The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rangsan.khamkhon, 2024-04-24 01:15:15

จดหมายข่าว HTAPC ฉบับที่ 3 (TH)

HTAPC-Newsletter-ISSUE-03

จดหมายข่าว HTAPC ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านมลพิษอากาศและภูมิอากาศ ฉบับที่ 3 ประจ าเดือน มีนาคม พ.ศ. 2567 ประเด็นจดหมายข่าว ติดตามข่าวสาร ก เพิ่มเติมที่นี่ิจกรรมที่ด าเนินการผ่านมา..........................................................................................................หน้าที่ 2 • ไขข้อข้องใจเกี่ยวกับ PM2.5 ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยวิจัยและนวัตกรรม • การประชุมหารือระบบข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษอากาศแห่งชาติของประเทศไทย ข่าวสารการเผยแพร่ความรู้การคาดการณ์พายุฤดูร้อน..............................................หน้าที่ 3


2 จดหมายข่าว • ฉบับที่ 3 การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ หัวข้อ “ไขข้อข้องใจเกี่ยวกับ PM2.5 ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยวิจัยและนวัตกรรม” ข่าวสารกิจกรรม วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2567 ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญฯ (HTAPC) จัดประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ ในหัวข้อ “ไขข้อข้องใจเกี่ยวกับ PM2.5 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยวิจัยและนวัตกรรม”ณ โรงแรม Pullman อ.เมือง จ.ขอน แก ่น โดย ด ร.วิภ า ร ัตน์ ดีอ ่อง ผู ้อ านวยกา ร ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวเปิดการประชุมสัมมนา ศ ู นย์รวมผ ู้เช ี่ยวชาญฯ (HTAPC) การประชุมหารือระบบข้อมูลบัญชีการระบาย สารมลพิษอากาศแห่งชาติของประเทศไทย โดยมีวิทย าก ร 18 ท ่าน ร ่วมเส วน า แล ะ ไ ขข้อข้องใจ ปัญ ห า ฝุ ่น PM2.5 ใ น 4 หัว ข้อ ไ ด้แ ก ่ปัญ ห า ม ล พิ ษ อากาศ แล ะกา รจัดกา รกับ แหล่งก าเนิดฝุ่น PM2.5 ใน ภาคต ะวันออกเฉียงเหนือ รวม ไปถึงกา รบูรณากา ร ก า ร จ ัด ก า ร ฝุ ่น PM2.5 ก ับ ก า ร ร ับ ม ือ ส ภ า ว ะ ก า ร เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ >>> อ่านข้อมูลเพิ่มเติม วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2567 ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญฯ (HTAPC) ภายใต้ ส านักงานการวิจัยแห ่งชาติ (วช.) เล็งเห็นความส าคัญของปัญหา มลพิษอากาศและการจัดท าฐานข้อมูล “บัญชีการร ะบายสารมลพิษ อากาศของประเทศไทย (National Emission Inventory)” เพื่อใช้ ปร ะ โยชน์ในการเป็นฐานข้อมูลการวิจัยและเป็นข้อมูลปร ะกอบการ ตัดสินใจส าหรับการบริหารจัดการและควบคุมปัญหามลพิษอากาศของ ป ร ะเท ศ ไ ท ย แ ล ะก า ร ก า ห น ดน โ ย บ า ย แ ล ะ แ น วท า ง ก า ร ป ฏิบ ัต ิใ น ร ะด ับป ร ะเทศต ่อ ไป จึง ได้มีก า รป ร ะ ช ุม Consortium ใน รูป แบบ Online Conference ผ ่า น โ ป ร แ ก ร ม Zoom ร ่ว ม ก ัน ร ะ ห ว ่า ง ผู้เชี่ยวชาญด้านมลพิษอากาศจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ในประเด็นโจทย์วิจัย “บัญชีการระบายสารมลพิษอากาศของประเทศไทย”


3 จดหมายข่าว • ฉบับที่ 3 การแลกเปลย ี ่ นและเผยแพรค ่ วามร ู ้ ของศ ู นย์รวมผ ู้เช ี่ยวชาญฯ (HTAPC) ในช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมานับว่า เป็นกา ร เ ริ่มต้นเข้าสู่ฤดู ร้อนของปร ะเทศไทย ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น และในบางพื้นที่อาจจะสามา รถสูงถึง 40 อ ง ศ า เ ซ ลเ ซีย ส ใ น ข ณ ะ เ ดีย ว กัน ห ล า ย พื้น ที่เ ห ล่า นั้น มัก จ ะ ป ร ะ ส บ กับ เหตุกา รณ์พายุฝนฟ้าคะนองที่สามา รถสร้างความเสียหาย รุนแรงและมักเกิดในช่วงฤดูร้อน ซึ่งเป็นที่มาของ “พ ายุฤดู ร้อน” พายุฤดูร้อน มักจะเกิดขึ้นใน ช่วงฤดูร้อน โดยเฉพา ะ ช่ว ง เ ดือ น มีน า ค ม ถึง เ ม ษ า ย น จ น ถึง ต้น ฤ ดูฝ น ศูน ย์เ ตือ น ภัย พิบัติแ ห่ง ช า ติอ ธิบ า ย ว่า พ า ยุฤดูร้อ น จ ะ เ กิด ใ น ช่ว ง ที่มี ส ภ า พ อ า ก า ศ ร้อ น อ บ อ ้า ว ติด ต ่อ กัน ห ล า ย วัน แ ล้ว มีม ว ล อากาศเย็น หรือที่เรียกว่าความกดอากาศสูงพัดมาปะทะกับ มวลอากาศร้อน หรือความกดอากาศต ่า การที่อากาศสอง ก ร ะ แ ส ม า ก ร ะ ท บ กัน จ ะ ส่ง ผ ล ใ ห้อ า ก า ศ ใ น บ ริเ ว ณ นั้น แปรปรวนรุนแรงจนกลายเป็นพายุฝนฟ้าคะนองขึ้น รวมถึง มีลมกร ะ โชกแรง ฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง แล ะลูกเห็บ ทาง CCCACC แล ะ HTAPC ได้ให้คว ามสนใจในกา รศึกษ า ก า ร เ กิด พ า ยุฤดูร้อ นใ น ป ร ะเ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ น า ไ ป สู ่ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร พ ย า ก ร ณ์ก า ร เ กิด พ า ยุที่อ า จ ก่อ ใ ห้เ กิด ค ว า ม เ สีย ห า ย รุน แ ร ง แ ล ะ เ พื่อ ใ ห้ส า ม า ร ถ เ ต รีย ม รับ มือ กับ สถานกา รณ์ล่ว งหน้า เพื่อบร ร เทาผลกร ะทบ ได้ทั้งนี้กา ร ป ร ะยุกต์ใช้แบบ จ าลอง ท างคณิตศ าสต ร์ WRF-Chem เป็น ห นึ่ง ใน แ บ บ จ า ล อ ง ที่ท า ง CCCACC ไ ด้มีก า ร ด า เ นิน ก า ร ทดสอบระบบพยากรณ์พายุฤดูร้อน ซึ่งโครงการนี้ได้รับทุน ส นับ ส นุน ก า ร วิจัย จ า ก ส า นัก ง า น ก า ร วิจัย แ ห ่ง ช า ติ โ ด ย มี นายสมโภค กิ่งแก้ว เป็น หัว หน้า โค ร งก า ร พ ร้อมด้วยคณ ะ ผู้ช่วยนักวิจัยของศูนย์ CCCACC แล ะจากกา รทดสอบกา ร คาดกา รณ์พายุฤดูร้อนและปริมาณน ้าฝน ในช่วงวันที่ 2 0 มีน า ค ม 2 5 6 7 พ บ ว ่า ใ น ช ่ว ง เ ว ล า 00 .00-06 .00 น . แ บ บ จ า ล อ ง WRF-Chem ใ ห้ผ ล ก า ร พ ย า ก รณ์ส อ ด ค ล้อ ง กับ พื้น ที่ที่เ รดา ร์ตร ว จอ ากาศตร วจพ บกลุ่มฝน ใน บ ริเ วณ ภาคกล างตอนล่าง โดยเฉพ า ะบ ริเ วณก รุงเทพมห านค ร แล ะ ปริมณฑล ซึ่งมีปริมาณน ้าฝนสูงสุดประมาณ 35 มิลลิเมต ร ต่อชั่วโมง อ ย ่า ง ไ ร ก ็ต า ม ใ น ช ่ว ง ด ัง ก ล ่า ว ก ร ม อ ุต ุนิย ม ว ิท ย า ไ ด้ ร า ย ง า น แ ล ะ แ จ้ง เ ตือ น ส ภ า พ อ า ก า ศ ว ่า บ ริเ วณ ภ า ค ก ล า ง ก รุงเทพ แล ะ ป ริมณฑล มีอ าก า ศ ร้อ นกับ มีฟ ้า ส ะ ห ลัวใ นตอ น ก ล า ง วัน แ ล ะ จ ะ มีพ า ยุฝ น ฟ ้า ค ะ น อ ง ร้อ ย ล ะ 1 0 ของพื้นที่ กับ มีล ม ก ร ะ โ ช ก แ ร ง บ า ง แ ห ่ง ส ่ว น ม า ก บ ริเ ว ณ จ ัง ห ว ัด นครสวรรค์ อุทัยธานี กาญจนบุรี แล ะราชบุรี การคาดการณ์พายุฤดูร้อนโดยการประยุกต์ใช้ แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์WRF-Chem การจราจรบนถนนราชพฤกษ์ ขาเข้า บนสะพานข้ามถนนเพชรเกษม กรมฝนหลวงการบินและการเกษตร 20 มีนาคม 2567 WRF-Chem Forecasting 20 มีนาคม 2567 03.00 น. Radar 20 มีนาคม 2567 00.57 น. ภาพ : สวพ.FM91


จดหมายข่าวรายเดือน ที่ปรึกษาจดหมายขา่ว คณะผู้จัดท า ช่องทางติดต่อ โดยศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้าน มลพิษอากาศและภูมิอากาศ ที่อยู่ห้อง 507 ชั้น 5 อาคารปิยะชาติ 99 หมู่ 18 ต.คลองหนงึ่อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12121 ➢ อาจารย์ ดร.สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา ➢ สมโภค กิ่งแก้ว ผู้อ านวยการศูนยร์วมผู้เชี่ยวชาญ ด้านมลพิษอากาศและภูมิอากาศ ➢ รังสรรค์ ค าคอน ➢ ณิชนันทน์ นันตาวงค์ ➢ ปิยะรัตนา หอมยก ➢ ภัณฑิรา สะพานแก้ว เว็บไซต์: https://htapc.info อีเมล: [email protected] เฟซบุ๊ก: Hub of Talents on Air Pollution and Climate (HTAPC) ➢ พิชชานันท์ ขจรเพ็ชร ➢ กันตชัย ไพจิตรโยธี ➢ นราวิชญ์ แก้ววงษา จดหมายข่าวฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านมลพิษอากาศและภูมิอากาศ ภายใต้การอุดหนุนทุนวิจัยจาก ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ขอเชิญเข้าร่วมเป็ นส่วนหนึ่งกับเรา ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านมลพิษอากาศและภมูิอากาศ แบบฟอร์มเข้าร่วม HTAPC ส าหรับผู้เชี่ยวชาญฯ เว็บไซต์ Hub of Talents on Air Pollution and Climate (HTAPC) https://www.htapc.info ➢ ดร.วนิสา สุรพิพิธ รองผู้อ านวยการศูนยร์วม ผู้เชี่ยวชาญ ด้านมลพิษอากาศและภูมิอากาศ


Click to View FlipBook Version