมกบั สถาบนั พฒั นาอตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ
เพอ่ื สรา้ งมาตรฐานและสรา้ งความเชอ่ื มนั่ ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการ ยกระดบั ใหผ้ ลติ ภณั ฑ์มคี ณุ ภาพตาม
มาตรฐานอตุ สาหกรรม เปิดตลาดการคา้ ทงั้ ในและตา่ งประเทศ เพม่ิ โอกาสใหผ้ ปู้ ระกอบการได้มี
ช่องทางตลาดทห่ี ลากหลายมากยง่ิ ขน้ึ และเป็นแนวทางทส่ี ามารถพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื เข้าสกู่ าร
แขง่ ขนั ในยคุ ปัจจุบนั ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื
Recycled Textiles Mark สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรมสง่ิ ทอไดเ้ หน็ ถงึ ความสาคญั ในการแกไ้ ขปัญหา
ขยะทเ่ี กดิ ขน้ึ ในปัจจบุ นั และตอ้ งการสง่ เสรมิ แนวคดิ Circular Economy จงึ ไดส้ รา้ งมาตรฐานฉลาก
“สงิ่ ทอรไี ซเคลิ ” โดยมขี อ้ กาหนด 3 เรอ่ื งดงั น้ี 1) ตอ้ งมอี งคป์ ระกอบของวสั ดรุ ไี ซเคลิ ไม่น้อยกวา่
15%2)ตอ้ งไม่มสี ารอนั ตรายปนเป้ือนมากกวา่ ปรมิ าณทก่ี าหนด 3) ผผู้ ลติ ตอ้ งใหค้ วามสาคญั ในเรอ่ื ง
ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม เพอ่ื เป็นทางเลอื กใหก้ บั ผบู้ รโิ ภคทต่ี ระหนกั ในเรอ่ื งการรกั ษา
สง่ิ แวดลอ้ ม
สอบถามและสบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี https://testing.thaitextile.org/ หรอื ตดิ ต่อหน่วยบรกิ ารลกู คา้ ศนู ยว์ เิ คราะหท์ ดสอบสงิ่ ทอ
สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ 02-713-5492-9 ต่อ 512-514, 712
11
สญั ลกั ษณ์ “ตรานกยงู พระราชทาน”
กรมหมอ่ นไหมเรง่ สง่ เสรมิ การผลติ ผา้ ไหมไทยใหม้ ี 3) นกยงู สนี ้าเงนิ (Thai Silk) เป็นผา้ ไหมชนิดทผ่ี ลติ
คณุ ภาพตามมาตรฐาน เพ่อื ยกระดบั ผา้ ไหมไทยให้ ด้วยภูมปิ ัญญาของไทยแบบประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี
ได้รบั การยอมรบั ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ การผลติ เข้ากับสมยั นิยมและเชงิ ธุรกิจ ใช้เส้นไหม
ต า ม พ ร ะ ร า ช ด า ริส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า สิ ริกิ ติ ์ แทไ้ มก่ าหนดชนิดพนั ธไุ์ หม
พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง
ซ่งึ พระองค์ได้ทรงพระราชทานสญั ลกั ษณ์ “ตรา 4) นกยูงสเี ขยี ว (Thai Silk Blend) เป็นผา้ ไหมท่ี
นกยูงพระราชทาน” ให้เป็นเคร่อื งหมายรบั รอง ผลติ ดว้ ยกระบวนการผลติ และเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ท่ี
มาตรฐานผา้ ไหมไทย จานวน 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ ผสมผสานกับภูมปิ ัญญาไทยในด้านลวดลายและ
สสี นั ระหวา่ งเสน้ ใยไหมแทเ้ ป็นหลกั กบั เสน้ ใยอ่นื ๆ
1) นกยงู สที อง (Royal Thai Silk) เป็นผา้ ไหม
ท่ผี ลิตโดยใช้เส้นไหมและวตั ถุดบิ ตลอดจน
กระบวนการผลิตท่ีเป็ นการอนุ รักษ์ภูมิ
ปัญญาพ้นื บ้านดงั้ เดมิ ของไทยอย่างแท้จรงิ
ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพ้ืนบ้าน สาวด้วยมือ
ผ่านพวงสาวลงภาชนะ ทอดว้ ยก่ที อมอื แบบ
พน้ื บา้ นชนดิ พ่งุ กระสวยดว้ ยมอื
2) นกยงู สเี งนิ (Classic Thai Silk) เป็นผา้ ไหม
ท่ีผลิตข้ึนโดยยังคงอ นุ รักษ์ภูมิปั ญญา
พ้ื น บ้ า น ผ ส ม ผ ส า น กั บ ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้
เ ค ร่ือ ง มือ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิต ใ น บ า ง
ขนั้ ตอน ใช้เส้นไหมพนั ธุ์ไทยพ้ืนบ้านหรอื
พนั ธุไ์ ทยปรบั ปรุง สาวดว้ ยมอื หรอื สาวดว้ ย
อุปกรณ์ท่ีใช้มอเตอร์ไม่เกิน 5 แรงม้า ทอ
ด้วยก่ีทอมอื ชนิดพุ่งกระสวยด้วยมอื หรอื ก่ี
กระตุก
12
กรมหมอ่ นไหมไดข้ บั เคลอ่ื นการรบั รองมาตรฐานผา้ ไหมไทย “ตรานกยงู พระราชทาน” ทงั้ 4
ชนิดในทกุ มติ ิ ทงั้ ทางดา้ นสง่ เสรมิ การผลติ ใหผ้ า่ นมาตรฐานโดยการอบรมใหค้ วามรหู้ ลกั สตู ร
ตา่ ง ๆ แกผ่ ทู้ อผา้ ไหม และการใหบ้ รกิ ารรบั รองมาตรฐานโดยไดก้ าหนดขนั้ ตอนการ
ปฏบิ ตั งิ านการตรวจสอบรบั รองมาตรฐานผา้ ไหม “ตรานกยงู พระราชทาน” ไว้ 5 ขนั้ ตอน
สาหรบั ผา้ ไหมทผ่ี า่ นการรบั รอง จะตดิ ดวงตรานกยงู พระราชทานบนผนื ผา้ ทุกระยะ 1 เมตร
สว่ นผา้ ไหมทข่ี ายเป็นชน้ิ หรอื เป็นผนื เชน่ ผา้ พนั คอ ผา้ คลุมไหล่ ผา้ ถุง จะตดิ ดวงตรานกยงู
พระราชทานบนป้ายกระดาษสาหรบั รบั รองรว่ มกบั ตดิ ป้ายผา้ ตรานกยงู พระราชทานบนผา้
ไหมดว้ ย
ตรวจสถำนท่ีผลิต
(รวมการตรวจสอบวสั ดแุ ละอปุ กรณ์การผลติ )
ตรวจวตั ถดุ ิบ
(พนั ธไุ์ หม เสน้ ไหม และเสน้ ใยอน่ื )
ตรวจกระบวนกำรผลิต
(การสาวไหม การฟอกยอ้ มสี และการทอผา้ )
ตรวจคณุ ภำพผำ้ ไหมทกุ ชิ้นและทกุ เมตร
(ทดสอบการตกสี ความสม่าเสมอของสี ลวดลายและเน้ือผา้ )
ให้กำรรบั รองโดยกำรติดดวงตรำนกยงู พระรำชทำน
พรอ้ ม 2D Barcode เพอ่ื การตรวจสอบยอ้ นกลบั
ทม่ี า : https://www.qsds.go.th
13
กจิ กรรมน้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของโครงการสบื สานภมู ปิ ัญญาผา้ ทอไทยทรงดา
บา้ นดอนมะนาว จงั หวดั สุพรรณบุรี
โดยนกั ศกึ ษากล่มุ ท่ี 3
หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รธรรมาภบิ าลของผบู้ รหิ ารระดบั กลาง รนุ่ ท่ี 24
สถาบนั พระปกเกลา้
14