The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองทุนสิ่งแวดล้อม, 2022-01-10 07:03:08

วารสารข่าว สผ.หมวดกองทุนสิ่งแวดล้อม ปีที่ 19 ฉบับที่ 3

ีป ่ีท 19 ฉ ับบ ่ีท 3 ประจำ� ปีงบประมาณ 2563 วารสารขา่ ว สผ. หมวด
Environment Fund Newsletter
กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ มISBN1685-7569
บทบรรณาธิการ

ก่อนจะเข้าสู่เน้ือหาสาระท่ีน่าติดตามของวารสารข่าว สผ. วกิ ฤตการณท์ ่ีเรากำ� ลงั เผชญิ อยู่ในขณะนี้ จะเปน็ กา้ วแรกที่ส�ำคัญ

หมวดกองทุนส่ิงแวดล้อม ปีที่ 19 ฉบับท่ี 3 กองบรรณาธิการ ที่จะผลักดันให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ีดีขึ้น
คงต้องมาพูดถึงเร่ืองราวของการปรับตัวในการด�ำเนินชีวิตรูปแบบ ท้ังในมิติของคุณภาพชีวิตและมิติของส่ิงแวดล้อม
ใหม่ ทีเ่ รียกวา่ นวิ นอรม์ อล (New Normal) ในยุคทีม่ กี ารระบาด วารสารข่าว สผ. หมวดกองทุนส่ิงแวดล้อม ปีท่ี 19
ของโรคอุบัติใหม่ก�ำเนิดขึ้นอย่างโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับที่ 3 นี้ กองบรรณาธิการจึงขอน�ำเสนอนวัตกรรมทางเลือก
(โควดิ -19) ท่กี �ำลงั แพรร่ ะบาดและคกุ คามทั้งคณุ ภาพและสขุ ภาพ ในการจัดการปัญหาขยะต้ังแต่ท่ีต้นทาง ในคอลัมน์เร่ืองเด่น
ของประชากรทว่ั โลก ทำ� ใหว้ ิถีชวี ติ ของทกุ คนตอ้ งปรบั เลย่ี นไปเพอื่ กองทุนสิ่งแวดล้อม เรื่อง “กองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม กบั การเสรมิ สรา้ ง
ความปลอดภัยต่อทั้งตนเองและผู้อ่ืน ไม่ว่าจะเป็นใส่หน้ากาก นวัตกรรมชุมชนเพื่อการจัดการขยะท่ีต้นทาง” และนอกจากน้ี
อนามัย การล้างมือให้ถูกวิธี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social ยังมีสาระความรู้ท่ีอัดแน่นไปด้วยข้อมูลเก่ียวกับประเด็น
Distancing) หากใช้ชวี ติ ในพืน้ ทส่ี ว่ นรวม ต้องมรี ะยะหา่ งประมาณ สถานการณ์ส่ิงแวดล้อมของประเทศไทยท่ีส�ำคัญ รวมท้ัง
2 เมตร และหลีกเล่ียงการอยู่ในสถานที่แออัด สิ่งเหล่านี้ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
เป็นสิ่งส�ำคัญและจะกลายเป็นมาตรฐานในการด�ำเนินชีวิตส่ิงใหม่ ส่ิงแวดล้อมในช่วงท่ีมีการแพร่ระบาด
จนในที่สุดเม่ือเวลาผ่านไปก็ท�ำให้เกิดความคุ้นชินและเป็นส่วน ของโรคโควิด–19 ให้ได้ติดตาม
หนึ่งของวิถีชีวิตปกติใหม่ของผู้คนในสังคม และท่ีหลีกเลี่ยงได้ยาก ในคอลัมน์เก็บมาฝากเรื่อง
เห็นจะเป็นปัญหาเร่ืองขยะหน้ากากอนามัยและขยะติดเชื้อต่าง ๆ “โควิด-19 : ผลกระทบ
ที่ตามมาจากการด�ำเนินชีวิตแบบปกติใหม่ ซ่ึงขยะเหล่านี้ และชีวิตวิถีใหม่เพื่อ
เป็นมลพิษที่เกิดจากการระบาดของโควิด–19 ที่ไปเพ่ิมปัญหา ส่ิงแวดล้อมที่ย่ังยืน”
ขยะพลาสติกท่ีเกิดขึ้นอยู่ก่อนหน้าแล้ว ดังน้ัน เพ่ือให้เกิด และปดิ ทา้ ยฉบบั
ความปลอดภัยจากการติดเชื้อโรคโควิด–19 ควบคู่ไปกับการมี ด้วยคอลัมน์
คุณภาพส่ิงแวดล้อมที่ดีนั้น จึงต้องอาศัยความร่วมมือและร่วมใจ ภาพกจิ กรรมขา่ ว
จากทุก ๆ ภาคส่วนในสังคมให้ปฏิบัติตามมาตรการของภาครัฐ กองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม 
อย่างเคร่งครัด และตระหนักถึงการด�ำเนินชีวิตที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดลอ้ มให้มากท่ีสุด อาทิ การใชห้ นา้ กากผา้ การใช้บรรจภุ ัณฑ์
ท่ีสามารถใช้ซ้�ำได้ และการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย
ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ เปน็ ตน้ กองบรรณาธกิ ารเชอ่ื เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่

คณะผู้จดั ท�ำ สารบญั

ท่ีปรกึ ษา ดร.รววี รรณ ภรู เิ ดช ดร.พริ ณุ สัยยะสิทธพ์ิ านชิ บทบรรณาธิการ 1

ประเสรฐิ ศริ นิ ภาพร มนต์สังข์ ภ่ศู ริ วิ ฒั น์ คอลมั น์ เร่อื งเดน่ กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม 2
กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ มกับการเสรมิ สรา้ ง
บรรณาธกิ าร อศิ รพนั ธ์ กาญจนเรขา นวตั กรรมชมุ ชนเพ่อื การจดั การ
กองบรรณาธกิ าร โฆสติ ชโู ต วรรณนภิ า บญุ มา สรุ างคนางค์ ทมุ รตั น์
จดั ท�ำโดย กองบรหิ ารกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ขยะท่ีต้นทาง

ส�ำนกั งานนโยบายและแผน คอลัมน์ เก็บมาฝาก 5

ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม โควดิ -19 : ผลกระทบและชวี ติ วถิ ีใหม่

กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เพ่อื ส่ิงแวดลอ้ มที่ย่ังยนื
คอลัมน์ 8
ออกแบบ บรษิ ทั เอส.บ.ี เค.การพมิ พ์ จำ� กัด
และพิมพ์ท่ี ภาพกิจกรรมขา่ วกองทุนสิ่งแวดล้อม

เร่อื งเด่นกองทุนส่ิงแวดล้อม

กองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม

กบั การเสรมิ สรา้ งนวตั กรรมชมุ ชน
เพ่ือการจดั การขยะทตี่ น้ ทาง

ดร. กัญญาวีณ์ ล่�ำสัน
นกั วชิ าการสง่ิ แวดลอ้ มชำ� นาญการ
สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

เมื่อกล่าวถึง นวัตกรรม หลายท่านคงจะจินตนาการ นวัตกรรมแปลกใหม่ เพ่ือช่วยลดการเกิดขยะ และเกิดกลุ่ม
ไปถึง ความล�้ำสมยั ของส่งิ ประดิษฐ์ หรือเทคโนโลยี ทช่ี ่วยใหเ้ รา องค์กรท่ีช่วยกันรณรงค์การรักษาส่ิงแวดล้อมของประเทศ
ดำ� เนนิ ชวี ติ ไดส้ ะดวก รวดเรว็ และงา่ ยขนึ้ ซงึ่ คำ� วา่ นวตั กรรมนน้ั มากมาย อาทิ กลุ่ม Trash Hero Thailand เปน็ คนกล่มุ เลก็ ๆ
อาจจะมีผู้ที่ให้ค�ำจ�ำกัดความแตกต่างกันไปตามมุมมองของ กลุ่มหน่ึงที่เห็นถึงความส�ำคัญของปัญหาขยะบนเกาะหลีเป๊ะ
แต่ละบุคคล แต่โดยรวมแล้ว “นวัตกรรม” หมายความถึง ได้จัดท�ำ ‘ขวดสแตนเลส-Love Koh Lipe’ จ�ำหน่ายเพื่อ
สิ่งใหม่ที่สร้างขึ้นมาจากองค์ความรู้ หรือ ความคิดสร้างสรรค์ ลดการใช้ขวดพลาสติก หรือ กลุ่มแม่บ้านในพื้นที่ 3 จังหวัด
สามารถเกิดข้ึนได้จริง และสร้างประโยชน์ให้กับเศรษฐกิจ ชายแดนภาคใต้ ที่เก็บรวบรวบขยะรองเท้าตามชายหาด
และสังคม (ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ, 2549; Baregheh, มาแปรรูปเป็นรองเท้าใหม่ในย่ีห้อ ‘ทะเลจร’ หรือ การน�ำ
Jennifer and Sally, 2009) พลาสติกและโฟมมาเป็นส่วนผสมในการผลิตอิฐบล็อกของ
นวัตกรรมเป็นทางเลือกหน่ึงที่ถูกน�ำมาใช้ใน ทีมวิจัย ‘อินโนเวสต์’ หรือ การน�ำพลาสติก มาผลิตเส้ือยืด
การจัดการปัญหาขยะของประเทศด้วยเช่นกัน ปัจจุบันเรา ผา้ จวี ร และผลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ อกี มากมาย ของภาคธรุ กจิ หลายราย
จะพบว่า ภาคเอกชน สถานบนั การศกึ ษา หรอื แม้แตป่ ระชาชน ในปัจจบุ ัน เปน็ ตน้
ท่ัวไป ได้หันมาให้ความสนใจ ประดิษฐ์คิดค้นสร้างสรรค์

กองทุนส่ิงแวดล้อม ในฐานะแหล่งเงินทุนแหล่งหน่ึง ทมี่ า : hntetwpss://l/owcwalw/1.t6h3a7ir4a5t5h.co.th/
เพ่ือสิ่งแวดล้อมของประเทศ ได้มีส่วนร่วมในการเสริมสร้าง
ศักยภาพชุมชนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ขยายผล ต่อยอด “ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยก
นวัตกรรมการจัดการขยะที่ต้นทางด้วยเช่นกัน เริ่มต้นจากในปี ขยะทต่ี น้ ทาง” ใหก้ บั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื น
2557 รัฐบาลได้หยิบยกการแก้ไขปัญหาขยะเป็นวาระแห่งชาติ การสร้างวินัยของคนในชาติ ด้วยการสร้างความตระหนักให้
และให้ความเห็นชอบแผนท่ีน�ำทาง (Roadmap) การจัดการ ประชาชนท�ำการคัดแยกและจัดการ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล
ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของประเทศ ซ่ึงหนึ่งใน ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ตั้งแต่ในระดับครัวเรือน รวมทั้ง
เปา้ หมายของ Roadmap กค็ อื การสรา้ งวนิ ยั ของคนในชาตมิ งุ่ สู่ มีการสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สถาบันการศึกษา
การจัดการทย่ี งั่ ยืน ดังนน้ั เพื่อใหส้ อดรับกับนโยบายของรัฐบาล องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม และอาสาสมัครพิทักษ์
ดงั กลา่ ว ในปี 2558 กองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม จงึ ไดร้ เิ รม่ิ การสนบั สนนุ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมู่บ้าน ในลักษณะ
โครงการเดี่ยว เพื่อด�ำเนินงานสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน
ในการจัดการขยะท่ีต้นทางด้วยเช่นกัน จวบจนถึงปัจจุบัน

2 วารสารข่าว สผ. หมวด

กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม

มีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานต่าง ๆ ได้เข้าร่วม แรงจูงใจ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะที่
ด�ำเนินโครงการกับกองทุนสิ่งแวดล้อมมากกว่า 1,000 แห่ง ต้นทางเป็นหลัก ควบคู่ไปกับการสร้างกฎระเบียบร่วมกัน
ทัว่ ประเทศ ภายในชุมชน โดยรูปแบบการบริหารจัดการที่ได้รับการยอมรับ
ผลจากการติดตามประเมินผล และเวทีถอดบทเรียน วา่ เป็นแนวทางทม่ี ีความยง่ั ยนื ได้แก่
ของโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยก 1.1 การต้ังกลุ่มเพ่ือรับผลประโยชน์อย่างใด
ขยะทีต่ ้นทาง ท�ำใหก้ องทนุ สิง่ แวดล้อมพบวา่ โครงการฯ ไดก้ ่อ อยา่ งหนึ่ง จากการเขา้ ร่วมเปน็ สมาชิกกลุ่ม เช่น กลุ่มปุ๋ยอนิ ทรีย์
ให้เกิดผลส�ำเร็จอย่างมากมาย อาทิ ชุมชนท่ีเข้าร่วมโครงการฯ กลุ่มงานประดิษฐ์ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ ธนาคารขยะ และ
สามารถลดปริมาณขยะทีต่ ้องน�ำไปกำ� จดั ได้มากกว่า รอ้ ยละ 35 ธนาคารไสเ้ ดอื นดนิ เป็นต้น
เกดิ ชุมชนตน้ แบบในทุกภูมิภาคของประเทศกวา่ 1,000 ชุมชน
และทีส่ �ำคัญอีกประการหน่ึง คอื ชุมชนเกิดความคดิ สรา้ งสรรค์ 1.2 การเปล่ียนขยะให้มีมูลค่า โดยการน�ำขยะ
ในการน�ำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีรูปแบบการบริหารจัดการขยะ มาแลกกับของอุปโภคบริโภค เช่น ร้านค้าศูนย์บาท ตลาดนัด
ใหม่ ๆ รวมทั้งเกิดสิ่งประดิษฐ์ ทั้งในแบบที่ยังไม่เคยมีใคร ขยะรีไซเคิล สายด่วนรีไซเคิล ตลาดนัดมือสอง กิจกรรมขยะ
ท�ำมาก่อน และท่ีพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่ มาใช้ใน แลกไข่ และกจิ กรรมขยะแลกแตม้ เป็นต้น
การจัดการขยะท่ีต้นทางให้ได้ผลดียิ่งข้ึน ซ่ึงผู้เขียนขอเรียก
ผลสำ� เรจ็ นว้ี า่ “นวตั กรรมชมุ ชนเพอ่ื การจดั การขยะทตี่ น้ ทาง” 1.3 การสร้างสวัสดิการชุมชน โดยน�ำรายได้จาก
ซงึ่ สามารถแยกออกเปน็ 2 รปู แบบ คอื 1) นวตั กรรมการบรหิ าร การจัดการขยะในรูปแบบต่าง ๆ มาตั้งเป็นกองทุนสวัสดิการ
จัดการขยะระดับชุมชน และ 2) นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์จาก เพื่อการออมและความมั่นคงของชีวิต เช่น กองทุนฌาปนกิจ
การน�ำขยะกลบั มาใชป้ ระโยชนใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ ดงั นี้ สงเคราะห์ กองทุนน้�ำมันจากถุงพลาสติก กองทุนเงินกู้ฉุกเฉิน
1. นวัตกรรมการบริหารจัดการขยะระดับชุมชน กองทนุ เพื่อการศึกษา และกองทุนประกนั ชวี ิต เป็นต้น
เน่ืองด้วยในแต่ละภูมิภาคจะมีบริบทชุมชนท่ีแตกต่างกันออก
ไป รูปแบบแนวคิดในการบริหารจัดการขยะ จึงจ�ำเป็นต้อง 1.4 การนำ� ขยะไปสรา้ งบญุ โดยนำ� เรอ่ื งการจดั การ
เลอื กรปู แบบให้เหมาะสม สอดคล้องกบั วถิ ชี วี ิต ศักยภาพ และ ขยะไปเชื่อมโยงกับความศรัทธาและความเชื่อทางศาสนา
ความถนัดของแต่ละพื้นที่ ซ่ึงส่วนใหญ่มักนิยมใช้หลักการสร้าง เพ่ือให้ประชาชนได้เข้ามีส่วนร่วมท�ำบุญจากขยะ เช่น กิจกรรม
ผ้าป่าขยะรไี ซเคลิ กิจกรรมขยะออมบุญ และกจิ กรรมปิน่ โตบุญ
(ทำ� บญุ ดว้ ยการลดใชพ้ ลาสติก) เป็นตน้

อบต. ม่วงงาม จังหวดั สิงหบ์ ุรี ทต. บางละมุง จงั หวดั ชลบุรี มูลนธิ ิชมุ ชนท้องถิ่นพฒั นา ทต. พระแทน่ จงั หวดั กาญจนบรุ ี

2. นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์จากการน�ำขยะกลับมาใช้
ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ชุมชนต้นแบบภายใต้โครงการ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะท่ีต้นทาง
ได้มีการน�ำวัสดุเหลือใช้ วัสดุที่ไม่สามารถน�ำกลับไปรีไซเคิล
หรือขยะที่คัดแยกแล้วไม่มีตลาดรับซ้ือ มาดัดแปลงประดิษฐ์
เป็นส่ิงของเครื่องใช้ต่าง ๆ ซ่ึงช่วยลดปริมาณขยะที่ต้องส่งไป
ก�ำจัดลงได้อีกทางหนึ่ง หลายชุมชนที่ประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้
เพื่อใช้เองภายในครัวเรือน ก็จะมีรูปแบบเรียบง่าย เน้นการใช้
ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ และมตี น้ ทนุ ไมม่ าก แตถ่ า้ ชมุ ชนใดทม่ี เี ปา้ หมาย
การสร้างสิ่งประดิษฐ์เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ก็จะให้
ความส�ำคัญกับ การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สวยงาม โดดเด่น
สะท้อนเอกลักษณ์ของชุมชน และค�ำนึงถึงความต้องการของ
ตลาดดว้ ย โดยขยะและวสั ดเุ หลอื ใชท้ ชี่ มุ ชนนยิ มนำ� มาใชป้ ระโยชน์
ในงานประดษิ ฐส์ ง่ิ ของเครือ่ งใช้ ดงั ตวั อย่างในตารางท่ี 1

วารสารข่าว สผ. หมวด 3

กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

ตารางที่ 1 ตัวอย่างการนำ�ขยะแตล่ ะประเภทมาใชป้ ระโยชนใ์ นงานประดิษฐส์ ่ิงของเครือ่ งใช้

ขยะ/วสั ดเุ หลือใช้ รูปแบบการประดษิ ฐ์
กิ่งไม้/ใบไม้ ปยุ๋ หมักไมพ่ ลกิ กลบั กอง ป๋ยุ หมกั ในวงตาขา่ ย ปยุ๋ หมักในเสวยี นไม้ไผ่ ปุ๋ยหมักเศษอาหารแบบตะกร้าฝังดนิ
รีไซเคิล ิอนทรีย์ เผาเป็นถ่านดูดกลนิ่

ขยะอาหาร เล้ียงไสเ้ ดอื นดิน น�ำ้ หมักชีวภาพ บ่อหมักไบโอแก๊ส เล้ียงสตั ว(์ สกุ ร) ถังหมักรักษ์โลก (Green Cone)

กระดาษ/กล่องกระดาษ โต๊ะ เกา้ อี้ หมวก ดอกไม้ประดษิ ฐ์ ดอกไม้จันทน์

ขวดพลาสติก/แก้วพลาสตกิ ไม้กวาด แจกัน ดอกไม้ประดบั ถงั ขยะ กระถางต้นไม้ ก่อผนงั ก�ำแพง

กระป๋องอลมู เิ นียม หมวก ทใ่ี สช่ อ้ น กระเปา๋ สะพาย ตะกรา้

ยางรถยนต์ เฟอรน์ เิ จอร์ กระถางต้นไม้ ชงิ ช้าเด็กเลน่

ถงั นำ�้ มัน โตะ๊ เก้าอีโ้ ซฟา ตูเ้ กบ็ ของ ช้นั วางของ

ฝาครอบพัดลมเกา่ ถังคัดแยกขยะ ชั้นรองกระถางต้นไม้ ทีค่ วำ�่ จาน

กลอ่ งนม/กล่องนำ้� ผลไม้ หลงั คาเขยี ว โตะ๊ เกา้ อ้ี กระเป๋าสะพาย ตะกร้า หมวก

ฝาขวดน้ำ� โตะ๊ เกา้ อ้ี ทรี่ องแก้ว ตกแตง่ โตะ๊ ตกแตง่ ผนงั

หลอดพลาสตกิ ดอกไมป้ ระดิษฐ์ กระเป๋า ตะกร้า

ขยะท่ัวไป ถงุ หูห้ิว เขม็ ขัด กระเปา๋ เสือ่ ถงั ขยะ ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ ชุดแฟนซ/ี ชดุ การแสดง

ซองกาแฟ/ถุงนำ�้ ยาปรับผ้านุ่ม/ กระเป๋าสะพาย ผ้ากันเปือ้ น ตะกรา้ หมวก ดอกไม้ประดิษฐ์
ถุงน้ำ� ยาล้างจาน/ถงุ นม

ปา้ ยไวนิล กระเปา๋ สะพาย กระเป๋าเป้ ถงุ คลมุ สูท

เศษผา้ /เสือ้ ผ้าเกา่ พรมเช็ดเท้า กระเป๋าสะพาย รองเท้าแตะ ผา้ ม่าน ผา้ ปูโตะ๊ ผ้ากนั เปื้อน ถงุ มอื เบาะรองน่ัง ที่เกบ็ ของใช้

liekr.com นอกจากนวตั กรรมชมุ ชนทเ่ี กดิ ขนึ้ เรายงั พบวา่ หากทกุ คน
liekr.com มีการจัดการขยะท่ีต้นทาง จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อชุมชน
ดังนี้ 1) สร้างโอกาส ให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
checkraka.com be2hand.com รวมทั้งคนว่างงาน ได้เข้ามามีบทบาทในการจัดการท่ีต้นทาง
ทำ� ให้ช่องว่างของคนแตก่ ลุ่มลดลง เกิดความรักความสามัคคใี น
ชุมชนมากข้ึน 2) เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน
ให้การคัดแยกขยะกลายเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินชีวิต
ประจำ� วัน 3) สร้างอาชพี สรา้ งรายได้ และสร้างสวัสดิการสงั คม
ให้กับชุมชน และ 4) เกิดเครือข่ายการจัดการขยะให้เข้มแข็ง
และกว้างขวางยงิ่ ขึ้น
ทุกท่านคงเร่ิมตระหนักแล้วว่า “ขยะ” ไมใ่ ชเ่ รอื่ งไกล
ตัวอีกต่อไป ไม่ว่าขยะจะเกิดขึ้นที่ไหนบนโลก ก็จะส่งผลถึงเรา
ไม่ทางใดทางหนึ่งเสมอ เช่นเดียวกับสิ่งเล็ก ๆ ที่เราท�ำการ
คัดแยกขยะต้ังแต่ในครัวเรือน ก็จะส่งผลต่อโลกใบน้ีเช่นกัน
การจัดการขยะท่ีต้นทางจะส�ำเร็จได้ เร่ิมต้นที่ตัวเรา มาร่วม
สร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการขยะให้กับสังคม เรียนรู้ และ
ปรับตัว ใช้น้อย ใช้ซ�้ำ น�ำกลับมาใช้ใหม่ เพื่อสังคมไทยน่าอยู่
ไปพร้อมกบั กองทุนสง่ิ แวดล้อมกนั นะคะ 

thaiticketmajor.com thaiticketmajor.com เอกสารอ้างอิง
ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2549). พลวัตนวัตกรรม. กรุงเทพฯ:
สำ� นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี
Baregheh, Anahita, Jennifer Rowley, and Sally Sambrook.
“Towards a multidisciplinary definition of innovation.”
Management decision 47.8 (2009): 1323-1339.

4 วารสารขา่ ว สผ. หมวด

กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

โควิด-19 : เก็บมาฝาก

ผลกระทบและชวี ติ วถิ ีใหมเ่ พ่อื สิ่งแวดลอ้ มที่ย่งั ยนื

อศิ รพันธ์ กาญจนเรขา
ผอู้ ำ� นวยการกองบรหิ ารกองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม
สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

นับต้ังแต่เกิดการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา เปรียบเทียบกับช่วงระหว่างวันท่ี 18 มีนาคม-28 เมษายน
2019 หรือโควิด-19 (COVID-19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 2563 (ช่วงที่มีมาตรการ) พบว่าฝนุ่ ละออง PM 2.5 มคี ่า 9-42
โดยเร่ิมมาจากเมืองอู่ฮั่น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตรหรือมีค่าเฉล่ีย 20 ไมโครกรัม/
และได้แพร่กระจายไปยังประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก ส�ำหรับ ลูกบาศก์เมตร ท้ังนี้ ในช่วงเวลาเดียวกันของปีนี้กับปีที่แล้ว
ประเทศไทย หลังจากท่ีพบผูป้ ่วยรายแรกเมือ่ วันท่ี 13 มกราคม ระหว่างวันที่ 18 มีนาคม-28 เมษายน 2562 ฝุ่นละออง
2563 และมีจ�ำนวนผู้ป่วยเพิ่ม มากข้ึน จนต่อมามีการ PM 2.5 มีค่า 7-53 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตรหรือมีค่าเฉล่ีย
แพร่กระจายการระบาดไปเกือบทั่วประเทศ ดังนั้น รัฐบาล 24 ไมโครกรมั /ลูกบาศกเ์ มตร ดังนั้น เมือ่ เปรยี บเทียบกอ่ นและ
จึงได้ออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ หลังช่วงมีมาตรการ รวมถึงเปรียบเทียบกับผลการตรวจใน
ท่ัวราชอาณาจักร(1) ซ่ึงมีผลต้ังแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 ช่วงเวลาเดยี วกันของปีท่แี ลว้ จะเห็นได้ว่าคา่ ฝ่นุ ละออง PM2.5
มีการก�ำหนดมาตรการควบคุมการเข้าเขตพื้นท่ีท่ีก�ำหนดในบาง ลดลงถงึ 20 %
จังหวัด การห้ามการเดินทางเข้าประเทศ การห้ามชุมนุมมั่วสุม
กำ� หนดขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการควบคมุ กจิ กรรมบางอยา่ ง นอกจากนย้ี งั มี
การจัดตั้ง “ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)” หรือ ศบค. และ
มีการออกประกาศเพ่ิมเติมต่อมาในการปิดสถานท่ีตัวอย่างเช่น
โรงเรียน สถานบริการ ห้างสรรพสินค้า สนามมวย ร้านตัดผม
สถานท่ีท่องเท่ียว การประกาศเคอร์ฟิวห้ามประชาชนออก
จากบ้านในบางช่วงเวลา รวมทั้งมีการรณรงค์ (Campaign)
ขอความร่วมมือประชาชนในการ “อยู่บ้าน หยดุ เชื้อ เพื่อชาต”ิ
การขอให้บุคลากรภาครัฐและเอกชนส่วนหน่ึงท�ำงานท่ีบ้าน
(Work from home) เป็นต้น ซ่ึงคนทั่วไปรู้จักในนาม
“มาตรการล็อคดาวน์ (Lockdown)”
ในช่วงท่ีมีมาตรการล็อคดาวน์ดังกล่าว นอกจาก
ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้างขวาง ท�ำให้
ประชาชนว่างงาน ขาดรายได้ มีความเครียดวิตกกังวล ต้องมี
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่างไปจากท่ีเคยเป็นแล้ว
ยังส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
หลายเร่อื ง

❉ สถานการณส์ ิ่งแวดลอ้ ม : อะไรดขี น้ึ อะไรแยล่ ง ?

• อากาศกรงุ เทพฯ สดใส : ฝนุ่ PM 2.5 จางไป • ขยะรวมลดลง : ขยะพลาสติกพุ่งพรวด
จากข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในเขต
กรุงเทพและปริมณฑล ของ กรมควบคุมมลพิษ(2) ในช่วงก่อน จากข้อมูลของสถาบันส่ิงแวดล้อมไทย(3) และ
การแพร่ระบาดของเชื้อ โควิด-19 และช่วงท่ีมีมาตรการ กรมควบคุมมลพิษ(4) พบว่าทั้งกรุงเทพฯ และเมืองต่าง ๆ
ปิดสถานที่ต่าง ๆ รวมท้ังควบคุมการเดินทาง ผลการตรวจวัด มีปริมาณขยะรวมลดลง โดยในพ้ืนท่ีกรุงเทพฯ ลดลงจากปกติ
ฝ่นุ ละออง PM 2.5 ระหวา่ งวันที่ 1-17 มีนาคม 2563 (ก่อนมี 10,560 ตันต่อวนั เปน็ 9,370 ตันตอ่ วัน หรือลดลง 11% ภูเก็ต
มาตรการ) พบว่าฝุ่นละออง PM 2.5 มีค่า 10-46 ไมโครกรัม
ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร หรอื มคี า่ เฉล่ีย 25 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเ์ มตร
(คา่ มาตรฐานเฉลยี่ 24 ชวั่ โมง ไมเ่ กนิ 50 ไมโครกรมั /ลกู บาศกเ์ มตร)

วารสารข่าว สผ. หมวด 5

กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม

ลดลงจาก 970 ตนั ต่อวนั เป็น 840 ตนั ต่อวนั หรอื ลดลง 13% • ธรรมชาตฟิ ้ นื ฟูสภาพ : สรรพสัตวเ์ รงิ รา่
นครราชสีมา ลดลงจาก 240 ตันต่อวัน เปน็ 195 ตนั ตอ่ วนั หรือ ชว่ งโควดิ -19 ทำ� ใหส้ งิ่ แวดลอ้ มของสถานทที่ อ่ งเทยี่ ว
ลดลง 19% เมอื งพทั ยา ลดลงจาก 850 ตันตอ่ วัน เป็น 380 ตนั ตามธรรมชาติหลายแห่งท่ีมีการฟื้นฟูสภาพอย่างเห็นได้ชัด
ต่อวัน หรือลดลง 55% เป็นต้น อย่างไรก็ตาม จากการท่ี จากการที่ไม่มีนักท่องเท่ียวเข้าไปรบกวน ไม่ว่าจะเป็นชายหาด
ประชาชนส่วนใหญ่ ท่ีต้องหยุดงานหรือต้องท�ำงานอยู่กับบ้าน อทุ ยานแหง่ ชาตทิ างบกและทางทะเล ตวั อยา่ งเชน่ (5) หาดปา่ ตอง
(Work from home) ส่งผลให้ต้องใช้บริการส่ังอาหารทาง จ.ภูเกต็ หาดบางแสน หาดพทั ยา จ.ชลบุรี อา่ วมาหยา จ.กระบ่ี
Online จากบริการรับส่งอาหาร (Food delivery) ท�ำให้ขยะ ฯลฯ สถานที่เหล่าน้ีมีสภาพทางกายภาพของน้�ำที่ดูสดใส
พลาสติกแบบใช้คร้ังเดียวทิ้ง เช่น กล่องพลาสติกใส่อาหาร ชายหาดที่สะอาดปราศจากสิ่งรกรุงรังจากกิจกรรมที่เคยมี
ส�ำเรจ็ รูป เพ่มิ ข้ึนจากชว่ งก่อนหน้าทีจ่ ะมมี าตรการถงึ 15% คอื ก่อนหน้า และจากการท่ีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ
จากวันละ 5,500 ตัน เป็น 6,300 ตันต่อวัน โดยเฉพาะขยะ พันธุ์พืช ประกาศ ปิดการท่องเท่ียวในเขตอุทยานแห่งชาติ
พลาสติกในกรุงเทพมหานคร เดือนเมษายน 2563 เพ่ิมข้ึน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า รวมทั้งวนอุทยานทุกแห่ง ต้ังแต่วันที่
ถึง 62 % เมอ่ื เปรยี บเทียบกับเดอื นเมษายน 2562 นอกจากน้ี 25 มนี าคม 2563 จากรายงานของสำ� นกั บรหิ ารพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษท์ ี่ 3
ยังมีขยะอีกประเภทท่ีเพ่ิมขึ้นในช่วงโควิด-19 คือ ขยะติดเชื้อ (บ้านโป่ง)(6) ได้พบธรรมชาติฟื้นฟู สัตว์ป่าออกหากินอย่าง
โดยเฉพาะขยะท่ีเกิดจากหน้ากากอนามัยใช้แล้วทิ้ง ท่ัวประเทศ มากมายในเขตอุทยานแห่งชาติฯ ในท้องท่ีจังหวัดกาญจนบุรี
มีประมาณ 1.5–2 ลา้ นช้ินตอ่ วัน ในพืน้ ทก่ี รงุ เทพฯ ซงึ่ มีปริมาณ จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนในเขตอุทยาน
ขยะติดเชอื้ เพ่ิมข้นึ 1.7 ตนั ต่อวัน (วนั ละ 1,700 กิโลกรมั ) แห่งชาติหมู่เกาะลันตาจังหวัดกระบ่ี(7) เมื่อวันที่ 22 เมษายน
2563 พบการปรากฎตวั ของฝงู วาฬเพชฌฆาตดำ� ฝงู ใหญ่ 10-15 ตวั
ที่อ่าวหินงาม เกาะรอก ห่างจากฝั่งเพียง 400 เมตร ซึ่งเป็น
คร้ังแรกท่ีมีการพบเจอวาฬเพชฌฆาตด�ำในเขตอุทยานแห่งชาติ
หมู่เกาะลันตา ส่วนท่ีเขตอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-
หม่เู กาะพพี ี ต.อ่าวนาง อ.เมอื ง จ.กระบ(่ี 8) พบฝงู ฉลามหูด�ำหรอื
ฉลามครบี ดำ� จำ� นวนมากกว่า 70 ตวั บริเวณแนวปะการังนำ้� ตืน้
หน้าหาดอ่าวมาหยา ซ่ึงพบจ�ำนวนมากกว่าทุกคร้ังที่ผ่านมา
ภายหลังจากท่ีประกาศปิดอ่าวมาหยาห้ามท�ำกิจกรรมท่อง
เที่ยวในพืน้ ท่ตี ง้ั แต่เดอื นมิถนุ ายน 2561 เป็นตน้ มา

ภภาพาพจาหกาดfปac่าeทb2อ2oงoเจมk.ภษCเูากhย็ตinนกn2อ่a5นk6o-3หrnลังTลh็อoคnดgาcวhนa์ i

6 วารสารข่าว สผ. หมวด

กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม

• พลงั งานลด : ลดโลกรอ้ นจรงิ หรอื O–Off-season การหยุดกิจกรรมบางอย่างใน
จากข้อมูลกระทรวงพลังงาน(9) ความต้องการใช้ บางช่วงฤดูกาลหรือบางช่วงเวลา ตัวอย่างเช่น กระทรวง
ก๊าซธรรมชาติ น�้ำมันเชื้อเพลิง และการใช้ไฟฟ้า ช่วงโควิด-19 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีนโยบายปิดอุทยาน
ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยประเมินการใช้ก๊าซธรรมชาติท้ังปี แห่งชาติ-เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ปีละ 2 เดือน เพ่ือฟื้นฟู
2563 ลดลงกวา่ 12% หรอื 557 ลา้ นลูกบาศก์ฟตุ ตอ่ วัน การใช้ ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซึ่งควรน�ำไปใช้กับสถานที่ท่องเท่ียว
ไฟฟา้ ลดลง 0.69% สว่ นนำ�้ มนั กลมุ่ เบนซนิ เทยี บตวั เลขชว่ งสเ่ี ดอื น ธรรมชาติอื่น ๆ ด้วย โดยอาจเลือกเวลาท่ีเหมาะสม หรือ
(มกราคม-13 เมษายน 2563 ) กับช่วงเดียวกันของปีท่ีแล้ว สลับช่วงเวลากนั
ลดลงถึง 17.5% น้�ำมันดีเซล ลดลง 12.3% จากการเดินทาง V–Vacancy การจัดให้มีท่ีว่างท่ีไม่มีกิจกรรมใด ๆ
ที่ลดลง รวมทั้งการปิดกิจการหรือลดก�ำลังการผลิตของกิจการ ท่ีจะก่อให้เกิดผลกระทบหรือป้องกันผลกระทบ รวมถึงการท่ี
ต่าง ๆ เป็นการช่ัวคราว ส่งผลต่อปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้า ดูความสามารถของพ้ืนที่ในการที่จะรองรับกิจกรรมต่าง ๆ
การใช้เชื้อเพลิง fossil ลดลงโดยเฉพาะภาคพลังงานและ ท่ีเรียกว่า Carrying capacity ซึ่งความหนาแน่นของกิจกรรม
ภาคขนสง่ ย่อมส่งผลให้ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก หรอื จำ� นวนคนตอ่ พนื้ ที่ เปน็ สง่ิ สำ� คญั มากโดยเฉพาะในการรกั ษา
(Green House Gases) ลดลงดว้ ย อยา่ งไรกต็ ามแมใ้ นภาพรวม สมดุลสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค (ตามหลักการของ
ของการใช้ไฟฟา้ ลดลง แตจ่ ากการทปี่ ระชาชนตอ้ งอยู่บ้านหรอื การรกั ษาระยะห่างทางสงั คม หรอื Social Distancing)
ท�ำงานจากที่บ้าน(10) ท�ำให้มีการเพิ่มขึ้นของปริมาณการสัญจร I–Immunity การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet traffic) และปริมาณของ ตั้งแต่การปรับปรุงพฤติกรรมที่ลดความเส่ียงท้ังของตนเอง
ดิจิทลั ดาตา้ โดยเฉพาะในระบบคลาวด์ (Cloud) ที่เพิม่ ขึ้นมาก ต่อสังคม ส่ิงแวดล้อม เช่น การสวมหน้ากากอนามัย การท้ิง
จากการใช้อินเทอร์เน็ตและดิจิทัลดาต้า เช่น การชมภาพยนตร์ หนา้ กากอนามยั อยา่ งถกู สขุ ลกั ษณะ การดแู ลรกั ษาความสะอาด
หรือซีรีย์จากสตรีมม่ิงวีดีโอตลอดทั้งวัน น�ำมาซึ่งการใช้งาน ของสถานท่ี การไม่ท้ิงขยะลงแหล่งน้�ำท่ีจะเป็นแหล่งเพาะเชื้อ
ดาต้าเซ็นเตอร์ที่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้ามหาศาล ไม่นับรวม แพร่กระจายโรคและท�ำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง
อปุ กรณบ์ รรจพุ ลงั งานไฟฟา้ เชน่ แบตเตอรมี่ อื ถอื ทตี่ อ้ งชารท์ ไฟ การศึกษาหาความรู้เพ่ือเตรียมพร้อมในการรับมือกับปัญหา
มากขึ้น ท�ำให้มีการเส่ือมสภาพเร็วขึ้น และจะกลายเป็นซาก ตา่ ง ๆ ท่อี าจเกดิ ข้ึน
อเี ลคทรอนคิ สห์ รอื ขยะอนั ตรายทตี่ อ้ งมภี าระกำ� จดั ตอ่ ไปในอนาคต D–Development การพฒั นาเทคโนโลยี นวตั กรรม
และระบบบรหิ ารจดั การทชี่ ว่ ยสง่ เสรมิ และรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื
❉ บทสรปุ : ชวี ติ วถิ ีใหม-่ สรา้ งสมดลุ ใน เชน่ การออกแบบและพัฒนาบรรจภุ ณั ฑ์แบบ Bio Design ที่ใช้
พืชชวี ภาพแทนวัสดโุ พลเี มอร์ ทส่ี ามารถย่อยสลายได้ การท�ำอฐิ
การใชช้ วี ติ เพ่ือสิ่งแวดล้อมท่ีดีและยั่งยนื ชวี ภาพ (Bio Brick) จากพลาสตกิ รไี ซเคลิ สำ� หรบั งานตกแตง่ เปน็ ตน้

ถึงแม้ว่าสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 เอกสารอา้ งอิง
ในประเทศไทย มีแนวโน้มที่ดีขึ้น สามารถควบคุมการระบาด
ไดแ้ ลว้ แตต่ ราบใดทยี่ งั ไมม่ วี คั ซนี ทจ่ี ะมาปอ้ งกนั โรค กม็ โี อกาสที่ 12 4 9 7 5 16 8 3 .....0.... ก.ศกหดหกหปจลกสจสจทlวแจdจส7จAสsioสรรรรนูนัkาาาานนานารหดบมถืบืวreกุ มtมมม.eกกกuกกุกพะ่ายทาลtบงังัังวคควดiิถcaคsชคคtบสสส์บรhhกจิงี่้้นนา้รูh7hhhhalนุi7วาววิศืืออือlนัttานวeณร0เเtr2ttt//ttสบาบบมมรรพพพtา่aหิ_tttส.dpp6เ0์pยัมpppย์ยคมตคค/ือือ่่0ธมมิมิิงิ่าส3::eส%นs4//พ์อss:ุมษัวรมมุุแ1ร5พพพบื/t:สวุ//18::9/รโวสวนั.มJa///มมาww3ร2ิมคไ์แ์์ผ/ผ02มuw//ดดถiยขลทธลลมw3ร5lนน้้จูาwwwwล9nชโ/ลาน์่าณพwมพพถิย6ฉัดฉw่ห99วกเนา2wwwwว้อมิถนุ3โษิาษิษิwหมกกิ65รตา2ป0wพกม..ยุนอื่ww,า.มก3..า.ppบน5ิฟ2.รา(ไส.ายจtาร(20(ินอ(..fcc6ทร0้าะร9้ืนe2fb.22aตยนาอ50ddaเิ3ุทอณ..ชย5icฟ55(วกoa์(น.อม60c...2ออสoาย6egg2ณ66sโ์t.ูนe30วิถ5สสนhอบืooคาr.p3b2533สoนั).0bอไุน6ืบนัมtน..tไ)วค56xo))ลืบttr.4thทกoา่ล.3าพดิแคhh36ไ.น้opโนฝวt2คย)าน/oลี่คห-้น//.3ันh.kเโ:2หt.์6ุน่ร1้นนpp/นมk์.(คว,.h่งเข/ธ(8ฟ2c/99ินล.มเ2uuดิือ่ช)์Tวc/์wยมo25.4น้ืะงว5ื่อbbbดิ-พาho(ะmือ่56(1า7wศันอ6ตตlll-2amฤพ63มii79o1บอ3ccทวัิ7w5/iมษ3)/ลส9g//p)/ขงค.6่ีมทอRถิ,.NNภม_pาัต1gอpเอ3.Pถิททุeำ�ุนสจ)ผdิถeeา2r/วงc.)ดใMนุhsT�ำยาตาคย.ป์ewwุนชหd(eตีพใoกยาhากิ2ผสมt2่าาาหss.้ขaอยaนนtagฤ5ลพนยย.//hrยn้ว5iแน2่าoiแGGษ6lcดหนCธุง่ิกtะ2eว.ล5.หh3eepกใภิรtปีotา2มฤพ5w6ะน2ph)ttัตAง่วhดาvิด5.ต6าNN3พล5ชsพ/s่านnคipทแ6หส3dโ:.f0า6eeานั/ื้นdiม์’ล?่อ3ห6,บืยCสlส23ตww/ชbธePกท,ง0จwลาตeค/บื,หิ2้โีุ์พlss/เuรp่ีกาคง่จnoกิน้ท5TTคtwกม%ืชอ้bกทำ�ooวาtเg6hhเย่ีน้ทูเ่.นพweลlมกิด่อ_sกu3aaวihเมใ(rctดงัม่ิือ่iกงมา.r2ii.นช/dstht..กa.iเขีะpccขรsแtอ่ื5h/สว่ทช=t5tลpfftึ้นล2ะึ้นo6ลtงaiืบmm่ว_่ีย5oบั5psท1ันจs3มiะ.งคb1วpC:ntม5s??รบ/ต)ปโขถิมs้นeo:ottsค/6งิาอ/าฝ/ห่าุนรaaถิm/aเหsv/9ว?.วชิมมูงassนพาุนtcwriดิ5รปkkวd..greยณ่ือhกัชnาบอืt7==าwrรfน-iยeใoว่e=ฑ?ฝ–ฬ6c5ll1ะชwttนsง.tnl4ูงp9ลช2เ22้พ_e/โ1มพฉ.l1aค.500ใmาn2Cis9ลถิลnน1gชส226บว/5ao.ังeนุaาe1Pฌชมั00ิด3eท6งสvม_i6.าaว่&&,nพา3wcฆiคบืi‘ยหd3gงnนii/o,นัสาddวคnโeน7ูด-tลmตคัตาธ1==eน้sa7ำ�ดมดว์ว29/11r.เ/cnลดิขป์มำ�5.99poaงอ6่อืา่45-dml3ง106f ,974/
โควดิ -19 จะกลบั มาระบาดอกี ครง้ั ซงึ่ ไมว่ า่ อนาคตจะเปน็ อยา่ งไร
ชีวิตก็ยังต้องด�ำเนินต่อไป แต่ชีวิตวิถีใหม่ (New normal)
เราต้องท�ำอย่างไร ท่ีจะไม่สร้างผลกระทบให้กับทรัพยากร
ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท�ำอย่างไรให้เกิดการสมดุลระหว่าง
การใช้ประโยชน์และการอนรุ กั ษ์ ปอ้ งกนั รักษา ฟืน้ ฟูธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืน โดยน้อมน�ำเอาหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาประยุกต์ใช้
ประกอบด้วยหลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล
หลักการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี บนพื้นฐานของความรู้และ
คุณธรรม ดังนั้น จึงขอสรุปสิ่งที่เราควรท�ำ/ต้องท�ำ จากรหัสค�ำ
C-O-V-I-D ดังตอ่ ไปนี้
C–Consumption & sustainability การบรโิ ภค
ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม โดยการบรโิ ภคอยา่ งพอดี พอประมาณ
ตามความจ�ำเป็น เพ่อื ลดการใชท้ รพั ยากรและทำ� ใหเ้ กิดของเสยี
น้อยท่ีสุด ต้ังแต่การเลือกใช้สินค้าสีเขียว (Green product)
การหลกี เลยี่ งสงิ่ ของหรอื บรรจภุ ณั ฑท์ จี่ ะไมส่ รา้ งสรา้ งปญั หาขยะ
การซ่อมหรอื นำ� กลับมาใช้ใหม่

วารสารข่าว สผ. หมวด 7

กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

กองบรหิ ารกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน
60/1 ซอยพบิ ูลวฒั นา 7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400 ใบอนุญาตท่ี 16/2535
ปณจ. สามเสนใน
http://envfund.onep.go.th facebook : กองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม สผ.

ภาพกิจกรรมข่าว กองทนุ สิ่งแวดล้อม

เมื่อวันจันทร์ที่ 25 พฤษภาคม 2563 รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม (นายวรพล จันทร์งาม) ผู้แทนคณะกรรมการ
กองทุนส่ิงแวดล้อม และเจ้าหน้าท่ีกองบริหารกองทุนส่ิงแวดล้อม สผ. ร่วมกับกองอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี 14 (สุราษฎร์ธานี) และส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
จังหวัดนครศรีธรรมราช ลงพื้นที่เพ่ือร่วมประชุมหารือและตรวจสอบความพร้อมของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ก่อนรับการสนับสนุนเงินอุดหนุนจากกองทุนส่ิงแวดล้อม เพ่ือด�ำเนินโครงการ
บริหารจัดการขยะจากต้นทางอย่างยั่งยืนโดยชุมชนมีส่วนร่วม พ้ืนท่ีชุมชนเมืองนครศรีธรรมราช ทั้งน้ี เพื่อให้เป็นไปตามมติของ
คณะกรรมการกองทุนส่ิงแวดล้อม ซ่ึงจากการร่วมประชุมพูดคุย พบว่า เครือข่าย ทสม.อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ชุมชนและโรงเรียน
กลุม่ เป้าหมายเต็มใจมสี ่วนร่วม และมคี วามพร้อม ที่จะร่วมมือสนับสนนุ การดำ� เนนิ กจิ กรรมของโครงการไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 


Click to View FlipBook Version