The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supaphonmim2544, 2020-02-25 01:58:29

111

111

ระบบเศรษฐกจิ ใน
โลกปจจบุ นั

คํานาํ

อธิบายใหเห็นภาพรวมของระบบเศรษฐกิจโลกเพ่ือ
เปนพื้นฐานในการทําความเขาใจบทบาทของ
เศรษฐกิจไทยในดานตางๆประเทศไทยเปนเพียง
ประเทศหน่ึงในโลก ซ่ึงหากใชขอมูลจาํ นวนประเทศ
สมาชิกองคการสหประชาชาติเปนหลักในการนับ
จาํ นวนของประเทศทั้งหมดมีอยานอย193ประเทศ
อยูในโลกนี้ประเทศไทยก็เปนเชนเดียวกับประเท
ศอื่นๆท่ีระบบเศรษฐกิจตองเกี่ยวโยงสัมพันธ
กับเศรษฐกิจของประเทศตางๆท่ัวโลกจุดมุงหมาย
หลักของหนวยน้ีก็คือการวาดภาพใหผูท่ียืนอยูท่ีใด
ที่หน่ึงในจักรวาลแลวมองมาท่ีโลกเห็นวาระบบ
เศรษฐกิจโลกทาํ งานอยางไรการนําเศรษฐกิจของ
ประเทศใดประเทศหน่ึงเขาเชื่อมตอหรือเขารวมใน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของโลกจะทาํ ไดอยางไร

บทที1ระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปจจบุ นั
ผลดแี ละผลเสยี ของระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ ง ๆ

ความหมายของระบบเศรษฐกิจ(economic
system) หมายถงึ กลุ่มบคุ คลของสังคมทีรวมตวั กนั เปนก

ล่มุ ของสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ต่างๆ ซงึ ยดึ ถอื แนวปฏิบัติ
แนวทางเดยี วกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ
โดยมวี ตั ถุประสงคร์ ่วมกัน คอื อํานวยความสะดวกในการที
จะแก้ไขปญหาพืนฐานทางเศรษฐกจิ เพอื ใหส้ ามารถบาํ บัด
ความตอ้ งการใหแ้ ก่บุคคลต่างๆทอี ยรู่ ว่ มกันในสงั คมนันให้
ได้รับประโยชน์มากทีสดุ เกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ รูปแบบ
ของระบบเศรษฐกิจ     ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศต่างๆใน

โลกจะมคี วามแตกต่างกัน ทังนี ขึนอยู่กับรูปแบบการ
ปกครอง ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจน

แนวคิดในการบรหิ ารเศรษฐกจิ ของผู้บรหิ ารในแต่ละ
ประเทศ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งๆทัวโลกสามารถ
แบ่งออกเปน 4 ระบบใหญ่ๆดังนีระบบเศรษฐกิจแบเสรีนิยม

หรอื ทนุ นยิ ม (Laissez-Faire or Capitalism)ระบบ
เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมหรือทุนนยิ มเปนระบบเศรษฐกิจทีให้

เสรีภาพแก่ภาคเอกชนใน การเลอื กดาํ เนินกจิ กรรมทาง
เศรษฐกิจ เอกชนมกี รรมสิทธิในทรพั ยส์ ิน

สารบัญ

สารบัญ 1
2
คํานํา
3
ระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปจจุบนั 4
ผลดแี ละผลเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ ง ๆ 5
6
ตลาดและประเภทของตลาดขอ้ ดแี ละข้อเสียของตลาดประเภทต่าง ๆ

การกาํ หนดราคาตามอุปสงคแ์ ละอปุ ทาน
การกาํ หนดราคาในเชิงกลยทุ ธ์ทีมใี นสงั คมไทย

การกาํ หนดค่าจ้างกฎหมายทีเกียว
ข้องและอัตราค่าจ้างแรงงานในสังคมไทย

บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา
และการควบคมุ ราคาเพอื การแจกจ่ายและจดั สรรในทางเศรษฐกิจ

ข้อดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม
เอกชนมีเสรภี าพในการเลือกตัดสนิ ใจดําเนนิ กจิ กรรม

ทางเศรษฐกจิ ตามทตี นถนดั กาํ ไรและการมีระบบ
กรรมสิทธิในทรัพย์สนิ เปนแรงจูงใจทําให้การทาํ งาน
เปนไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ กลา่ วคอื เอกชนจะทาํ งาน
อย่างเต็มที เนอื งจากผลิตไดม้ ากน้อยเทา่ ไรก็จะไดร้ บั

ผล ตอบแทนหรือรายได้ไปเทา่ นัน ภายใตร้ ะบบ
เศรษฐกิจระบบนจี ะมกี ารคดิ คน้ สงิ ประดิษฐ์หรือเทคนคิ

ใหมๆ่ อย่เู สมอทําใหเ้ กดิ การพัฒนาอย่ตู ลอดเวลา

ข้อเสยี ของระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม
1.กอ่ ใหเ้ กดิ ปญหาความเหลือมลําอันเนอื งจากความ
สามารถทีแตกตา่ งกนั ในแต่ละบุคคลโดยพืนฐานทาํ ให้
ความสามารถในการหารายได้ไมเ่ ทา่ กันผ้ทู ีมคี วามสามารถ
สูงกว่าจะเปนผู้ไดเ้ ปรียบผทู้ อี อ่ นแอกวา่ ในทางเศรษฐกิจ
2.ในหลายๆกรณี ราคาหรอื กลไกตลาดยงั ไม่ใชเ่ ครืองมอื ที
มปี ระสิทธิภาพเพยี งพอสําหรับการจัดสรรทรพั ยากรของ
ระบบเศรษฐกิจ ตัวอย่างเชน่ สนิ ค้าและบริการทมี ลี ักษณะ
ของการผูกขาดโดยธรรมชาติหรือสนิ คา้ และบรกิ าร

สาธารณะ ซงึ ได้แก่ บริการดา้ นสาธารณูปโภค
3.การใชร้ ะบบการแข่งขันหรือกลไกราคาอาจทาํ ใหเ้ กิดการ
ใชท้ รัพยากรทางเศรษฐกิจอยา่ ง สินเปลอื ง เชน่ ในบางช่วง
ทีมกี ารแขง่ ขนั กนั สร้างศนู ยก์ ารค้าเพราะคดิ ว่าเปนกิจการ
ทใี ห้ผลตอบแทนหรอื กาํ ไรดี ศูนย์การคา้ เหล่านเี มือสร้างขึน

มามากเกนิ ไปก็อาจไมม่ ีผ้ซู ือมากพอ

ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนสิ ต์ (Communism)

ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนสิ ต์เปนระบบเศรษฐกจิ ทีมี
ลักษณะตรงกันขา้ มกบั ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ยิ ม
หรอื ทุนนยิ ม ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นสิ ต์
รัฐบาลเปนเจ้าของทรัพยากรตา่ งๆ รวมทงั ปจจัยการ

ผลิตทกุ ชนดิ เอกชนไมม่ ีกรรมสทิ ธิ ตลอดจนเสรีภาพที
จะเลอื กใช้ ปจจยั การผลติ ได้ รัฐบาลเปนผปู้ ระกอบการ

และทําหนา้ ทจี ดั สรรทรัพยากรตา่ งๆ

ข้อดขี องระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นสิ ต์     
จดุ เดน่ ของระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมิวนิสต์ก็คือ เปน

ระบบเศรษฐกจิ ทชี ่วยลดปญหาความเหลอื มลําทาง
ฐานะและรายไดข้ องบคุ คลในสังคม ภายใตร้ ะบบ

เศรษฐกจิ นีเอกชนจะทาํ การผลติ และ บริโภคตามคําสัง
ของรัฐ ผลผลติ ทีผลติ ขนึ มาจะถกู นาํ ส่งเขา้ สว่ นกลาง

ขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์
1.ประชาชนไม่มีเสรีภาพทจี ะผลติ หรอื บรโิ ภคอะไรได้

ตามใจ ถูกบงั คับหรอื สงั การจากรัฐ 
2.สนิ คา้ มคี ุณภาพไมด่ ีเท่าทคี วร เนืองจากผผู้ ลติ ขาด
แรงจูงใจ เพราะไม่ว่าจะผลิตสนิ ค้าได้ มากน้อยเพียงใด
คุณภาพเปนอยา่ งไร ผูบ้ ริโภคกไ็ มม่ ีทางเลือกจะต้อง

บรโิ ภคตามการปนส่วนทรี ฐั จัดให้ 
3.การใชท้ รพั ยากรทางเศรษฐกจิ อาจเปนไปอย่างไม่มี
ประสทิ ธิภาพ เนอื งจากรฐั บาลไมส่ ามารถทจี ะมีข่าวสาร

สมบรู ณ์ในทุกๆเรือง

ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม (Socialism)

ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ มเปนระบบเศรษฐกิจทีมลี ักษณะ
ใกลเ้ คียงกับระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์ ภายใตร้ ะบบ

เศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มรัฐจะเปนผู้ครอบครองทรพั ยากรการ
ผลิตพนื ฐาน ไว้เกอื บทังหมด และเปนผ้วู างแผนเศรษฐกิจ

กาํ หนดแนวทางการแก้ไขปญหาพนื ฐาน กจิ การหลกั ทีมี ความ
สาํ คัญตอ่ เศรษฐกจิ ส่วนรวมของประเทศ

ขอ้ ดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม   
ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มเปนระบบเศรษฐกจิ ทีมสี ่วนชว่ ย

ลดปญหาความเหลอื มลาํ ทาง ฐานะและรายไดข้ องบคุ คลเช่น
เดยี วกับระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์ นอกจากนนั ภายใต้
ระบบเศรษฐกจิ นีเอกชนมเี สรภี าพและมีกรรมสิทธิในการถือ

ครองทรัพย์สนิ บ้างพอสมควร

ขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม
ภายใต้ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม เนอื งจากปจจยั การผลติ
พืนฐานอยู่ในการควบคมุ ของ รฐั บาลทาํ ให้ขาดความคลอ่ งตวั
การผลติ ถกู จํากัดเพราะตอ้ งผลิตตามทีรฐั กาํ หนด โอกาสทีจะ

ขยายการผลิตหรอื พัฒนาคุณภาพการผลติ เปนไปคอ่ นขา้ ง
ลําบาก ทําใหก้ ารใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเปนไปอย่าง

ไมม่ ีประสิทธิภาพ ในลักษณะเดยี วกบั ระบบเศรษฐกจิ แบบ
คอมมิวนสิ ต์

ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม (Mixed Economy)

ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมเปนระบบเศรษฐกิจทมี ลี ักษณะผสม
ผสานระหว่างระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม กับระบบเศรษฐกจิ
แบบสงั คมนิยม กล่าวคอื ภายใต้ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมทัง
รฐั บาลและเอกชนตา่ งมสี ว่ นร่วมในการแกไ้ ขปญหาพนื ฐานทาง
เศรษฐกิจ ปจจัยการผลิตมีทังสว่ นทเี ปนของรัฐบาลและเอกชน

ในส่วนทเี ปนแบบทุนนยิ ม

ข้อดขี องระบบเศรษฐกิจแบบผสม

เปนระบบเศรษฐกจิ ทคี ่อนข้างมีความคลอ่ งตวั กล่าวคอื มีการ
ใช้กลไกรฐั ร่วมกับกลไกราคาในการจดั สรรทรัพยากรของระบบ
กจิ การใดทกี ลไกราคาสามารถทาํ หนา้ ทีได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

รฐั ก็จะปลอ่ ยใหเ้ อกชนเปนผดู้ ําเนนิ การ

ขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม

1.การมีกําไรและระบบกรรมสิทธิในทรพั ยส์ ินอาจก่อให้เกิด
ปญหาความเหลือมลาํ ทางฐานะ และรายไดเ้ ชน่ เดียวกบั ระบบ

เศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม
 2.การทีรฐั สามารถเขา้ มาแทรกแซงตลาดโดยใช้กลไกรฐั อาจ
ก่อใหเ้ กดิ ปญหาการฉ้อราษฎรบ์ ังหลวง ทําให้เกดิ การบดิ เบือน

การใช้ทรพั ยากรของระบบ เศรษฐกิจเปนไปอยา่ งไมม่ ี
ประสทิ ธิภาพเทา่ ทีควร

3.ปญหาเอกชนไม่กล้าลงทนุ อย่างเตม็ ทเี นืองจากไมแ่ นใ่ จใน
สถานการณท์ างการเมือง และนโยบายของรฐั บาลซงึ มีความ
ผนั ผวนและแปรเปลยี นได้งา่ ย อาจทําใหเ้ ศรษฐกิจเกดิ การหยุด
ชะงัก การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ เปนไปอย่างไมต่ ่อเนือง

ตลาดในระบบเศรษฐกิจนับว่ามคี วาม
สําคญั เปนอย่างมาก เนอื งจากตลาดทํา

หน้าทีเชือมโยงระหว่างผู้ผลติ กบั ผู้
บรโิ ภค ซงึ จะช่วยทําให้สินคา้ จากแหลง่

ผลิตไปสู่ผบู้ ริโภค และยงั ชว่ ยให้ผู้
บรโิ ภคมีสนิ คา้ และบรกิ ารมาบาํ บัดความ

ตอ้ งการได้อยา่ งทัวถงึ ซึงในบทนี จะ
ศึกษาและทาํ ความเขา้ ใจเกียวกบั ตลาด

ในทางเศรษฐศาสตร์

ตลาดทีมกี ารแขง่ ขนั สมบรู ณ์
(competitive market)

มกี ารซอื ขายเปนสว่ นน้อยเมอื เปรียบเทยี บกบั
จํานวนผู้ซือและผูข้ ายทังหมดในตลาด การซอื ขาย
สนิ ค้าของผู้ซอื หรอื ผ้ขู ายแต่ละรายไมม่ อี ิทธพิ ลตอ่

การกําหนดราคาในตลาดสนิ คา้ ทซี ือหรือขายจะ
ตอ้ งมลี ักษณะเหมอื นกัน (homogeneity)

สามารถทีจะใช้แทนกนั ไดอ้ ย่างสมบูรณใ์ นทรรศนะ
หรือสายตาของผ้ซู อื ไม่วา่ จะซอื สนิ คา้ ประเภท

เดียวกนั ผซู้ อื และผูข้ ายจะตอ้ งมคี วามรอบรูใ้ นภาวะ
ของตลาดอย่างสมบูรณ์ คือ มีความรภู้ าวะของ
อุปสงค์ อปุ ทาน และราคาสินค้าในตลาด สินคา้
ชนิดใดมีอุปสงคเ์ ปนอยา่ งไรการตดิ ต่อซือขายจะ
ต้องกระทําได้โดยสะดวก หมายความว่าทงั ผ้ซู ือ

และผูข้ ายสามารถทาํ การติดต่อค้าขายกนั ได้อยา่ ง
สะดวกและรวดเรว็ รวมถึงการเคลือนยา้ ยปจจัย
การผลติ จะตอ้ งเปนไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว
ดว้ ยหนว่ ยธุรกิจสามารถเข้าหรือออกจากธุรกิจ
การคา้ โดยเสรี ตลาดประเภทนจี ะตอ้ งไม่มขี ้อจํากัด
หรอื ข้อกีดขวางในการเข้ามาประกอบธรุ กจิ ของนกั
ธรุ กิจรายใหม่ หมายความวา่ หน่วยการผลติ ใหม่ๆ
จะเขา้ มาประกอบกจิ การแข่งขันกับหนว่ ยธรุ กจิ ทีมี
อยู่ก่อนเมอื ใดก็ได้ หรือในทางตรงกนั ข้ามจะเลิก

กจิ การเมอื ใดกไ็ ด้

ตลาดแข่งขนั ไม่สมบูรณ์ (non-
perfect competition market)

-ตลาดกงึ แข่งขันกึงผกู ขาด (monopolistic
competition) ตลาดประเภทนมี ีลักษณะทีสาํ คญั
คอื มีผู้ซอื และผ้ขู ายเปนจาํ นวนมาก และทงั ผ้ซู ือ
และผ้ขู ายต่างมอี ิสระเต็มทีในการทีจะวางนโยบาย

การขาย
-ตลาดทมี ผี ขู้ ายนอ้ ยราย (oligopoly) ตลาด
ประเภทนีจะมผี ้ขู ายเพยี งไม่กรี าย และผูข้ ายแต่ละ
รายจะขายสินค้าเปนจาํ นวนมาก เมือเทียบกับ

ปริมาณสนิ คา้ ทังหมดใน
-ตลาดตลาดผกู ขาด (monopoly) คอื ตลาดทีมผี ู้
ขายอย่เู พยี งคนเดยี ว ทาํ ใหผ้ ้ขู ายมอี ิทธพิ ลเหนอื
ราคาและปรมิ าณสนิ คา้ อยา่ งสมบรู ณใ์ นการทจี ะ
เพมิ หรือลดราคาและควบคุมจํานวนขายทังหมด
(total supply) ไดต้ ามตอ้ งการ ส่วนมากจะเปน
ธุรกจิ ขนาดใหญใ่ ชเ้ งินลงทนุ มาก มเี ทคโนโลยที ี
ทนั สมยั ทําให้ธุรกจิ ขนาดเลก็ รายอืนๆไม่สามารถ
เข้ามาแข่งขนั ได้ ตลาดประเภทนี ไดแ้ ก่ บรษิ ทั ผลติ

เครอื งบิน เครืองจกั รกล หรือกจิ การ
สาธารณปู โภค เชน่ การเดนิ รถประจําทาง โรงงาน

ยาสบู ไฟฟา นาํ ประปา โทรศพั ท์ เปนต้น

บรรณานกุ รม

นางสาว ณฐั ชา ศรลมั พ์/นางสาวปนัดดา กสิพร้อง
/ปทพี ิม2563/ระบบเศรษฐกิจในโลกปจจุบัน/พิมพคื รงั ท1ี /โรงเรยี น

สวา่ งอารมณว์ ทิ ยาคม/โรงเรียนสว่างอารมณว์ ิทยาคม


Click to View FlipBook Version