The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารข่าว สผ.หมวดกองทุนสิ่งแวดล้อม ปีที่ 20 ฉบับที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองทุนสิ่งแวดล้อม, 2022-01-12 01:35:10

วารสารข่าว สผ.หมวดกองทุนสิ่งแวดล้อม ปีที่ 20 ฉบับที่ 2

วารสารข่าว สผ.หมวดกองทุนสิ่งแวดล้อม ปีที่ 20 ฉบับที่ 2

ีป ่ีท 20 ฉ ับบ ่ีท 2 ประจำ� ปงี บประมาณ 2564 วารสารข่าว สผ. หมวด
Environment Fund Newsletter
กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ มISBN1685-7569
บทบรรณาธิการ

ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์มาก เราเคย

มีป่าไม้กว้างใหญ่ไพศาลเป็นพ้ืนท่ีมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ มีสัตว์ป่านานาชนิด
มแี ร่ธาตุ ทงั้ บนบกและในทะเล มแี มน่ ้�ำ ลำ� คลอง ทใ่ี สสะอาดจน กุ้ง ปลา หอย และเต่า
อาศัยอยู่ได้อย่างสบาย แต่แล้วต่อมามีการเร่งรัดพัฒนาประเทศในหลาย ๆ ด้าน
โดยเฉพาะทางดา้ นอตุ สาหกรรมทำ� ใหท้ รพั ยากรทม่ี อี ยลู่ ดนอ้ ยถอยลงอยา่ งรวดเรว็ ทำ� ให้
ป่าไมถ้ กู ท�ำลายไปจนเหลือไม่ถงึ หนงึ่ ในส่ีของพ้ืนที่ปา่ ไมท้ งั้ หมดท่มี ีอยเู่ ดมิ ต้นนำ�้ ล�ำธาร
ก็ถูกท�ำลายลงมากจนเกิดปัญหาภัยแล้ง สัตว์ป่าถูกล่าจนบางชนิด เช่น สมัน สูญพันธุ์
หมดไปจากโลก แรธ่ าตถุ กู ขดุ ขนึ้ มาใชจ้ นบางแหง่ หมดไปจากพนื้ ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ เหมอื งรา้ งขน้ึ
ส่งผลให้ปัจจุบนั เราก�ำลงั เผชญิ อยู่กบั ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย โดยเฉพาะปัญหา
ไฟป่าและหมอกควัน PM2.5 ภาวะโลกรวน และปัญหาการขาดแคลนน้�ำ เป็นต้น
ซ่ึงเป็นปัญหาท่ีได้รับการยอมรับในวงกว้างทั่วโลกว่าคือภัยคุกคามในศตวรรษใหม่
จงึ ทำ� ใหก้ ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มเปลยี่ นจากการควบคมุ มลพษิ มาเนน้ ทก่ี ารปอ้ งกนั มลพษิ
นอกจากน้ีแนวคิดการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development) ได้ถูก
น�ำมาบูรณาการกับการจัดการส่ิงแวดล้อมในประเทศไทย ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 และแผนจดั การคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม
พ.ศ. 2560 - 2565 ดว้ ยเหตนุ กี้ ารศกึ ษาเครอ่ื งมอื กลไก และแนวคดิ การจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม
อย่างยั่งยืน จึงเป็นอีกทางเลือกในการป้องกันและแก้ปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เกิดข้ึน อาทิ
การออกกฎหมาย การวางแผนพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ ม การกำ� หนดมาตรฐานคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม
การสนับสนุนแหล่งเงินทุน การศึกษาและจัดท�ำรายงานผลกระทบส่ิงแวดล้อม อันเกิด
จากโครงการพัฒนาทั้งของภาครัฐบาลและภาคเอกชน ตลอดจนการประชาสัมพันธ์และการให้การศึกษาเก่ียวกับความส�ำคัญ
ของทรพั ยากรธรรมชาตสิ ง่ิ แวดล้อมแกช่ ุมชนท้องถ่ิน เปน็ ต้น วารสารข่าวฉบบั นจี้ งึ มุง่ หวงั ทจ่ี ะให้ขอ้ มลู ของกระบวนทศั น์ในการจดั การ
ส่ิงแวดล้อมและน�ำเสนอเคร่ืองมือ กลไก และแนวคิดในการจัดการส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นทางเลือกในการจัดการส่ิงแวดล้อม
และบรรเทาปญั หาสิง่ แวดลอ้ มที่เกิดขน้ึ ตอ่ ไป
วารสารข่าว สผ. หมวดกองทุนสิ่งแวดล้อม ปีที่ 20 ฉบับท่ี 2 นี้ กองบรรณาธิการจึงขอน�ำเสนอกลไกทางการเงินท่ีสร้าง
แรงจงู ใจและสนบั สนนุ ให้ทกุ ภาคส่วนมีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมให้เกิดความยั่งยนื ในคอลัมน์
เร่ืองเด่นกองทุนส่ิงแวดล้อม เร่ือง การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมแนวทางใหม่ ใส่ใจเข้าถึงภาคประชาชน
“แนวทางการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อมให้แก่เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน
(ทสม.)” และนอกจากนี้ยังมีสาระความรู้ที่อัดแน่นไปด้วยข้อมูลทางด้านเศรษฐศาสตร์และตัวอย่างวิธีการค�ำนวณ ซึ่งสามารถน�ำไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ในคอลมั นเ์ กบ็ มาฝาก เรอ่ื ง “วธิ กี ารคำ� นวณระยะเวลาคนื ทนุ (The Payback
Period Method)” และปิดท้ายฉบับด้วย คอลัมน์ภาพกิจกรรมขา่ วกองทุนสิง่ แวดลอ้ ม 

คณะผู้จดั ท�ำ สารบัญ

ท่ีปรกึ ษา ดร.รววี รรณ ภรู เิ ดช ดร.พริ ณุ สัยยะสิทธพ์ิ านชิ บทบรรณาธิการ 1
คอลัมน์ เร่อื งเด่นกองทุนส่ิงแวดล้อม 2
ประเสรฐิ ศริ นิ ภาพร มนต์สังข์ ภ่ศู ริ วิ ฒั น์ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ
บรรณาธกิ าร อรวรรณ ดนยั บุตร
กองบรรณาธกิ าร โฆสติ ชโู ต วรรณนภิ า บญุ มา สรุ างคนางค์ ทมุ รตั น์ และสิ่งแวดลอ้ มแนวทางใหมใ่ ส่ใจเข้าถึง
ภาคประชาชน “แนวทางการสนับสนุนเงนิ
กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ มใหแ้ ก่เครอื ขา่ ย
จดั ท�ำโดย กองบรหิ ารกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม อาสาสมคั รพทิ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
ส�ำนกั งานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม และสิ่งแวดลอ้ มหมูบ่ า้ น (ทสม.)”
คอลัมน์ เก็บมาฝาก 4
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม วธิ กี ารค�ำนวณระยะเวลาคืนทนุ
(The Payback Period Method)
ออกแบบ บรษิ ทั เอส.บ.ี เค.การพมิ พ์ จำ� กัด คอลัมน์ ภาพกิจกรรมข่าว 7
และพิมพ์ท่ี
กองทนุ สิ่งแวดล้อม

 เร่อื งเด่นกองทนุ ส่ิงแวดล้อม นางสาวณัฐนันท์ ทะแดง
นักวชิ าการสิ่งแวดลอ้ มปฏิบัติการ
การบริหารจดั การ ส�ำนักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
และส่ิงแวดล้อม
แนวทางใหม่ ใส่ใจเข้าถึง ที่เป็นปัญหาส�ำคัญและต้องได้รับ
ภาคประชาชน การแก้ไขอย่างเร่งด่วน และเป็น
นโยบายระดับชาติ เช่น การจัดการ
“แนวทางการสนบั สนนุ เงนิ กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ปัญหาหมอกควันซึ่งส่งผลกระทบต่อ
ใหแ้ กเ่ ครอื ขา่ ยอาสาสมคั รพิทกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ สุขภาพประชาชนที่เกิดขึ้นทุกปี ปัญหา
และสิ่งแวดลอ้ มหมบู่ า้ น (ทสม.)” การขาดแคลนน�้ำเพ่ือใช้ในการเกษตร
ของพื้นที่ห่างไกลนอกเขตชลประทาน
ก องทุนสิ่งแวดล้อมให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ ดังน้ัน กองทุนส่ิงแวดล้อมจึงขอเป็น
ส่วนหน่ึงในการแก้ไขปัญหา โดยการ
ส่ิงแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน จึงเล็งเห็นความส�ำคัญโดยการ ร่วมสนับสนุนเงินกองทุนส่ิงแวดล้อมให้
พยายามผลักดันให้เกิดกลไกและเคร่ืองมือในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมที่สามารถเปิดโอกาสให้อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ และสง่ิ แวดลอ้ มหมบู่ า้ น (ทสม.) เพอ่ื ชว่ ย
สิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) ซึ่งมีเครือข่ายอยู่ทุกจังหวัดทั่วประเทศ สามารถเข้ามา ลดปัญหาหมอกควันและไฟป่า และ
มสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยผลกั ดนั และดำ� เนนิ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ส่งเสริมโครงการโคก หนอง นา โมเดล
ในท้องถิ่น ให้เกิดความมั่นคงและย่ังยืน อีกท้ังเพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายรัฐบาล เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�้ำ
และผู้บริหารกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท่ีมุ่งเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อม เพ่ือใช้ในการเกษตร เป็นการเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
เชงิ พน้ื ที่

ประเด็นส�ำคัญ การจดั การไฟปา่ และ โครงการส่งเสรมิ
กรอบวงเงนิ ลดหมอกควนั โคก หนอง นา โมเดล
และการท�ำเกษตรกรรมยง่ั ยนื
ระยะเวลา 500,000บาท
500,000บาท
1 6ปี เดือน
2 ปี

เปดิ รบั ขอ้ เสนอ เดือนมกราคม 2564 6 เดือน

พ้ืนที่ จงั หวดั ภาคเหนือ ทั่วประเทศ
กล่มุ เปา้ หมาย
เครอื ขา่ ย ทสม. ในเบ้ืองต้น เครอื ข่าย ทสม. ในเบ้ืองต้น
ประมาณ 50 พ้ืนท่ี ประมาณ 114 พ้ืนที่

2 วารสารข่าว สผ. หมวด

กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

ขนั้ ตอนการพิจารณาโครงการ (รวมระยะเวลาการพิจารณา ประมาณ 45 - 60 วนั
ไม่รวมระยะเวลาท่ีผูย้ ่นื ข้อเสนอโครงการใชใ้ นการปรบั แกไ้ ขขอ้ เสนอโครงการ)

คณะทำ� งานการสนบั สนนุ เงนิ กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม
ใหแ้ กเ่ ครอื ขา่ ยอาสาสมคั รพิทกั ษ์

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (ทสม.)
รว่ มจดั ประชมุ พัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

สส. ขออนุญาต ทสม. เสนอโครงการ
ใชพ้ ้ืนที่ (ปม./อส.) ให้ ทสจ. รบั รอง

ผู้ย่นื ย่ืนขอ้ เสนอโครงการมาที่ สผ.

ข้ันตอนท่ี 1 ตรวจสอบคณุ สมบตั ิเบ้อื งต้น/วเิ คราะหโ์ ครงการ โดย สผ.

“เพ่ือลดขน้ั ตอน กระบวนการ กรณีที่ 1 ไมต่ ้องลงศึกษาพ้นื ท่ี กรณีท่ี 2 ต้องลงศึกษาพ้นื ที่

ระยะเวลาการจดั ท�ำข้อเสนอโครงการ ผู้ย่ืนข้อเสนอ สผ. ลงพ้ืนที่/ประชมุ หารอื หน่วยงาน
และพิจารณาโครงการ ปรบั แก้ไขโครงการ และแจง้ ขอ้ คิดเหน็ ในการปรบั
แก้ไขโครงการ

ผู้ย่นื ขอ้ เสนอปรบั
สสทปอสสผมส.จ.. ::::: ทกสสกแก��ลำำรรรรนนมมมัพะััปสอสกกยุิ่่ทงงงง่าาแาาเไกยสนนมวรารด้นทธนิมลรโรแคย้รัอพหุณบมมย่งชาภจาชยาักงาาตแหพรติลแธวิสละสัรด่ิงรแัะตแมผสววช่ินง์ปดแาล่าตว้อดแิ มลล้ะอพมันธุ์พืช แก้ไขโครงการ

ข้ันตอนท่ี 2 เสนอคณะอนุกรรมการกลน่ั กรองโครงการ พจิ ารณา

ผู้ย่นื ข้อเสนอปรบั แก้ไขโครงการ

ขั้นตอนที่ 3 เสนอคณะกรรมการกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม อนุมตั ิ

กองทุนส่ิงแวดล้อมมีความคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เชื่อมโยงกับท้องถ่ิน ท่ีจะได้สร้างความร่วมมือเชื่อมโยงกับ
การสนับสนุนการด�ำเนินการดังกล่าว จะก่อให้เกิดความย่ังยืน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องระดับพื้นที่ และภาคีที่เก่ียวข้อง และ
ในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ หน่วยงานภาครัฐ ทุกภาคส่วนเกิดความตระหนักและตื่นตัวถึง
ประเทศไทย โดยเน้นกระบวนการสร้างความเข้มแข็งของ ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซึ่งในอนาคต
ภาคประชาชนและชุมชนให้มีขีดความสามารถในการบริหาร กองทุนส่ิงแวดล้อมจะได้ขยายขอบเขตกิจกรรม และขยายกลุ่ม
จัดการโดยการพัฒนากลไกและแผนชุมชน การพัฒนาผู้น�ำ เป้าหมายให้ครอบคลุมกับปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ให้มีความสามารถในการบริหารแผนรวมถึงกระบวนการ ส่งิ แวดลอ้ มในทุก ๆ ด้านต่อไป 

การจดั การไฟป่าและหมอกควนั โคก หนอง นา โมเดล
วารสารขา่ ว สผ. หมวด
3
กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม

 เก็บมาฝาก

วิธกี ารคำ� นวณ นางสาวกิติลักษณ์ ถนอมบุญชยั
ระยะเวลาคนื ทนุ นักวชิ าการสิ่งแวดลอ้ มชำ� นาญการ
กลมุ่ งานติดตามและประเมนิ ผล
(The Payback Period Method)
กองบรหิ ารกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

ระยะ เวลาคืนทุน (Payback Period : PB) 2. ระยะเวลาคืนทุนแบบคิดลด (The discounted
payback period, Pd) ปจั จยั หนง่ึ ทกี่ ารคำ� นวณระยะเวลาคนื ทนุ
เป็นระยะเวลาที่ใช้บอกว่า ธุรกิจท่ีลงต้นทุนไปแล้วจะสามารถ มีความผิดพลาดและเป็นจุดอ่อน คือ การไม่ได้น�ำเร่ืองค่าของ
คนื ทุนในระยะเวลาเท่าไร หรอื ทีม่ กั จะพดู กนั วา่ “เงินที่ลงไปจะ เงินตามเวลา (Time Value of Money: TVM) มาพิจารณา
ถอนทุนคืนได้เมื่อไร” เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง เงินลงทุน ท�ำให้อาจเกิดการตัดสินใจเลือกโครงการลงทุนท่ีผิดพลาดได้
และผลตอบแทนจากการลงทนุ ตวั เลขทค่ี ำ� นวณไดจ้ ะใชส้ ำ� หรบั แดขลั้องนะมเ้ันูลหทมจี่แาึงะทมส้จีกมราิงร ∑เ นพ= � ำื่อ 1ม(ให∑ู ล ้ คค ว่า(−า ข ม อ ตง − ัด เ ง ส ิน ) ิ น ต − ใ)าจ−มโ ค เว ร ≥ลง≥กาม0า0ราไสดะ้อทย้อ่านงถใหูก้เตป้อ็นง
การตัดสินใจว่าการลงทุนในโครงการนี้จะมีความเหมาะสมและ
น่าจะลงทุนหรือไม่ ควบคู่ไปกับประมาณการผลก�ำไรท่ีคาดว่า =1
จะได้รับจากการลงทุน บางกรณีถึงแม้ว่าการลงทุนอาจจะ
ให้ผลตอบแทนที่สูงก็จริง แต่กว่าที่การลงทุนดังกล่าวจะเริ่ม ∑( − )( / , , ) − ≥ 0
ให้ผลตอบแทนกลับใช้เวลาที่นานเกินไป ท�ำให้บริษัทขาด
สภาพคลอ่ ง ดงั นน้ั ระยะเวลาคนื ทนุ จงึ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการประเมนิ =1 ∑( − )( / , , ) − ≥ 0
ความเปน็ ไปได้ของการลงทนุ เครื่องมอื หน่ึงไมไ่ ดม้ ีความซับซ้อน
ซึง่ สามารถทำ� การประเมินได้อยา่ งคร่าว ๆ และรวดเรว็ =1

ระยะเวลาคืนทุน พิจารณาได้ 2 รูปแบบ คือ ระยะเวลา โโดดยยกกำ�ำหหโดนนยดดกใใำหหห้น้ (“ดP(ใ/PหF้/,(FPi,/,iF,n,n)i),:n“) ::PP==FF [[((11++11ii))nn]]
คืนทุนแบบทั่วไป (The simple payback period, Ps หรือ
The conventional payback period) และระยะเวลาคนื ทนุ
แบบคิดลด (The discounted payback period, Pd) ก�ำหนดให้ P = มูลค่าหรือผลรวมของเงินในช่วงเวลา
p โ i โnดดevยยreกiksoำ� t1IREห=md.kkน, รe1 ด===ะ,nPใย ห2tsะเรค,้)fเงาo่าว3ินยใเrล,ชปรลา.a้จบั.็นค.งา่ ใp,นืทกยนrnทใุาoชนนรนุj่วเเeชคมงรแcว่ิอ่ืิ่ดมบktงเ)รบตง(kะินRท้นยe(ลวั่Eสะvงไx�eทปคำpnหืุนนe(uเTทรnกeับhุsนดิseeโโขsiดคn้นึ siยรinmpณไงeมpกprเPe่คาiวloeerิดลรidr2301oาiมpodท(kูลadI)ี่ ynคk0)b่iาtaเปปปซเiงงcaาPรรรินินkกeะะะlเr342501จเเเรiมมมoมิ่าdนิินินกตกกกตน้ รรรวั ปปปซเปปะะะ-เง หP ค (ทห าก1รรรรรNนิแแแกrะะะะะา่นร่ีก0่าเeสสสPจเเเเเรขอื5มมมมม�ำ่วCsิม่าเเเV2องงงนนนินิิินิวห,eกยตa0)0ินินินกกกกกนังตnน้เนsตinF0,Dรรรรรปวัสสส0ht 0Fดัะะะะะว-เi0ดดด ็นก1sแแแแแwuใอfc0า่0ไไไสสสสส===เหโltดดด5ooปoCยจเเเเเ2u งงงงง้เ,รรร้้้aur0wท0อ่ปนิิินนินินาrtจมอับับับs0,nehสสสสสย0รงh็น0ำ�ัตูล(0ดดดดดtเ์์กท-132น$ปซefw(0รคไไไไไ8โlำP555ดดดดด)่ีoวจd็นาัจ5่หาoWรรรรร้้้้้,,,wท1นด000,จตับับับบัับหนcr0ยช000อ)tุบ่อ(aก์ร0ด-23134$บhว000่8Pกsำปันือ555550)ใง5รหhrห,,,,,เ(ีหผ00000เ,eบิษน0Fเว้00000fลsปร0ดWลี้ยัl00000ทe0ือoใรอาหหn)วทwสร้Aรtมแ์เ่ีเำ� ือซวuv(หขหลDลอ็นกaัtอะรลCloาัตตหบัuบงFกัFnร่อเeลกt)uงาบuเาแิดนผ(t=mรPuลอืลใวVนะrน0ตeเิe)+คอหrอCC3NรอiCvน5บaรcuาeuาa,อืpาs0mะแtmจl0คiเหuทtpใป0uไuaตชหe์ดนrllอl(ae้aP----น้มต----tรc4718(อแsat8174iกFว่v5050เ์oีie่อกyทาvซ5050ำeVย,,,,bsn0000ชไาจe,,,,น็น)aรt00000000ctปร่วใca0000ตค0000c(ชทจkvงีsCaอ่เ่0000าhตี้แเaัดทดpCวsขวอ้lทefอซhืตี่u)ลงอlนั roคนนอ้้ือeiางofwำงldนoค)ว*wำณนวณ
ตามเวลา (Time Value of Money : TVM) โดยกำ� 4หนดใหป้ ร:ะ6เมินกรปะSรแpะสเiมnเงินdินกlรeสะดแMไสดaเงร้cนิ บัhสiดn4ไe5ดร้,0ตบั 0วั 40ใ5ห,0ม0่ 0ในราคา $105,+03050,0เพ00อื่ ท(Pดกaแำyทไbรนaตcวัkเกpา่eriod)*
5 ประเมินกระทแ่ีมสีมเงูลินคส่าดขไอดร้งับซา3ก5เ,ท0่า0ก0ับ $20,000 การประเมินกระกแำสไรเงินสด
6 ประเมินรกะรยะะใทเแนว่ีไสลกดเาาง้ครรนิ นืับผสทลจดนุ ิตาไสดเกำปร้หกบัร็นาบั ต4กรา5าใรรช,0ลา้ง0งงทา0ดุนนังซแขื้อสอSดงpงiขnSd้าplงeลinM่าdงaนcleh้ี iรnะMeยตaะัวcเใวหhลมiาn่ จคeะกืนใำชทตไ้เรวุนัวลแใาหปบรมบะ่มาณ 4 ปี

∑( − ) − ≥ 0 ระยะเวลาคนื ทTุนhสeำหcรoบั nกvาeรnลtงioทnนุ aซlื้อpSapybinadclkepMearicohdinปeระตมัวาใหณมก่ ี่ปจีะใช้เวลาประมาณ 4 ป

=1



4 ∑( −วารส า ร ข )า่ ว(ส ผ /. ห ม ,วด , ) − ≥ 0 ตัวอย่างที่ 2 บริษัท Autonumerics ได้มีการจัดซื้อ Spindle Machine ตัวใหม่ ในราคา $105,000 เพื่อทด

=1 กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ตวั เก่าทีม่ มี ูลค่าของซากเท่ากบั $20,000 การประเมินกระแสเงินสดทไี่ ด้รบั จากการใชง้ านของ Spindle Mac

โจทยก์ �ำหนดให้ ต้องค�ำนวณ

Period Cash flow ($) Cumulative cash flow

}0 เซงานิ กเจริม่ากตต้นวั -เก10่า52,000,0000 - 85,000 หักลบ -85,000
1 ประเมนิ กระแสเงินสดได้รับ 15,000
-70,000
2 ประเมินกระแสเงินสดได้รับ 25,000 -45,000
-10,000
3 ประเมินกระแสเงนิ สดไดร้ ับ 35,000 +35,000 (Payback period)*
ก�ำไร
4 ประเมนิ กระแสเงนิ สดไดร้ บั 45,000 ก�ำไร

5 ประเมินกระแสเงนิ สดไดร้ บั 35,000

6 ประเมนิ กระแสเงนิ สดได้รบั 45,000

ระยะเวลาคืนทุนส�ำหรบั การลงทุนซ้อื Spindle Machine ตัวใหม่ จะใชเ้ วลาประมาณ 4 ปี

ตัวอย่างที่ 2 บรษิ ทั Autonumerics ได้มีการจัดซ้ือ Spindle Machine ตวั ใหม่
ในราคา $105,000 เพือ่ ทดแทนตวั เกา่ ทมี่ ีมูลคา่ ของซากเท่ากบั $20,000 การประเมิน
กระแสเงินสดที่ได้รับจากการใช้งานของ Spindle Machine ตัวใหม่ในการผลิต
เป็นตารางดังแสดงข้างล่างน้ี ระยะเวลาคืนทุนแบบ The discounted payback
period ประมาณกีป่ ี ถา้ กำ� หนดให้ MARR ของบรษิ ทั เทา่ กบั 15%
(MARR คอื อตั ราผลตอบแทนทย่ี อมรบั ไดน้ อ้ ยทสี่ ดุ (Minimum acceptable rate
of return, MARR))

โจทยก์ �ำหนดให้ ต้องค�ำนวณ

Period Cash flow ($) Cumulative cash flow
}0 เซงานิ กเจริม่ากตตน้ วั -เก10่า52,000,0000 - 85,000
1 15,000 (P/F, 15%, 1) == 1153,,000404 x(ป0ดั .8ท6ศ9น6ยิ ม) หักลบ -85,000
2 25,000 (P/F, 15%, 2) == 2158,,090002.x5 0.7561 -71,956
3 35,000 (P/F, 15%, 3) == 3253,,000102.x5 0.6575 -53,053.5
4 45,000 (P/F, 15%, 4) == 4255,,070301 x 0.5718 -30,041
5 35,000 (P/F, 15%, 5) == 3157,,040002 x 0.4972 -4,310
6 45,000 (P/F, 15%, 6) = 45,000 x 0.4323
+13,092 (Payback period)*
กำ� ไร

ระยะเวลาคืนทนุ ส�ำหรบั การลงทุนซ้อื Spindle Machine ตัวใหม่ จะใชเ้ วลาประมาณ 5 ปี

วารสารขา่ ว สผ. หมวด 5

กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม

จากตัวอย่างท้ัง 2 ตัวอย่าง จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า กลับคืนอาจต้องมีการเปลี่ยนแปลงด้วยเช่นกัน ดังนั้น
เม่ือน�ำค่าของเงินตามเวลา (Time Value of Money: TVM) ในความเป็นจรงิ แล้วการคดิ แบบ The discounted payback
มาพิจารณาร่วมด้วย ดังตัวอย่างท่ี 2 พบว่า ระยะเวลาคืนทุน period อาจมีความยุ่งยากมากกว่าแบบ The conventional
มีระยะเพ่ิมขึ้น จากเดมิ ในตวั อย่างท่ี 1 มรี ะยะเวลาคนื ทนุ 4 ปี payback period แต่จะท�ำให้เราสามารถตัดสินใจได้
ซึ่งเป็นการคิดแบบ The conventional payback period อย่างแม่นย�ำและมีความถูกต้องส�ำหรับการลงทุนและผลก�ำไร
ในขณะที่เมื่อน�ำตัวอย่างเดียวกัน แต่มีการคิดมูลค่าของเงิน ที่จะได้ตอบแทนกลับคืนมา เน่ืองจากมีการพิจารณาน�ำค่า
ตามเวลา ดังแสดงในตัวอย่างที่ 2 จะพบว่าระยะคืนทุน ของเงนิ ตามเวลามาใช้ในการคำ� นวณดว้ ยนัน่ เอง 
ปรับเป็น 5 ปี ซ่ึงเพิ่มขึ้นอีก 1 ปี นั่นหมายถึงผลก�ำไรท่ีจะได้

ทส.2 +4 คืออะไร

ทส.2 หมายถึง

1. การต้ังเปา้ หมายท้าทาย
“การยกระดับคณุ ภาพ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
เปน็ 2 เท่า”

+4 หมายถึง 2. การเพิ่มศกั ยภาพการปฏบิ ตั งิ าน
- บุคลากร
1. เทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ - เครอื ข่ายและการมีส่วนรว่ ม
- เคร่อื งมือ/อปุ กรณ์
การประชาสัมพนั ธ์
และกฎระเบียบตามกฎหมาย
- เทคโนโลยีและนวตั กรรม

3. แสวงหาความรตู้ ามหลักวชิ าการ

2. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน 4. มธี รรมาภบิ าลเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ริ าชการ

6 วารสารข่าว สผ. หมวด

กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

 ภาพกิจกรรมข่าว กองทุนส่ิงแวดล้อม

โครงการรอ้ งกวางนา่ อยู่
คสู่ ่ิงแวดลอ้ มทส่ี ะอาดสดใส
เพ่ือสุขภาพพลานามยั ทยี่ ง่ั ยนื

เม่ือวันที่ 2 ธันวาคม 2563 นางสาวอ้อวดี สุนทรวิภาต ผู้อ�ำนวยการกองสิ่งแวดล้อมท้องถ่ิน อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
ดา้ นมลพษิ พรอ้ มดว้ ยเจา้ หนา้ ทก่ี องบรหิ ารกองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม เจ้าหน้าทสี่ �ำนกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคที่ 2 (ล�ำปาง) และเจ้าหนา้ ทสี่ ำ� นกั งาน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มจังหวัดแพร่ ไดร้ ว่ มประชมุ ตดิ ตามผล ระยะสน้ิ สดุ โครงการร้องกวางน่าอยู่ ค่สู ิ่งแวดลอ้ มท่ีสะอาด
สดใส เพ่ือสขุ ภาพพลานามัยทีย่ ่งั ยืน ของเทศบาลตำ� บลรอ้ งกวาง อำ� เภอร้องกวาง จงั หวดั แพร่

โครงการเสรมิ สรา้ กระบวนการ เมอื่ วนั ท่ี 2 ธนั วาคม 2563 นางสาวตรจู ติ มหาวหิ กานนท์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
มสี ่วนรว่ มในการบรหิ าร ในคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติ
จดั การฐานทรพั ยากรดนิ น้ำ� ปา่ คณะเจ้าหน้าท่ีกองบริหารกองทุนส่ิงแวดล้อม ผู้แทนจากส�ำนักงาน
อำ� เภอแวงนอ้ ย จงั หวดั ขอนแกน่ สิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 (ขอนแก่น) และเจ้าหน้าที่จากส�ำนักงาน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น พร้อมด้วยตัวแทน
จากสมาคมเพอื่ นภู และจากภาคภี าคประชาชน ไดร้ ่วมประชุมและส�ำรวจ
พน้ื ทเ่ี พือ่ ตดิ ตามผลการดำ� เนินโครงการระยะส้ินสุด “โครงการเสรมิ สรา้ ง
กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการฐานทรัพยากรดิน น้�ำ ป่า
อำ� เภอแวงนอ้ ย จังหวัดขอนแก่น” ของสมาคมเพอ่ื นภู

วารสารขา่ ว สผ. หมวด 7

กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

กองบรหิ ารกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน
ใบอนุญาตท่ี 16/2535
ชน้ั 16 อาคารทิปโก้ 2 เลขที่ 118/1 ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร 10400 ปณจ. สามเสนใน

http://envfund.onep.go.th facebook : กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม สผ.

เมือ่ วันท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2563 กองบรหิ ารกองทุนสิ่งแวดลอ้ ม นำ� โดยนายสรุ พล โครงการส่งเสรมิ
ดวงแข ประธานอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติ พร้อมด้วย และพัฒนาศักยภาพ
นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลอปิ มุ่ ผแู้ ทนสำ� นกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม องค์กรชมุ ชน
จังหวัดเลย ผู้แทนจากโรงเรียนในพ้ืนท่ี และผู้น�ำชุมชน ได้เข้าร่วมประชุมการพัฒนา เพ่ือปรบั เปลยี่ น
ข้อเสนอโครงการ ณ องค์การบริหารส่วนต�ำบลอิปุ่ม ต�ำบลอิปุ่ม อ�ำเภอด่านซ้าย รปู แบบการเกษตร
จังหวัดเลย พร้อมทั้งเข้าศึกษาส�ำรวจพ้ืนท่ีป่าชุมชนโคกหนองกวาง แปลงวนเกษตร เชงิ เดี่ยว สู่การท�ำ
และเขาหัวโล้นซึ่งเป็นพ้ืนท่ีเป้าหมายการด�ำเนินงาน “โครงการส่งเสริมและพัฒนา การเกษตรยั่งยนื
ศกั ยภาพองคก์ รชมุ ชนเพอื่ ปรบั เปลยี่ นรปู แบบการเกษตรเชงิ เดยี่ วสกู่ ารทำ� การเกษตร ท่ีเอ้ือต่อการอนุรกั ษ์
ยงั่ ยนื ทเ่ี ออ้ื ต่อการอนรุ ักษแ์ ละฟ้ืนฟพู ้นื ท่ีตน้ นำ�้ ป่าสัก” ของสมาคมรักษ์ปา่ ต้นนำ้� แลฟ้ นื ฟูพ้ืนที่
ต้นน้�ำปา่ สัก

8 วารสารขา่ ว สผ. หมวด

กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม


Click to View FlipBook Version