The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thailand Foundation, 2024-02-28 22:47:46

Book WIPITSILPA

Book WIPITSILPA

วิพิธศิลป์ 149


รําสีนวล รําสีนวล เป็นศิลปะการแสดงที่สวยงามทังท่ารําและเพลงขับร้องที่มีความไพเราะ ้ ลักษณะท่ารําและคําร้อง หมายถึง อิริยาบถที่นุ่มนวลอ่อนชอยของกุลสตรี ้ นิยมจัดแสดงในงานทัวไป ่ Ram Si Nuan (Thai Lady Dance) Ram Si Nuan is a dance known for its exceptionally graceful choreography and accompanying lyrical music. The purpose of this performance is to reflect the beauty of Thai women through dance and music. Ram Si Nuan can be performed on general occasions. 150 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 151


ดาบสองมือ ศิลปะการปองกันตัว (ดาบสองมือ) เป็นศิลปะการต่อสู้ป ้ องกันตัว ้ ของไทยแต่โบราณ ผู้ใชดาบต้องมีความช ้ านาญในการใช ํดาบของตน้ ฟาดฟันและรับรองปองกันอาวุธจากฝ่ายศัตรู ้ ด้วยความคล่องแคล่วว่องไว Daab Song Mue (Double Hand Swords Demonstration) Daab Song Mue is an ancient Thai fighting technique where a fighter is armed with two swords; This technique requires a great amount of skill and concentration. The Daab (Thai style sword) is a type of curved, single-single edged sword. Double hand swords fighters must be able to use each sword to engage in the battle through aggressive and defensive moves. In a Daab Song Mue demonstration, fighters aim to showcase their offensive and defensive techniques. 152 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 153


พลองไม้สัน้พลองไม้สัน เป็นศิลปะการต่อสู้ชนิดหนึ่งของไทยแต่โบราณ พลองเป็น ้ อาวุธยาวใชสําหรับตีหรือกระทุ้ง ไม้สั ้ นเป็นอาวุธสั ้ นสวมทับแขนท่อนปลาย ้ ผู้ใชไม้สั ้ นต้องมีความว่องไว มักเป็นฝ่ายรุกเข้าประช ้ ดตัวคู่ต่อสู้ ิ พลองไม้สันเป็นการแสดงการต่อสู้แบบตัวต่อตัว แบ่งเป็น 2 ฝ่าย ้ นิยมแบ่งเป็นฝ่ายสีแดงและสีนํ้าเงิน ผู้แสดงต้องผ่านการฝึกหัดขันพื้นฐาน ้ จนถึงฝึกท่าตีหลัก ประกอบด้วย การตีรุก การตีรับ และการตีลูกไม้ จนเกิดความชานาญสามารถจดจํากระบวนท่าต่อสู้ได้เป็นอย่างดี ํ Phlong Mai San (Wooden Staff-Truncheon Demonstration) Phlong Mai San is an ancient Thai traditional martial arts technique. Phlong is a long wooden staff, while Mai San is a short wooden truncheon that is equipped on the forearms. Demonstrations of Phlong Mai San skills is often done with a pair of fighters, one wielding the Phlong and one wielding the Mai San. Red and blue attires are also used to mark each side. The demonstrators are required to pass basic training of offensive and defensive movements before moving on to advance tactics in order to ensure perfection of the choreography. During the demonstration, the Mai San wielder often display agility through advancing towards the Phlong wielder. 154 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 155


มวยคาดเชอกืมวยคาดเชอก เป็นการแสดงศิลปะการต่อสู้มวยไทยสมัยโบราณ ื โดยการใชเช้ อกพันที่มือและช ื วงปลายแขนทั ่ ง 2 ศิลปะมวยไทย ้ คือ การผสมผสานการใชหมัด เท้า เข่า ศอก มีแม่ไม้มวยทั ้ งท่ารุก ้ และรับสําหรับใชในการต่อสู้ ผู้แสดงจึงต้องผ่านการฝึกเบื้องต้น ้ ในการใชกระบวนท่าให้คล่องแคล่ว ้ Muay Khat Chueak (Thai Ancient Boxing Demonstration) Muay Khat Chueak is a form of ancient, unarmed traditional Thai martial arts whereby fighters wrap their hands and forearms in hemp ropes. This traditional martial art utilizes a combination fist, leg, knee, and elbow movements. It is a precursor to the modern form of MuayThai. Muay Khat Chueak demonstrations aim to showcase the offensive and defensive tactics of fighters. Thus, performers must undergo basic training to develop their combat and performing skills. 156 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 157


นาฏศิลป์สร้างสรรค์ เป็นผลงานทางศิลปะที่ผู้สร้างสรรค์ผลงานต้องมีการพัฒนา ทักษะทางความคิด ควบคู่กับการพัฒนาทักษะความชานาญ ในเช ํ งปฏิบัติการทางศิลปะ ิ มีกระบวนการในการประกอบสร้างขึ้นจากศาสตร์ที่มีความหลากหลายแขนง สะท้อนภาพ ความงดงามของศิลปะการแสดงโดยองค์รวม สู่สายตาของผู้ชมให้ได้อรรถรสตามที่ ผู้สร้างสรรค์ผลงานต้องการ ดังนัน นาฏศิลป์สร้างสรรค์ คือ งานศิลปะการแสดงรูป ้ แบบหนึ่ง ที่ได้รับการส่งเสริม พัฒนาให้เกิดการศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ ประกอบสร้าง เป็นศิลปะแห่งการเคลื่อนไหวด้วยกระบวนท่าร่ายรํา เพื่อถ่ายทอดจินตนาการที่แสดง ถึงศิลปวัฒนธรรม โดยดําเนินการสร้างอย่างเป็นขันตอน เริ้ มด้วยการสร้างแนวคิดของ ่ การสร้างสรรค์อย่างหลากหลายจากจารีตประเพณี ความเชอ ประวัติศาสตร์ ภาพจิตรกรรม ื่ ประติมากรรม หรือวิถีชวิต สู่กระบวนการออกแบบองค์ประกอบการแสดง อาทิ เครื่อง ี แต่งกาย ดนตรี ลีลาท่ารํา อุปกรณ์ประกอบการแสดง การใชพื้นที่เวที การคัดเลือก ้ ผู้แสดง การฝึกซ้อม และการนําเสนองานนาฏศิลป์สร้างสรรค์สู่สาธารณชนบนเวที การแสดงระดับชาติหรือนานาชาติและผ่านสื่อประเภทต่าง ๆ สร้างความประทับใจ ความน่าสนใจ แก่ผู้ชม จนได้รับการยอมรับจากสาธารณชนในที่สุด นาฏศิลป์สร้างสรรค์ 158 วิพิธศิลป์


Thai creative performing arts includes contemporary performance pieces that are creative expressions of Thai culture. These performances are created through specific steps of artistic conception, requiring both innovativeness and expertise. The first step is to identify the concept of the performance, drawing inspiration from different elements of Thai culture, such as traditions, beliefs, history, artworks, and ways of life. This process requires research to thoroughly understand the concept that is to be depicted. The second step is to plan out the details of the performance, including choreography, costume, music, props, and stage layout, among other factors. The third step is production, which involves processes such as casting, practice, and crafting of props. The final step is to debut the performance, either to a specific crowd or on the national or international stage. The audiences’ reception will determine the success or failure of the performance. Through the creation of a creative performance piece, artists can develop both their creativity and expertise in Thai dance. The final goal of creative performances is to impress audiences through the artists’ vision of artistic beauty. Through making such memorable impressions, artists can also present audiences with fresh interpretations of Thai culture, both classical and local. Nattasilp Sangsan Creative Performing Arts วิพิธศิลป์ 159


กรุงเทพ กรุงเทพ เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากชอเต็มเมืองหลวง ื่ ของประเทศไทยคือ กรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการบันทึกจากกินเนสส์บุ๊ค (Guinness Book) ว่า เป็นชอเมืองที่มีความยาวที่สุดในโลก ื่ ความหมายโดยรวม หมายถึง เมืองอันยิงใหญ่ที่ถูกสรรค์สร้างโดยเหล่าเทพ ่ กระบวนท่ารําสื่อถึงการร่ายรําของเหล่าเทวดานางฟา นอกจากนี้ยังผสมผสาน ้ การเชดหนังใหญ่ที่ออกแบบวาดภาพสถานที่สําคัญของกรุงเทพฯ ประกอบการแสดง ิ Krung Thep (Bangkok) Krung Thep is a performance piece inspired by the name “Krung Thep Maha Nakhon”, which is the formal name of Thailand’s capital city: Bangkok. The name “Krung Thep Maha Nakhon” is actually an abbreviation of the city’s full name, which is listed in Guinness World Records as the world's longest place name. The full meaning of the name refers to this metropolis as a great city created by mighty gods. Thus, the performance Krung Thep pays homage to the grandeur of Bangkok, as well as its symbolic connotation to heavenly abodes. The choreography of this performance demonstrates the dance of heavenly beings with the integration of Nang Yai (Thai Grand Shadow Play) to portray important landmarks of Bangkok. 160 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 161


กีปัสเรนัง กีปัสเรนัง เป็นการแสดงที่นําแนวคิดมาจากประเพณีแห่นกทางภาคใต้ของไทย โดยเฉพาะจังหวัดปัตตานี ที่มีความสวยงามของพัดเรนัง ปรากฏอยู่ในขบวนแห่ บุหรงซีงอ ซึ่งชาวมลายูเชอกันว่า นอกจากพัดจะนําความร่มเย็นมาสู่ตัวแล้ว ื่ ยังสามารถขจัดปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยให้พ้นออกจากตัว เสียงของพัดเรนัง ที่ดังเป็นเอกลักษณ์ เชอว่าจะสามารถขับไล่สิ ื่ งช่ วร้ายให้ออกไป ประกอบกับลีลา ั่ การใชพัดในรูปแบบต่างๆที่น่าสนใจ ้ Kipas Renang (Renang Dance) Kipas Renang is a dance inspired the Burong Si-ngo parade of Lower Southern Thailand, particularly Pattani Province. This parade is a tradition whereby local ethnic Malay communities construct a large model of Burong Si-ngo (a mighty mythical bird) to display in a procession. The Renang, the namesake of this dance, is a type of fan that is displayed as a part of the Burong Si-ngo parade. The Kipas Renang dance focuses on displaying fan movements through choreography. It is believed that the Renang fan symbolizes peace, while the unique sound of a fluttering Renang symbolizes the dispelling of evil and sickness. 162 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 163


จตุรภาคี จตุรภาคี เป็นการแสดงที่นําศิลปะการแสดงทังสี่ภาคของประเทศไทย ้ มาแสดงติดต่ออยู่ในชุดเดียวกัน เริมด้วย ฟ ่ อนทีอันเป็นศิลปะของภาคเหนือ ้ รําเถิดเทิงของภาคกลาง ตารีกีปัสของภาคใต้ และลําเพลินของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นับเป็นการแสดงที่น่าชมอย่างยิง่ Chatura Pha-khee (The Four Regions) Chatura Pha-khee refers to the Four Regions of Thailand. This inspiring performance combines the ethnic identity of each region into one show, including Fon Thi from the North, Ram Thoet Thoeng from the Central, Tari Kipas from the South, and Lam Phloen from the Northeast. 164 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 165


เจ้าพระยานที เจ้าพระยานที เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากแม่นํ้าเจ้าพระยา แม่นํ้าสายหลัก ที่สําคัญของไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่นํ้า ปิง วัง ยม น่าน ถือเป็นสายนํ้า แห่งชาติที่หล่อเลี้ยงผู้คนในแผ่นดิน มีเรื่องราววิถีชวิตสองริมฝั ี่งนํ้า หล่อหลอม เป็นมรดกวัฒนธรรมที่สืบทอดมายาวนาน ผ่านประวัติศาสตร์และขนบธรรมเนียม ประเพณีจากรุ่นสู่รุ่น แผ่อิทธิพลความงามและเรื่องราวของสายนํ้าเป็นที่กล่าวขาน รู้จักนาม แม่นํ้าเจ้าพระยา สู่นานาประเทศ ด้วยความสํานึกรักศรัทธา กตัญญู อันเป็นคุณูปการและเพื่อเชดชูสายนํ้าแห่งวัฒนธรรม สายนํ้าแห่งความงดงามของชาติ ิ Chao Phraya Nathi (The Chao Phraya River) This dance pays homage to a major river of Thailand: the Chao Phraya River. Formed from the waters of the Ping, Wang, Yom and Nan Rivers, this stream has been sustaining the lives of people since ancient times, fostering generations of history, traditions, and heritage. Today, the Chao Phraya River is known far and wide across the world. Thus, the Chao Phraya Nathi dance was created with great reverence and gratitude towards this river, praising it as a stream of cultural Significance and national beauty. 166 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 167


ชาวดอย ชาวดอย เป็นการแสดงที่มีแนวคิดมาจากการดํารงชวิตของกลุ่มชน ี ที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย มุ่งเน้นวิถีชวิตที่มีความเรียบง่าย ี ผูกพันพึ่งพาธรรมชาติ ประกอบอาชพเกษตรกรรม รวมทั ี งมีการละเล่น ้ ที่สนุกสนานตามแบบพื้นบ้านสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น Chao Doi (Hill Folks) Chao Doi is a dance inspired by the way of life of hill tribe people in Northern Thailand. The dance depicts the hill tribes’ agricultural lifestyle, with strong connection to natural surroundings. Local games are also highlighted in this show. 168 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 169


ชาติพันธุ์สราญ ชาติพันธุ์สราญ เป็นการแสดงที่สร้างสรรค์ขึ้นจากความสําคัญ ของกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครปฐมทังหมด 5 กลุ่มชาติพันธุ์ ประกอบด้วย ้ 1) ชาติพันธุ์ลาวครัง 2) ชาติพันธุ์ไทยทรงดํา 3) ชาติพันธุ์ลาวเวียง ่ 4) ชาติพันธุ์ไทยรามัญ 5) ชาติพันธุ์ไทยจีน สู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม ศิลปะการแสดง โดยการแสดงสื่อถึง ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชวิตที่หลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ ี ในจังหวัดนครปฐม ตลอดจนความสุข สนุกสนานรื่นเริง ในการหลอมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวภายใต้ร่มพระบารมี Chat Ti Phan Saran (Merry Ethnic Groups) Chat Ti Phan Saran is a creative performance showcasing the five ethnic groups that live in Nakhon Pathom Province: (1) Lao Krang, (2) Thai Song Dam (Tai Dam), (3) Lao Wiang, (4) Thai Raman (Mon), and (5) Thai Chinese. The dance highlights diversity in cultures, traditions, and ways of life, as well as the harmony between the communities. 170 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 171


ตะกร้อล้อท่า ตะกร้อล้อท่า เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากกีฬาตะกร้อ ซึ่งเป็นการละเล่นของไทยแต่โบราณ โดยเริมต้นจากการเล่นกันในหมู่ชาวบ้าน ่ สู่การเล่นเป็นกีฬาสากล ระดับชาติและนานาชาติ ลีลาและกระบวนท่ารํา สื่อให้เห็นถึงแม่ท่าในกีฬาตะกร้อ ประกอบด้วย การใชศีรษะ ศอก เข่า เท้า ้ ในการบังคับลูกตะกร้อไม่ให้ตกพื้น การกระโดดตีลังกา ผสมผสานลีลาท่าทางนาฏศิลป์ไทย Takraw Lor Tha (Thai Kick Volleyball Dance) Takraw Lor Tha is a performance inspired by the Takraw: a traditional sport that has a long history in Thailand. In a Takraw match, players kick and strike a ball woven from rattan to prevent it from touching the ground. The sport began as a local game, before becoming a national and international sport. The choreography in this performance is derived from body movements of Takraw players, including head, elbow, knee, and foot strikes. The movements are combined with traditional Thai dance choreography. 172 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 173


นบนที นบนที เป็นการแสดงที่กล่าวถึงประเพณีลอยกระทงซึ่งถือเป็นการแสดง ความเคารพและขอขมาอภัยต่อพระแม่คงคา อีกทังสิ้ งศักดิ ่ ์ สิทธิในสายนํ้า ์ ที่สร้างคุณประโยชน์ต่อมนุษย์ทุกชวิต ซึ่งคนไทยได้ให้ความสําคัญ ี และสํานึกในพระคุณของธรรมชาติที่สะท้อนผ่านความเชอ ื่ และความศรัทธาจนกลายเป็นประเพณีลอยกระทง Nop Na-thi (Revering the Waters) Nop Na-thi is the performance depicting Loi Krathong: a Thai festival celebrated annually to pay respect to Phra Mae Khongkha, the Goddess of Water. Thais consider water to be the source of life. Thus, Loi Krathong is a chance for people to show gratitude to bodies of water, such as rivers. The dance captures the attitude of respect and gratitude exhibited during the festival. 174 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 175


นักษัตร นักษัตร เป็นการแสดงที่ได้แนวความคิดมาจากเทพ 12 ปีนักษัตรของไทย ที่มีความเชอว่าเป็นเทพที่มีหน้าที่ปกป ื่ องคุ้มครองมนุษย์ กระบวนท่ารํา ้ มีความงดงามตามรูปแบบนาฏศิลป์ไทย ผสมผสานการเคลื่อนไหวร่างกาย และการเคลื่อนที่บนเวทีอย่างหลากหลาย Nak-Sat (The Zodiac) Nak-sat means “zodiac”. As the name suggests, this performance is a reference to the traditional twelve yearly zodiacs of the traditional Thai calendar. The zodiacs are depicted as different animals representing deities who protect mankind. The dance utilizes twelve dancers, with a focus of on displaying a variety of graceful choreography. 176 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 177


นาฏ ณ วัง นาฏ ณ วัง เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากความสําคัญของพระราชวัง บวรสถานมงคล (วังหน้า) ที่ปรากฎนาฏกรรมหลากหลายประเภท ประกอบด้วย โขน ละคร หนังใหญ่ หุ่น งิ้ ว แอ่วแคน สู่การสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ไทย ผสมผสานการออกแบบการเคลื่อนไหวร่างกายและการใชพื้นที่เวทีที่มีความหลากหลาย ้ ถ่ายทอดความงามแบบราชสํานักที่มีความวิจิตร ย้อนรําลึกคุณูปการของบุคคล และสถานที่ที่มีต่อการอนุรักษ์ สู่ความภาคภูมิใจในมรดกวัฒนธรรมของแผ่นดิน Nata Na Wang (Front Palace Dance) Nata Na Wang is a performance inspired by the Phra Ratchawang Bowon Sathan Mongkhon Palace in Bangkok, colloquially known as the “Front Palace”. This historic site is an important hub for many forms of traditional performing arts, such as Khon, Lakhon, Nang Yai, Thai puppetry, Chinese opera, and Aew Khaen. The dance thus combines a variety of performances, conveying them through an aesthetic that reflects the splendour of the royal court. The purpose of this performance is to pay homage to the Front Palace’s role as a centre traditional artforms preservation and promotion. 178 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 179


นาฏยมวยไทย นาฏยมวยไทย เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมากจากศิลปะปองกันตัว ้ มวยโบราณของไทยที่มีมาแต่อดีต มาสร้างสรรค์ในรูปแบบของการแสดง ที่สื่อถึงลีลาท่ามวย อันเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ใชหลักท่าเต้นของโขน ้ และท่ารําแบบนาฏศิลป์ผสมผสานกันอย่างลงตัว Nataya MuayThai (MuayThai Dance) Nataya MuayThai is inspired by MuayThai: the martial art of the Thai people with a history dating back to ancient times. The choreography is adapted from barehanded fighting techniques, which has been developed by the ancestors and passed down through generations. The dance also incorporates elements of Khon and traditional Thai dance. 180 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 181


ผืนไท ผืนไท เป็นการแสดงที่มีแนวคิดมาจากศิลปะการแสดงของภูมิภาคต่าง ๆ ของไทย สู่การสร้างสรรค์ผลงานบนพื้นฐานความงดงามของนาฏศิลป์ไทย และศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ผสมผสานการออกแบบการเคลื่อนไหวร่างกาย และการใชพื้นที่เวทีที่มีความหลากหลาย อุปกรณ์สําคัญในการแสดงคือ ้ ผืนผ้าสื่อถึงสัญลักษณ์ของชาติ และพระมหากษัตริย์ไทย ปกแผ่ไพศาล ให้ความสุขสงบร่มเย็นแก่อาณาประชาราษฎร์ทุกเชอชาติที่รวมกัน ื้ เป็นเอกลักษณ์ ก่อให้เกิดมรดกศิลปวัฒนธรรมอันวิจิตร ภายใต้ผืนไตรรงค์ธงไทยที่สง่างาม Phuen Thai (Thai Cultural Canvas) Phuen Thai is the performance inspired by the identity of each region of Thailand. It builds upon the beauty of classical and folk dance forms which are conveyed through carefully designed movements and creative use of stage space. The main props of the performance are large pieces of cloth representing the Thai nation and monarch. These two uniting forces spread out like the pieces of cloth, weaving different identities into a united and splendid Thai identity under the waving Thai flag. 182 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 183


พนาธาร พนาธาร เป็นการแสดงสร้างสรรค์ที่ได้แนวคิดมาจากความสําคัญ ความตระหนักรู้คุณค่าของป่าและนํ้า ที่ผูกพันกับวิถีชวิตและแผ่นดินเกิด ี การแสดงชุดนี้ นําพื้นฐานนาฏศิลป์ไทยประกอบกับการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่เลียนแบบการเคลื่อนไหวของธรรมชาติ ทัง ป่า และนํ้า ้ Pha-na Than (Forest and Streams) Pha-na Than is a performance that highlights the importance of forests and water, which sustains the lives of people. The performance utilizes elements of traditional dance to emulate the natural movements of the forest and water. 184 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 185


ฟอนขันดอก ้ ฟอนขันดอก เป็นศิลปะการแสดงภาคเหนือที่ถือขันดอก หรือ พาน ้ ประกอบการแสดง โดยภายในพาน จะใส่ดอกไม้นานาชนิดที่มีความหมายมงคล การแสดงประกอบด้วยกระบวนท่ารําของล้านนาผสมผสาน การโปรยดอกไม้ เพื่อความเป็นสิริมงคล Fon Khan Dok (Dance of the Tray of Flowers) Fon Khan Dok is a local dance of Northern Thailand that features a pedestal tray filled with flower blossoms. The dance utilizes Northern Thai choreography, with performers sprinkling the flowers towards audiences to bless them with good luck. 186 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 187


ฟอนลีลาวดี ้ ฟอนลีลาวดี เป็นการแสดงที่ได้แรงบันดาลใจมาจากต้นลีลาวดี ้ ต้นไม้ที่มีอายุเกือบ 100 ปี มีความงดงาม ร่มเย็น และมีลักษณะพิเศษ ที่น่าสนใจแก่ผู้พบเห็นอยู่บริเวณหน้าพระอุโบสถบวรสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า) สู่แนวคิดการสร้างสรรค์ท่ารํา ให้มีความงดงาม ตามท่วงทํานองของดนตรี Fon Lilawadi (Frangipani Dance) Lilawadi is the Thai name for the frangipani, a plant with beautiful fragrant flowers. Fon Lilawadi, or Frangipani Dance, is inspired a particular frangipani tree that grows outside of Wat Bowon Sathan Sutthawat Temple, also known as Wat Phra Kaew Wang Na. The tree more than 100 years old and is large in size. The choreography of the dance reflects the beauty of this tree. 188 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 189


รับขวัญข้าว รับขวัญข้าว เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากเรื่องราวพิธีกรรม ในการทําขวัญข้าว ที่สะท้อนให้เห็นถึงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ด้วยความเคารพบูชา ความสามัคคี ความมีนํ้าใจซึ่งวัฒนธรรมเหล่านี้ เป็นที่แพร่หลายในอดีต จากแนวคิดดังกล่าวนําสู่รูปแบบนาฏศิลป์สร้างสรรค์ เพื่อให้ชนรุ่นหลังเห็นถึงความสําคัญของผืนแผ่นดินที่ให้ความสมบูรณ์ ก่อให้เกิดพืชพรรณธัญญาหารหล่อเลี้ยงชวิตมนุษย์ พระคุณของ “ข้าว” ี อาหารหลักของชาติไทย ตลอดจนจารีตประเพณี วัฒนธรรม อันแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าที่ควรสืบสาน Rap Khwan Khao (Gratitude to the Rice Goddess) Rap Khwan Khao is a performance inspired by the traditional ceremony of paying homage to rice and Phra Mae Phosop, the Goddess of Rice. Rice is the main staple that sustains the lives of Thai people. Thus, this tradition reflects the reverence and gratitude that Thai people have towards this honourable grain. The Rap Khwan Khao performance aims to capture this attitude of reverence and gratitude in order to promote awareness of the importance of the earth as mankind’s source of food production. The dance also aims to promote the preservation of Thai traditions, knowledge, and heritage concerning rice production. 190 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 191


ลายเกราะ ลายเกราะ เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจาก เกราะลอ หรือ ขอลอ เครื่องดนตรีพื้นบ้านชนิดหนึ่งของภาคอีสาน นําเสนอผ่านท่ารําพื้นบ้านอีสาน ที่มีความงดงาม ผสมผสานลีลาในการตีเกราะสนุกสนาน เร้าใจ ด้วยท่วงทํานองของดนตรีพื้นบ้านอีสาน Lai Kro (Wooden-Block Percussion Dance) Lai Kro is a performance utilizing a local Northeastern Thai musical instrument known as Kro Lor or Kho Lor (wooden-block percussion). The performers dance to Northeastern Thai folk music, combining rhythms of the Kor Lor with Northeastern-style choreography. 192 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 193


ลีลาหมากแก๊บ ลีลาหมากแก๊บ เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสาน ประเภทเครื่องตี ประกอบจังหวะ มีลักษณะเป็นไม้สันและไม้ยาว เรียกว่า ้ “หมากกับแก๊บ” นํามาเป็นอุปกรณ์สําคัญในการแสดง ผสมผสานวัฒนธรรม ๊ ท้องถิ่ นด้านดนตรีและนาฏศิลป์พื้นบ้านอีสาน เพื่อถ่ายทอดถึงชวิตความเป็นอยู่ ี ของหญิงสาวชาวบ้านหลังเสร็จงาน ลักษณะการแสดงมีความสนุกสนาน สอดแทรกเอกลักษณ์ภูมิปัญญาวัฒนธรรม อันทรงคุณค่าของชาวอีสาน Lila Mak Gap (Moves of Mak Gap) Lila Mak Gap is an energetic dance inspired by the Mak Gup-Gap percussion instrument. Its choreography mimics afterwork activities of women in Northeastern Thai communities, with dancers moving to the rhythm of folk music while playing Mak Gup-Gap. The purpose of this dance is to highlight the lifestyle, culture, and heritage of the I-san Region. 194 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 195


ล่องใต้ ล่องใต้ เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากศิลปวัฒนธรรมและวิถีชวิตี ความเป็นอยู่ของประชากรทางภาคใต้อันมีเอกลักษณ์เฉพาะที่โดดเด่น นําสู่การสร้างสรรค์การแสดงสื่อถึงประเพณี วัฒนธรรม วิถีชวิตี ความเป็นอยู่ การประกอบอาชพ โดยการแสดงสะท้อนให้เห็นถึงบรรยากาศ ี แห่งความสุข ความสนุกสนานของดินแดนภาคใต้ Long Tai (Voyage to the South) Southern Thailand is a land of unique art, culture, and lifestyle. Long Tai is a performance piece that seeks to recreate the cheerful characteristics of the South through showcasing the region’s traditions, cultural elements, and way of living. 196 วิพิธศิลป์


วิพิธศิลป์ 197


วิรัชสราญรมย์ วิรัชสราญรมย์ เป็นการแสดงที่ได้แนวคิดมาจากค่านิยมการแต่งกาย ของบุรุษและสตรีในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยได้รับอิทธิพลมาจากชาติตะวันตก นําเสนอท่าทางการเต้นและรําประกอบท่วงทํานองเพลงไทยและเพลงสากล อันแสดงให้เห็นถึงการผสมผสานของสองวัฒนธรรม Virat Saranrom (Western Delight) Virat Saranrom is a performance inspired by Western-influenced fashion of men and women during the reign of King Rama VI (1910 - 1925). The performance showcases the mixture of cultures, with performers dancing to a combination of Thai and Western music. The costume mimics the period’s clothing style. 198 วิพิธศิลป์


Click to View FlipBook Version